SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
              +โพสต์เมื่อวันที่ : 2 ก.ค. 2551




.....
     เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเกี่ยว
กับโสตทัศน์ศึกษาให้กว้างขวาง ยิงขึ้น ทั้งนีเนื่องจากโสต
                                  ่          ้
ทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดัง
นั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการใช้ประสาทสัมผัส ด้าน
การฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คำาว่าโสตทัศนอุปกรณ์
หรือโสตทัศนูปกรณ์เทคโนโลยีทางการศึกษามีความ
หมายที่กว้างกว่า ซึ่งอาจพิจารณาจากความคิดรวบยอด
ของเทคโนโลยีได้เป็น 2 ประการ ดังนี้
      1.2.1 ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ
หมายถึง การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่ง
ประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้
สำาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เครื่อง
มือเหล่า มักคำานึงถึงเฉพาะการควบคุมให้เครื่องทำางาน
เน้นเรื่องวัสดุ อุปกรณ์ มากกว่าจะคำานึงถึงจิตวิทยาการ
เรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและการ
เลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาวิชา
1.2.2 ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ หมาย
ถึง การนำาวิธีการทางจิตวิทยา มานุษยวิทยา กระบวนการ
กลุ่ม ภาษา การสื่อความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์
กลไก การรับรู้มาใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์
และวิศวกรรม เพื่อให้ผเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้
                      ู้
อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะเน้นเรื่องเทคนิคทีเป็นวิธีการ
                                          ่
และกระบวนการเรียนการสอนมากกว่าวัสดุ และเครื่องมือ
พื้นฐานมโนทัศน์เกี่ยวกับ ETC
                     Mar 12, '09

บทนำา

                ในสภาวะปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำาคัญกับ
การลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Information and Communication Technology : ICT)
เพื่อนำามาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ในยุคของการปฏิรูปการ
ศึกษา เราเร่งพัฒนาการศึกษาให้การศึกษาไปพัฒนา
คุณภาพของคน เพื่อให้คนไปช่วยพัฒนาประเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่อง
มือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการ
จัดการศึกษา เช่น ช่วยนำาการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน
(Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องทั้งในและนอกระบบ
โรงเรียน การเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำาข้อมูล
สารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความ
รวดเร็วและแม่นยำาในการจัดทำาข้อมูลและการวิเคราะห์
ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ใน
งานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยี
เพื่อช่วยการเรียนการสอน

แนวคิดของ ECT

       ETC (Education Technology and
Communication) แปลเป็นภาษาไทย คือ เทคโนโลยีและ
สื่อสารการศึกษา เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการนำาเอา
เทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารเพื่อการศึกษา โดยเน้น
การนำาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อการ
ออกแบบและส่งเสริมระบบการเรียนการสอน เน้นที่
วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้อง
แน่นอน มีการยึดหลักผูเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน
                      ้
มากกว่ายึดเนื้อหาวิชามีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดย
ผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์รวมถึงเทคนิค
การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ


ขอบข่ายของ ETC
         ในปัจจุบันได้มาจากการประยุกต์องค์ความรู้ทาง
ด้าน ICT เพื่อการบริหารจัดการ การพัฒนา การ
ออกแบบโมเดลต่างๆที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดังเห็นได้จาก
การให้ความสนใจกับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้ของ
ผู้เรียน การส่งเสริมความพร้อมทางระบบคอมพิวเตอร์ การ
มีเครือข่ายเชื่อมโยงเข้าอินเทอร์เน็ตได้โดยสะดวก ผู้เรียน
จึงมีโอกาสเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี และมีโอกาสใช้ได้เต็ม
ที่

ETC ในการศึกษาต่างประเทศ และการศึกษาไทยใน
ปัจจุบัน

             ประเทศไทยส่วนใหญ่เรารับปรัชญาและระบบ
วิธีการจัดการศึกษามาจากต่างประเทศ รวมไปถึงการรับ
เอาเทคโนโลยีและระบบการสื่อสาร มาเป็นเครื่องมือช่วย
ในการเรียนการสอน ทำาให้ลักษณะมีความคล้ายคลึงกับ
ต่างประเทศในส่วนหนึ่ง และสามารถแบ่งการใช้ ETC
ในลักษณะ 3 ประการ คือ

    1.     การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning
about Technology) ได้แก่เรียนรู้ระบบการทำางานของ
คอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทำา
ระบบข้อมูลสารสนเทศเป็น สื่อสารข้อมูลทางไกลผ่าน
Email และ Internet ได้ เป็นต้น
2.      การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by
Technology) ได้แก่การเรียนรู้ความรู้ใหม่ ๆ และฝึกความ
สามารถ ทักษะ บางประการโดยใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ใช้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ทาง
โทรทัศน์ที่ส่งผ่านดาวเทียม การค้นคว้าเรื่องที่สนใจผ่าน
Internet เป็นต้น

     3.     การเรียนรู้ไปกับเทคโนโลยี (Learning with
Technology) ได้แก่การเรียนรู้ด้วยระบบการสื่อสาร 2 ทาง
(interactive) กับเทคโนโลยี เช่น การฝึกทักษะภาษากับ
โปรแกรมที่ให้ข้อมูลย้อนกลับถึงความถูกต้อง (Feedback)
การฝึกการแก้ปัญหากับสถานการณ์จำาลอง (Simulation)
เป็นต้น

       ในเรื่องของความต่างจะพบว่า จากลักษณะ 3
ประการข้างต้นนักการศึกษาไทยจำาเป็นจะต้องมี
วิจารณญาณแยกแยะจุดเด่นจุดอ่อนในวิธีการจัดการศึกษา
รู้จักนำาแนวคิดมาดัดแปลงให้เข้ากับภูมิปัญญาไทยและ
วัฒนธรรมการจัดการศึกษาของไทย ทังในเรื่องของพื้น
                                     ้
ฐานทางสังคม ประวัติศาสตร์ความเป็นมา และวัฒนธรรมที่
มีความแตกต่างกัน ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมตาม
บริบทของสังคมไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการใช้
เทคโนโลยีให้มีขีดความสามารถสูงสุด ในบางครั้งการที่
เรานำาความรู้มาแต่เฉพาะเปลือกนอกอาจก่อให้เกิดความ
เสียหายได้ หรือทำาให้การจักการศึกษาไม่ประสบผล
สำาเร็จเท่าที่ควร

แนวคิดเกี่ยวกับ ETC ตามหลักสังคม

          ปัจจุบันซึ่งเป็นยุคโลกาภิวัฒน์วิทยาการต่างๆ
ได้พัฒนาการก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การ
เรียนรู้ของผู้คนไม่อาจจะหยุดนิ่ง แม้ผู้จบการศึกษาใน
ระดับอุดมศึกษาแล้วก็ยังมีความจำาเป็นต้องศึกษาหาความรู้
อยู่เสมอที่เรียกว่า การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางวิชาการของโลกและปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงนั้น อีกทั้งนโยบายกระจายโอกาสและความ
เสมอภาคในการศึกษา เป็นองค์ประกอบสำาคัญในการนำา
ความรู้ทางด้าน ECT มาใช้ในการสร้างเครือข่ายทาง
วิชาการและเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชนทุก
ระดับอาชีพ อายุ ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองให้มีความรู้
ความสามารถ มีคณภาพและมีสมรรถนะในการต่อสู้กับ
                   ุ
สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติต่างๆ


แนวคิดเกี่ยวกับ ETC ตามกฎหมาย

           จากพระราชบัญญัติการศึกษา ปี พ.ศ. 2542 จะ
      เห็นได้ว่า กฎหมายให้
ความสำาคัญแก่การจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษา
ตามอัธยาศัยมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเน้นการศึกษา
รายบุคคล มวลชน และผู้ด้อยโอกาสทั้งหลาย ซึงแน่นอน
                                             ่
การนำาเทคโนโลยีการศึกษาย่อมเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง
อย่างเลี่ยงไม่ได้ เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคตจะผูก
ติดกับพระราชบัญญัติการศึกษา และนับวันจะมีบทบาทยิ่ง
ขึ้น ดังจะพบว่าพระราชบัญญัติการศึกษาให้ความสำาคัญแก่
เทคโนโลยีการศึกษา โดยกำาหนดไว้ในหมวดที่ 9 ว่าด้วย
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาระบุไว้ 7 มาตรา ดังนี้

      มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำาและ
โครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำาเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง
วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น
เพื่อใช้ประโยชน์สำาหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอก
ระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบำารุงศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรมตามความจำาเป็น

    มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต
และพัฒนาแบบเรียน ตำารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่ง
พิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น
โดยเร่งรัด พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงิน
สนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และ
พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการ
แข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม

       มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และ
ผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความ
สามารถ และทักษะในการผลิต รวมทังการใช้เทคโนโลยีที่
                                    ้
เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ

            มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและ
พัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้
เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ทคุ้มค่าและ
                                           ี่
เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย

            มาตรา 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้ง
กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุน
ของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำาไร ที่ได้จากการดำาเนิน
กิจการสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ
โทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทังภาครัฐ ภาค
                                   ้
เอกชน และองค์กร ประชาคม รวมทั้งให้มีการลดอัตราค่า
บริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวเพื่อพัฒนา
คนและสังคม หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อ
การผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ให้เป็นไปตามกำาหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำา
หน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม และประสาน
การวิจัย การพัฒนา และการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ
และประสิทธิภาพของการผลิต และการใช้เทคโนโลยีเพื่อ
การศึกษา เทคโนโลยีอย่างหนึ่งทีเข้ามามีบทบาทอย่าง
                                  ่
กว้างขวางต่อการเรียนการสอนในปัจจุบันและจะมีบทบาท
ต่อการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้นในอนาคตก็คือ การนำาระบบ
การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการเรียนการสอน เมื่อไม่
นานมานี้ครูได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แต่
เพียงผู้เดียวในห้องเรียน แต่ปัจจุบันเรามีการสอนโดยใช้
โทรทัศน์ หรือวิทยุกระจายเสียง ระบบไมโครเวฟ
(Microwave) ระบบดาวเทียมและระบบวงจรปิด เช่น
โทรทัศน์วงจรปิดหรือโทรศัพท์มาใช้ประกอบ หรือใช้เป็น
สื่อแทนครู



แนวโน้ม ETC ในอนาคต

             แนวโน้มการใช้ ETC ในอนาคตจะพบว่า จะ
มีการให้ความสำาคัญกับการจัดการศึกษานอกระบบ และ
การศึกษาตามอัธยาศัยมากขึ้น เน้นเรื่องการใช้เทคโนโลยี
ที่ทันสมัย และเน้นเรื่องการศึกษาเป็นรายบุคคล การ
ศึกษาเพื่อมวลชน และการศึกษาเพื่อคนด้อยโอกาส โดย
ผ่านช่องทางในการสื่อสารในหลายรูปแบบ เป็นการขจัด
ข้อจำากัดของกาลเวลา และระยะทาง ส่งผลให้การแลก
เปลี่ยนข่าวสารข้อมูลเกิดได้ในทุกเวลา และทุกสถานที่ ซึง่
จากวิวัฒนาการนี้เองได้ก่อให้เกิดรูปแบบการจัดการศึกษา
แบบใหม่ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่ออิเล็กทรอนิกส์
เป็นเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
แนวโน้มของรูปแบบการจัดการศึกษา จะมีลักษณะดัง
    ต่อไปนี้ (สุภาณี เส็งศรี,
2543)

         1. จัดการเรียนการสอนตามความพร้อมแบบไม่
จำากัดเวลา สถานที่ โดยเน้นปริมาณแต่คำานึงถึงคุณภาพ
เพื่อมาตรฐานการศึกษา

           2. ปฏิรูปการเรียนรู้โดยมุ่งจัดการเรียนการสอนที่
เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ

         3. มุ่งพัฒนา จัดหา และส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนการสอนทาง
ไกล เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งวิทยาการอย่าง
อิสระ

          4. ลดข้อจำากัดทางการศึกษาโดยเฉพาะมุ่งเน้น
ความเท่าเทียมทางการศึกษาในทุกชุมชนและส่งเสริมให้ผู้
เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งลดปัญหา
การขาดผู้สอนซึ่งมีความรู้ความสามารถ

         5. เน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบ
วินัย และรับผิดชอบต่อสังคม

         6. สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร/สถาบันต่าง
ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนวิชาการทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และ
นานาชาติ



ทำาไมต้องใช้ ETC
ความจำาเป็นของ ETC ทีมีต่อระบบสังคมใน
                                   ่
ปัจจุบันทำาให้เห็นว่ามีความสอดคล้องกับรูปแบบการ
บริหารจัดการเรียนการสอน ปรัชญาทางการศึกษาและ
ตอบสนองต่อการพัฒนาในอนาคต ดังนั้นเราจะพบว่า
แนวคิดและกระบวนการในการจัดระบบความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน ตลอดจนองค์กร เกื้อกูล
และเชื่อมโยงกันที่ช่วยแลกเปลี่ยนความรู้ เครือข่ายการ
เรียนรู้จึงเป็นกระบวนการหรือกลไกที่ก่อให้เกิดกระบวนการ
เรียนรู้โดยการแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ ลักษณะ
หรือรูปแบบของเครือข่ายการเรียนรู้ไม่มีกฎเกณฑ์หรือหลัก
เกณฑ์ตายตัว ประชาชนต้องเรียนรู้จากกันและกัน จาก
ความรู้ที่ได้จากที่อื่น แล้วขยายความรู้ให้ผู้อื่นทราบด้วย
เป็นการช่วยให้เกิดการศึกษาที่หลากหลายสอดคล้องกับ
ความต้องการของบุคคล ในวิถีการดำารงชีวิตของมนุษย์มี
กระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นตลอดเวลา โดยเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม และบุคคลรอบข้างขณะเดียวกัน
ก็ได้มีการจัดระบบการเรียนรู้ และการถ่ายทอดให้สมาชิก
ในสังคมด้วยวิธีการต่างกัน ECT จึงเป็นเครื่องมือที่มี
ประโยชน์มหาศาลที่ตอบรับกับความเป็นอยู่ของผู้คนใน
ปัจจุบัน
ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา
· ดร.สุพิทย์ กาญจนพันธุ์ Ph.D.
รองศาสตราจารย์ บัณฑิตวิทยาลัยศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย
อัสสัมชัญ Ph.D. (Educational
Media&Technology).University.of Missouri-
Clumbia,U.S.A
******************************************
***************************************

ความเป็นมา

             มนุษย์มีลักษณะโดดเด่นด้วยความสามารถในการเรียนรู้
จากประสบการณ์ของตนเอง มีการถ่ายทอดสติปัญญาไปสู่รุ่นลูก
หลานสืบต่อกันไป การเรียนรู้และการสืบสานทางวัฒนธรรมดังกล่าว
ส่วนมากเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ไม่มีการวางแผนหรือโครงสร้างที่
แน่นอน เมื่อเวลาล่วงเลยไปสังคมมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น การ
จัดรูปแบบทาง สังคมจึงมีการจัดสรรเป็นรูปแบบเฉพาะ เช่น กลุ่ม
ความสามารถเชิงช่าง โรงเรียน สถาบันการศึกษารูปแบบอื่นๆ เพื่อ
ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้พัฒนาทักษะ และความรู้จำาเป็นต่อ
การมีชีวิตรอด และการพัฒนาสู่ความรุ่งเรืองต่อไป

            ประวัติศาสตร์อันยาวนานของการจัดองคาพยพของ
การศึกษา และการฝึกอบรมผ่านอุปสรรคนานานัปการเพื่อสร้างและ
ขยายโอกาสสำาหรับมนุษย์เพิ่มขึ้น ช่วยให้เรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนรู้
จากเหตุการณ์ในชีวิตธรรมดาทั่วไป สถาบันเพื่อการศึกษา และการ
ฝึกอบรมพยายามปรับเปลี่ยนกิจกรรมเพื่อช่วยให้มนุษย์ทั้งรายบุคคล
และรายกลุ่มสามารถเรียนรู้ได้ดีขึ้นทั้งในห้องเรียน หรือจากการเรียน
ทางไกล
               คำาว่า “การศึกษา” หรือ “education” หมายถึง
กิจกรรมหรือแหล่งทรัพยากรทั่วๆไปที่สนับสนุนการเรียนรู้
                คำาว่า “การเรียนการสอน” หรือ “instruction” หมาย
ถึง การจัดรูปแบบของกิจกรรมที่
มุ่งไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตั้งไว้โดยบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้เรียน
                ดังนั้น คำาว่า “การศึกษา” จึงไมได้ได้ขีดวงไว้เฉพาะ
ในสถาบันการศึกษาเท่านั้น ทังนี้รวมถึงข้อแนะนำาของพ่อแม่ต่อลูก
                               ้
ความรู้และทัศนคติจากสื่อสารมวลชน หรืออิทธิพลทางวัฒนธรรม
ใดๆที่มีต่อสมาชิกในสังคม การอ่านหนังสือในห้องสมุด หรือการเล่น
อินเทอร์เน็ตด้วยตนเอง จึงสามารถจัดเป็นกิจกรรมทางการศึกษาได้
ด้วย
                   กิจกรรมการสอน หมายถึง กิจกรรมที่จัดโดย
บุคคล หรือสิ่งอื่นใดนอกจากผู้เรียนเพื่อนำาพาผู้เรียนไปสู่จุดหมาย
โดยวิธีการจำาเพาะหนึ่งๆ เช่น การอ่านหนังสือในบทเรียนที่ครูกำาหนด
ให้ การสืบค้นอินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูลประกอบงานที่ครูมอบหมาย
กิจกรรมดังกล่าวสามารถเป็นได้ทั้งการศึกษา และการเรียนการสอน
สถาบันการศึกษาระดับต่างๆ เช่น โรงเรียน วิทยาลัย บริษัทจัดฝึก
อบรมพยายามจัดสิ่งเกื้อหนุนอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน
อันเป็นเป้าหมายหลักของสถาบัน เช่น การจัดอาคารสถานที่ สิ่ง
แวดล้อมช่วยอำานวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ บางแห่งจัดยาน
พาหนะให้สำาหรับการเดินทางไปกลับจากสถาบัน บางแห่งเปิด
โอกาสให้เรียนแบบทางไกล โอกาสการเข้าถึงบุคคลอื่นๆ
สารสนเทศ และอุปกรณ์อื่นๆ
                  สถาบันดังกล่าว มักสร้างแรงจูงใจด้วยเกรดหรือ
ระบบติชม จัดบริการสนับสนุนผู้สอน และช่วยพัฒนาด้านวิชาชีพ
อาจกล่าวได้ว่า บางครั้งสถาบันเหล่านี้ประกอบกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่
เกี่ยวข้องโดยตรงกับการศึกษา หรือการเรียนการสอน ซึ่งถือว่าเป็น
หน้าที่หลักของสถาบันเหล่านั้น และสามารถช่วยนำาไปสู่การเรียนรู้
นั่นเอง
                     จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ในสถาบันการศึกษา อาจ
เกิดขึ้นจากสถาบัน และผูเรียนร่วมกัน มักมีลักษณะยุ่งยากซับซ้อน
                            ้
ครูผู้สอนจึงคิดวิธีการใหม่ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายกว่า แน่นอน
กว่า และราคาถูกกว่าวิธีการที่ผ่านมา วิธีการบางอย่างดังกล่าวอาจจัด
เป็น “เทคโนโลยี” ซึ่งหมายถึง การประยุกต์หลักการทาง
วิทยาศาสตร์ หรือองค์ความรู้ใดๆ เพื่อนำาไปสู่จุดหมายปลายทางได้
(John Kenneth Galbraith, 1967 : 12) วิธีการดังกล่าวอาจรวมถึง
อุปกรณ์ (hard technology) หรือวัสดุ หรือซอฟท์แวร์ (soft
technology) อื่นๆ
                   กาลเวลาที่เปลี่ยนไปก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
และความท้าทายต่อทฤษฎีและแนวปฏิบัติของเทคโนโลยีการศึกษา
ความเข้าใจแนวใหม่ต่อกระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ และธรรมชาติ
การเรียนรู้ของมนุษย์ท้าทายให้นักการศึกษาได้ทบทวนแนวคิดเกี่ยว
กับวิธีการสอนรูปแบบต่างๆ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร (ICT : Information and Communication
Technology) ได้ปรับเปลี่ยนและขยายโอกาสการสนับสนุนการเรียน
รู้ในห้องเรียน และการเรียนจากทางไกลเพิ่มขึ้น แหล่งเรียนรู้มี
ลักษณะเป็นดิจิทัลเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงลดลง ส่งกระจาย
สารสนเทศได้ง่ายขึ้น สิ่งเหล่านี้ท้าทายแนวคิดเกี่ยวกับการสร้าง การ
จัดเก็บ และการใช้แหล่งความรู้แบบดั้งเดิม ทำาให้เกิดบริบทของการ
คิดใหม่ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา โครงการของ AECT เพื่อ
กำาหนดกรอบที่เหมาะสมของเทคโนโลยีการศึกษาจึงจัดให้มีขึ้นเพื่อ
ให้ทันกับเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป

นิยามของเทคโนโลยีการศึกษา
กรอบแนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษามีการปรับ
เปลี่ยนตลอดเวลา นับแต่มีสาขาวิชานี้บังเกิดขึ้นเรื่อยมาและดำาเนิน
ต่อไป ดังนั้นกรอบแนวคิดปัจจุบันจึงมีลักษณะชั่วคราวเท่านั้น
เทคโนโลยีการศึกษา สามารถนิยามได้ในลักษณะมโนทัศน์เชิง
นามธรรม หรือในลักษณะการ
ฝึกปฏิบัติ

                 ก. นิยามในลักษณะมโนทัศน์เชิงนามธรรม

                     “เทคโนโลยีการศึกษา เป็นการศึกษา และการ
ปฏิบัติอันดีงามเพื่อเกื้อกูลการเรียนรู้ และช่วยให้การปฏิบัติดีขึ้น โดย
การสร้างสรรค์ การใช้ประโยชน์ และการจัดหาแหล่งทรัพยากร และ
กระบวนการทางเทคโนโลยีที่เหมาะสม”
                      “ Educational technology is the study and
ethical practice of facilitating and improving performance by
creating , using , and managing appropriate technological
processes and resources”




องค์ประกอบของนิยาม

          คำาหลักๆ ที่นำามาใช้ในการนิยามคำาว่า เทคโนโลยีการ
ศึกษา มีความหมายและรายละเอียดจำาเพาะดังนี้
           ก. ศึกษา (study)

            ศึกษา หมายถึง ความเข้าใจในเชิงทฤษฎี และปฏิบัติ
เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา โดยอาศัย
การสร้างสรรค์องค์ความรู้ และการปรับปรุงความรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วย
วิธีการวิจัย และการฝึกปฏิบัติการตามหลักการที่ค้นพบ สิ่งเหล่านี้
คล้องจองกับคำาว่า “ศึกษา” เพราะคำาว่า “ศึกษา” เป็นการรวบรวม
สารสนเทศ และนำามาวิเคราะห์ซึ่งกระทำามากเกินกว่าวิธีการวิจัยแบบ
ดั้งเดิม มีขอบเขตครอบคลุมถึงการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพ และ
รูปแบบของการสืบค้นแบบอื่นๆ เช่น การตั้งทฤษฎี การวิเคราะห์เชิง
ปรัชญา การสืบค้นเชิงประวัติศาสตร์ การพัฒนาโครงการ การ
วิเคราะห์ข้อบกพร่อง การวิเคราะห์ระบบ และการประเมิน
                ความหมายของการวิจัย โดยทั่วไป หมายถึงทั้งการ
สร้างแนวคิดใหม่ๆ และกระบวนการประเมินเพื่อช่วยให้การปฏิบัติการ
ดีขึ้น การวิจัยสามารถกระทำาได้อย่างหลากหลายตามหลักและ
โครงสร้างทฤษฎี หรือหลักและโครงสร้างที่ขัดแย้งกับทฤษฎี การ
วิจัยของเทคโนโลยีการศึกษา กำาเนิดจาก ความพยายามจะพิสูจน์ว่า
สื่อและเทคโนโลยีมีประสิทธิผลต่อการเรียนรู้อย่างไร สร้างสรรค์การ
สืบสวน สอบสวน และอธิบายรายละเอียดของกระบวนการและ
เทคโนโลยีว่าจะมีการใช้งานอย่างเหมาะสมอย่างไร จึงจะช่วยการ
เรียนรู้ได้เพิ่มขึ้น
                 การวิจัยเทคโนโลยีล่าสุด เป็นการใช้สิ่งแวดล้อมจริง
รวมถึงความคิดเห็นของนักปฏิบัติ และผู้วิจัยเอง การวิจัยในอดีตมักมี
ลักษณะซำ้าซากล้าสมัย การวิจัยมุ่งสู่การแก้ปัญหาโดยการสืบค้นหา
วิธีการแก้ไข ความพยายามดังกล่าวนำาไปสู่แนวปฏิบัติใหม่ๆ รวมทัง     ้
ปัญหาและคำาถามใหม่ๆ แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติจากหลักทฤษฎี
และการสืบค้นหาความรู้จากเหตุการณ์จริงส่งผลทางบวกและมีคณค่า     ุ
ต่อการวิจัยโดยตรง นักปฏิบัติเหล่านี้จะพิจารณาปัญหาจากสภาพ
แวดล้อมของตนเอง (เช่น ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนของตนเอง)
และใช้ความพยายามแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติ ตาม
ผลการวิจัย และประสบการณ์วิชาชีพของตนเอง การกระทำาดังกล่าว
จะนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในวิธีการแก้ปัญหา และความพยายามใน
การระบุและแก้ไขปัญหาในสภาพแวดล้อมของตนเอง วัฏวิธี
(cyclical process) ของการปฏิบัติ/การประเมิน สามารถนำาไปสู่แนว
ปฏิบัติที่ดีขึ้นได้ (Schon, 1990)
การวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาที่ผ่านมา มักเป็นการ
สำารวจตรวจสอบเทคโนโลยีใหม่ๆ สืบค้นหาวิธีการออกแบบพัฒนา
การใช้ประโยชน์และการจัดการที่ดีที่สุด ต่อมาการวิจัยได้รับอิทธิพล
จากทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ การจัดการสารสนเทศ และ
สาขาวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ทฤษฎีพุทธิพิสัยนิยม และสรรคนิยม
(constructivism) ทำาให้เปลี่ยนแนวคิดจากการสอน (teaching)
เป็นการเรียนรู้ (learning) เอาใจใส่ต่อมุมมอง ความชอบของผู้เรียน
ในฐานะเจ้าของของกระบวนการเรียนรู้เพิ่มขึ้น
                การปรับเปลี่ยนทฤษฎีดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อ
เทคโนโลยีการศึกษาอย่างมหาศาล จากสาขาวิชาที่มุ่งออกแบบการ
เรียนการสอนในลักษณะนำาส่ง (delivered) ความรู้ในหลากหลายรูป
แบบ (ทังเทคโนโลยีและกลยุทธ์) ไปเป็นสาขาวิชาที่เน้นการ
         ้
สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ผเรียนได้ลงมือสำารวจตรวจสอบด้วย
                                 ู้
ตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระบบต่างๆ การวิจัย
จึงเปลี่ยนไปเป็นการเฝ้าสังเกต การมีส่วนร่วม และการสร้างสรรค์
อย่างจริงจังของผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ กล่าวคือ การวิจัยได้ปรับ
เปลี่ยนการออกแบบจากวิธีการเรียนการสอนทั่วไปไปเป็นการ
ออกแบบสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ข. การปฏิบัติอันดีงาม (ethical practice)

                คณะกรรมการว่าด้วยจริยธรรมของ AECT (AECT
Ethics Committee) ได้กำาหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรม หรือการ
ปฏิบัติที่ถูกต้องดีงาม โดยเฉพาะการใช้สื่อ และการเคารพต่อ
ทรัพย์สินทางปัญญา จริยธรรมดังกล่าวไม่มุ่งเน้นเฉพาะ กฎกติกา
และความคาดหวัง แต่เน้นวิธีการปฏิบัติด้วย
ในความเป็นวิชาชีพของเทคโนโลยีการศึกษา ผู้ปฏิบัติจะต้องตรวจ
สอบตนเองอยู่เสมอว่า ได้ปฏิบัติถูกต้องดีงามตามหลักจริยธรรมหรือ
ไม่ การออกแบบการสอนแบบเดิม หรือการออกแบบสิ่งแวดล้อมที่
เอื้อต่อการเรียนรู้ จะต้องคำานึงถึง ความดีงามของสังคมรวมเข้าไว้
ด้วยกันเสมอ ดังนั้น การออกแบบระบบการเรียนรู้แบบใหม่จึงต้องรู้ว่า
เกี่ยวข้องกับใครบ้าง ใครสนับสนุน ใครมีอำานาจบ้าง เป็นต้น
หลักปฏิบัติตามจริยธรรมของ AECT คือ การให้ความช่วยเหลือ
สมาชิกเป็นรายบุคคล และรายกลุ่มเพื่อคงไว้ซึ่งการปฏิบัติการเชิง
วิชาชีพในระดับสูง (Welliver, 2001)

หลักปฏิบัตของ AECT แบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ
            ิ
        หมวดหนึ่ง : พันธะสัญญาต่อเอกัตบุคคลเกี่ยวกับสิทธิใน
การเข้าถึง และใช้งานแหล่งข่าวสารปกป้องความสมบูรณ์ และความ
ปลอดภัยของวิชาชีพ
         หมวดสอง : พันธะสัญญาต่อสังคม เช่น แสดงข้อเฑ็จจริง
ทางการศึกษาที่ถูกต้อง และเป็นธรรม มีการปฏิบัติต่อผู้เข้ารับการ
ศึกษาอย่างเสมอภาค
          หมวดสาม : พันธะสัญญาต่อวิชาชีพ เช่น การเพิ่มพูน
ความรู้และทักษะทางวิชาชีพ การให้เครดิต แก่งาน หรือสิ่งตีพิมพ์
ของคนอื่น

หลักปฏิบัติแต่ละข้อจะแสดงรายละเอียด แสดงถึงวิธีการปฏิบัติอันถูก
ต้องในแต่ละบริบทและบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา แนว
พิจารณาดังกล่าวใช้เป็นแนวปฏิบัติสำาหรับนักวิจัย อาจารย์ ที่ปรึกษา
นักออกแบบ หัวหน้าแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางวิชาชีพ
และแนวปฏิบัติด้านจริยธรรม

ค. ความเกื้อกูล (facilitating)

             แนวคิดของการเรียนรู้และการสอนที่เปลี่ยนไปสะท้อน
ให้เห็นอย่างชัดเจนในทฤษฎีด้านพุทธิพิสัยนิยมและสรรคนิยม ทำาให้
สมมุติฐานเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนการสอน (instruction)
กับการเรียนรู้ (learning) เปลี่ยนไป
             ในอดีตเทคโนโลยีการศึกษามองว่า การเรียนการสอนจะ
ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเรียนรู้ ตัวอย่าง เช่น ในปี 1963 AECT
กล่าวถึง “การออกแบบและการใช้สาร” (messages) ซึ่ง “ควบคุม
กระบวนการเรียนรู้” การออกแบบการเรียนการสอน ต่อจากนั้นแสดง
ความชัดเจนในการควบคุมกระบวนการน้อยลง แต่ยงคงไว้ว่า “การ
                                                  ั
ออกแบบการเรียนการสอนที่ดี วิธีสอนที่ดีจะส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิผล” ปัจจุบันมองว่าผู้เรียนเป็นเจ้าของกระบวนการเรียนรู้
และรับผิดชอบต่อการเรียนรู้มากขึ้น บทบาทของเทคโนโลยีจึงมี
ลักษณะเกื้อกูลมากกว่าการควบคุมการเรียนรู้
บทบาทของเทคโนโลยีในยุคของข่าวสารดิจิทัล ซึ่งต้องเรียนรู้ลึกซึ้ง
กว้างไกล เทคโนโลยีจึงต้องแสดงเป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ ในฐานะ
เครื่องมือเพื่อเปิดโอกาสให้ผเรียนไว้ค้นหาด้วยตนเองแทนการฝึก
                            ู้
และปฏิบัติ (drill – and – practice) เพื่อควบคุมการเรียนรู้อัน
จำาเพาะเจาะจงเช่นทีผ่านมา นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงมีหน้าที่
                     ่
ออกแบบเครื่องมือทางพุทธิพิสัย และสภาพแวดล้อมเพื่อนำาทาง
และสร้างโอกาส และช่วยให้ผู้เรียนได้ค้นพบคำาตอบจากข้อสงสัย
ของตนเอง
          ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาจึงช่วยเกื้อกูล (facilitate)
มากกว่าการควบคุม (control) การเรียนรู้
การเกื้อกูล ประกอบด้วย การออกแบบสิ่งแวดล้อม การจัดองคาพยพ
ของแหล่งการเรียนรู้ และการจัดหาเครื่องมือต่างๆ ให้ผู้เรียน การ
สอนตรงแบบดั้งเดิม (direct instruction) อาจมีความจำาเป็นต่อ
การนำาไปสู่วิธีการสอนแบบใหม่ในบางประเด็น หรือบางครั้งอาจใช้
คำาถามแบบปลายเปิดเพื่อนำาไปสู่การเรียนรู้ใหม่ เป็นต้น เหตุการณ์
ของการเรียนรู้ สามารถทำาได้ทั้งรูปแบบเผชิญหน้า หรือสภาวะ
แวดล้อมเสมือนจริง


ง. การเรียนรู้ (learning)

       ความหมายของการเรียนรู้ที่ AECT นิยามไว้เมื่อ 40 ปีเศษ
กับความเข้าใจในปัจจุบันมีความ
แตกต่างกันมาก ระหว่างความหมายของการเรียนรู้ หมายถึง ความ
คงทนของสารสนเทศ (retention of information) ที่วัดได้จากการ
ทดสอบกับการเรียนรู้ที่ต้องแสวงหาทักษะเพื่อใช้ประโยชน์นอก
ห้องเรียน
          ภารกิจการเรียนรู้ สามารถจัดจำาพวกได้หลายประเภท ขึ้นอยู่
กับศัพทานุกรมที่แตกต่างกัน Perkins 1992) ให้นิยามการเรียนรู้
อย่างง่ายๆ ว่าหมายถึง ความคงทนของสารสนเทศ สามารถวัดได้
จากแบบทดสอบ และพบในโรงเรียน มหาวิทยาลัยทั่วไป การเรียนรู้
ที่เกิดจากการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer – based
Instruction) เป็นตัวอย่างที่ดีประเภทหนึ่ง การตั้งจุดประสงค์การ
เรียนอาจรวมความเข้าใจ (understanding) เข้าไว้กับความจำา จุดมุง ่
หมายของการเรียนรู้อาจตั้งไว้ในลักษณะท้าชวนคิด (ambitious)
ซึ่งต้องใช้ความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้ในเชิงรุก การประเมินการ
เรียนรู้ลักษณะนี้จะต้องใช้สถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จำาลอง
ท้าทายให้ผเรียนเข้ามาจัดเหตุการณ์ ความแตกต่างของการเรียนรู้ทั้ง
             ู้
สองประเภท อาจเรียกได้ง่ายๆ ว่าเป็นแบบผิวเผิน (surface)
กับแบบลุ่มลึก (deep) (Weigel, 2001)
          การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความรู้ระดับสูงเป็นที่รู้จักกันมานาน
สถาบันการศึกษาทุกระดับ สถานฝึกอบรมมีความพยายามจะทำาให้
เกิดกิจกรรมดังกล่าวอยู่แล้ว ผู้บริหารทั้งหลายทราบดีว่า การทุ่มเท
งบประมาณ และเวลาเพื่อการสอนเน้นให้เกิดความรู้ที่เรียกว่า ความรู้
เฉื่อย (inert knowledge) เป็นการสูญเสียอย่างสิ้นเชิง โดยเฉพาะ
การที่ผู้เรียนไมได้นำาความรู้เหล่านั้นมาใช้นอกห้องเรียน นักการ
ศึกษาปัจจุบันมักกล่าวถึงการศึกษาในความหมายของการเรียนรู้ที่มี
ผลิตผล นำามาใช้เชิงรุกและเป็นการเรียนแบบลุ่มลึก ดังนั้น การเรียนรู้
แบบลุ่มลึกจึงต้องมีวิธีสอนและวิธีการวัดประเมินแตกต่างจากการ
เรียนรู้แบบผิวเผิน (surface learning) อย่างแน่นอน

จ. ช่วยทำาให้ดีขึ้น (improving)

         การที่สาขาวิชาชีพใดจะได้รับการยอมรับจากสาธารณชน
หรือไม่ สาขาวิชาชีพนั้นต้องพิสูจน์ตนเองว่าสามารถสร้างสรรค์สิ่งดี
งามให้เกิดขึ้นกับสังคมอย่างชัดเจน สามารถชี้แนวทางถูกต้องที่นำา
ไปสู่เป้าหมายอันทรงคุณค่าได้ ตัวอย่างเช่น พ่อครัวที่จะอ้างว่าเป็น
มืออาชีพ พวกเขาต้องปรุงอาหารได้แตกต่างจากบุคคลทั่วไป เช่น
น่ารับประทานกว่า ปลอดภัยกว่า มีคณค่าทางอาหารมากกว่า
                                     ุ
กระบวนการปรุงมีประสิทธิภาพสูงกว่า เป็นต้น ดังนั้น การที่
เทคโนโลยีการศึกษาจะสามารถ “ช่วยให้การกระทำาดีขึ้น” (improve
performance) ซึ่งหมายถึง ประสิทธิผลการเรียนรู้ กล่าวคือ กรรมวิธี
ดังกล่าวนำาไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่มคุณภาพและคาดการณ์ได้ ผลิตภัณฑ์
                               ี
ดังกล่าวก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล และคาดการณ์ได้ ก่อให้
เกิดความสามารถและนำาไปใช้ได้ในชีวิตจริง
          คำาว่า ประสิทธิผล (effectiveness) มีนัยคล้ายกับ
ประสิทธิภาพ (efficiency) กล่าวคือ ประสิทธิภาพยึดเอาเป้าหมาย
(goal) ของการกระทำาเป็นหลัก เช่น ถ้าต้องการขับรถยนต์จาก
กรุงเทพไปจังหวัดนครราชสีมาการเดินทางโดยใช้วงแหวนตะวันออก
ตรงไปจังหวัดสระบุรีเลี้ยวขวาเข้าถนนมิตรภาพ เข้าจังหวัด
นครราชสีมา เป็นเส้นทางที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ถ้าเราตั้งเป้าหมาย
ว่าการเดินทางไปจังหวัดนครราชสีมาครั้งนี้ เราจะแวะชมทะเลก่อน
การเดินทางจะเปลี่ยนไปเป็น การใช้ถนนมอเตอร์เวย์ – ชลบุรี –
นครราชสีมา ซึงมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่ตั้งไว้
                 ่
          การออกแบบการเรียนการสอนแบบยึดเอาเป้าหมายทางการ
เรียนเป็นหลัก จึงคำานึงถึงประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่วัดได้จากข้อสอบ
ที่สร้างจากเป้าหมายที่ตั้งไว้ การออกแบบการเรียนการสอนจึงต้อง
จัดให้เป็นระบบชัดเจน
           ในวิธีการเรียนการสอนแบบสรรคนิยม (constructivist) นัก
ออกแบบให้ความสำาคัญกับความ
น่าดึงดูดใจของการเรียนการสอนเป็นพิเศษ ส่งเสริมให้ผู้เรียนตั้งเป้า
หมาย และวิธีการเรียนได้ด้วยตนเอง
           การประเมินผลการเรียนในลักษณะนี้มุ่งวัดความรู้และ
ประสบการณ์ที่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง สามารถนำามาแก้ปัญหาในชีวิตจริง
ได้ ซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับการทดสอบการเรียนรู้ที่วัดด้วยแบบ
ทดสอบทั่วไป อย่างไรก็ตามการออกแบบการเรียนรู้แบบยึด
วัตถุประสงค์การเรียนแบบทั่วไปยังมีความจำาเป็นในกรณีที่มีกรอบ
เวลาและทรัพยากรจำากัด

ฉ. การปฏิบัติ (performance)

          การปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการใช้ และ
ประยุกต์ความสามารถใหม่ๆที่ได้รับ บทเรียนแบบโปรแกรม
(programmed instruction) ยึดแนวทางให้ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ตาม
จุดประสงค์ปลายทาง (terminal objectives) หลังการเรียนการสอน
จุดประสงค์ปลายทางระบุเหตุการณ์ขณะเรียนหรือฝึกอบรม เพื่อ
ทำาการวัดว่าผู้เรียนปฏิบัติได้ดีในระดับใดภายใต้เงื่อนไขที่กำาหนดไว้
ตามข้อเท็จจริงแล้วเทคโนโลยีการศึกษา ไม่สามารถทำาให้การปฏิบัติ
ของผู้เรียนดีขึ้น มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้ทุกชนิด ในความหมายของ
เทคโนโลยีการปฏิบัติ (performance technology) สถานที่ทำางานมี
ปัจจัยอื่นๆ ช่วยให้การปฏิบัติการดีขึ้น นอกเหนือจากการสอนหรือการ
ฝึกอบรม เช่น เครื่องมือ เหตุกระตุ้นใจ
          การปรับเปลี่ยนองค์การ การให้กำาลังใจ การปรับวิธีทำางาน
ฯลฯ (Stolovitch and Keeps, 1992)
ดังนั้น เทคโนโลยีการปฏิบัติ (performance technology) จึงมีความ
หมายกว้างขวางมากกว่าเทคโนโลยีการศึกษา (educational
technology)
           หน้าทีหลัก 3 ประการของเทคโนโลยีการศึกษา คือ การ
                   ่
สร้างสรรค์ (creating) การใช้ประโยชน์ (using) และการจัดการ
(managing) หน้าที่เหล่านี้อาจเกิดขึ้นจากหลายๆฝ่ายในเวลาที่แตก
ต่างกัน หน้าที่เหล่านี้อาจถือได้ว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งของการพัฒนาการ
เรียนการสอนร่วมกับการประเมินควบคู่กันไป

ช. การสร้างสรรค์ (creating)

           การสร้างสรรค์ หมายถึง ทฤษฎี ผลการวิจัย และแนวปฏิบัติ
ที่รวมอยู่ในกรรมวิธีโครงสร้างของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในหลาก
หลายรูปแบบทั้งแบบในระบบ (formal) และนอกระบบ (informal)
การสร้างสรรค์อาจรวมกิจกรรมหลากหลาย ขึ้นอยู่กับวิธีการออกแบบ
ที่นำามาใช้ วิธีการออกแบบ
มีความแตกต่างหลากหลายขึ้นอยู่กับปัจจัยเกี่ยวข้องกับนักออกแบบ
เช่น สุนทรีย์ ความเป็นวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม จิตวิทยา กรรมวิธีหรือ
วิธีระบบ สิ่งเหล่านี้ จะส่งผลต่อการผลิตวัสดุอุปกรณ์ และเงื่อนไข
จำาเป็นต่อการเรียนรู้อันทรงประสิทธิผล
             วิธีการระบบ (system approach) อาจมีวิธีการเริ่มจาก
การวิเคราะห์ (analyzing) ปัญหาการเรียนการสอน ตามด้วยการ
ออกแบบและการพัฒนาวิธีการแก้ปัญหา (designing and
developing) , ประเมิน (evaluating) และปรับทบทวน (revising)
ของแต่ละขั้นตอน และสุดท้ายนำาวิธีการที่ได้มาทดลองใช้
(implementing) การวัดผลและการตรวจสอบในกระบวนการเรียกว่า
การประเมินผลระหว่างเรียน (formative evaluation) การประเมิน
ผลตอนสิ้นสุดโครงงาน เรียกว่า การประเมินผลหลังเรียน
(summative evaluation)

          คำาถามเพื่อการประเมินพบได้หลายรูปแบบ และขั้นตอน
ของการออกแบบการเรียนการสอน
ตัวอย่างการตั้งคำาถามเพื่อการประเมิน
         - การวิเคราะห์ก่อนเรียน (front – end analysis) : ตั้ง
คำาถามว่า มีปัญหาสำาหรับการปฏิบัติหรือไม่ อยู่ในกรอบของความ
จำาเป็นของการเรียนการสอนหรือเปล่า
          - ขั้นการวิเคราะห์ผู้เรียน : ตังคำาถามว่า คุณลักษณะของผู้
                                         ้
เรียนเป็นอย่างไร
          - ขั้นการวิเคราะห์ภารกิจ (task analysis) : ตั้งคำาถามว่า ผู้
เรียนจะต้องมีความสามารถอะไร
           - ขั้นการออกแบบ : ตังคำาถามว่า จุดประสงค์การเรียนรู้คือ
                                   ้
อะไร , โครงสร้างทั่วไปสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่ , อุปกรณ์
การเรียนการสอนถูกต้องตามหลักการออกแบบสาร (message
design) หรือไม่
         - ขั้นการพัฒนา : ตั้งคำาถามว่า รูปแบบพื้นฐานสามารถนำาผู้
เรียนไปสู่วัตถุประสงค์ได้หรือไม่
          - ขั้นการนำาไปใช้ : ตั้งคำาถามว่า วิธีการที่พัฒนาขึ้นได้ถูก
นำาไปใช้ได้หรือไม่ ถ้าใช้ทำาได้ถูกวิธีการหรือไม่ ส่งผลกระทบต่อ
ปัญหาดั้งเดิมอย่างไร

           กระบวนการออกแบบและพัฒนาได้รับอิทธิพลจาก
เทคโนโลยีระบบแอนะล็อก และดิจิทัลที่นำามาสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้แตกต่างกัน ตัวอย่างการออกแบบการเรียนการสอน
ลักษณะครูเป็นหลักจะแตกต่างจากการออกแบบการสอนเกม
สถานการณ์จำาลองโดยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น สิ่งที่ต้องสร้างสรรค์ขึ้น
ไม่ใช่เฉพาะอุปกรณ์การเรียน และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนเท่านั้น
ยังรวมถึงฐานข้อมูลเพื่อจัดการความรู้ ,ฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อการ
สำารวจปัญหา , ระบบช่วยเหลืออัตโนมัติ และข้อมูลส่วนตัวของผู้
เรียนเพื่อประกาศ และประเมินผลการเรียนรู้
ซ. การใช้ประโยชน์ (using)

            การใช้ประโยชน์ หมายถึง ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ
เกี่ยวข้องกับการนำาผู้เรียนไปสัมผัสกับเงื่อนไขและแหล่งการเรียนรู้
การใช้ประโยชน์เริ่มด้วยการเลือกแหล่งทรัพยากร วิธีการ และวัสดุ
อุปกรณ์ที่เหมาะสม อาจเลือกโดยผูเรียนหรือผู้สอน การเลือกที่
                                     ้
ชาญฉลาดขึ้นอยู่กับความสามารถในการประเมินแหล่งทรัพยากร วิธี
การและวัสดุอุปกรณ์ว่าสิ่งเหล่านี้เหมาะสมกับผู้เรียนเพียงใด ในการ
เรียนการสอนจริง สิ่งเหล่านี้จะพบได้ ในสภาวะแวดล้อมหลาก
หลาย จึงต้องมีการวางแผนและใช้งาน (utilization) ภายใต้คำา
แนะนำาของครู ถ้าสื่อชนิดนั้น วิธีการนั้นใหม่ต่อการใช้งาน ควรมีการ
ทดลองใช้ก่อนทดลองจริง
             การนำานวัตกรรมการเรียนการสอนมาทำาให้ผู้สอนเกิด
ความสนใจ หรือการทำาตลาดของผู้ขาย บางครั้งอาจเรียกลักษณะ
การกระทำาเช่นนี้ว่า การซึมผ่าน (diffusion) เมื่อครูยอมรับสิ่งเหล่านี้
เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน เรียกว่า การบูรณาการ (integration)
เมื่อการบูรณาการเป็นไปอย่างแพร่หลายทั่วทั้งหน่วยงานจะเรียกว่า
การทำาให้กลายเป็นพฤติกรรมที่เคยชิน (institutionalization)
             การจัดการ (managing) ในยุคแรกงานบริการจัดการ
เป็นความรับผิดชอบประเภทหนึ่งของวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา
ตัวอย่างเช่น การอำานวยการดำาเนินงานศูนย์โสตทัศนศึกษา เป็นต้น
เมื่อการผลิตสื่อ และวิธีการพัฒนาการเรียนการสอนเปลี่ยนแปลงรูป
แบบมีขนาดซับซ้อน และกว้างขวางยิ่งขึ้น การบริหารต้องอาศัย
ทักษะ การบริหารโครงการเพิ่มขึ้น การศึกษาทางไกลผ่าน
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)
              นักเทคโนโลยีการศึกษาจำาเป็นต้องมีทักษะด้านบริหาร
จัดการระบบส่งถ่ายสารสนเทศ การบริหารจัดการย่อยลงไป เช่น การ
บริหารบุคลากร และการจัดการสารสนเทศ มีความจำาเป็นต่อการจัด
รูปแบบการทำางานของบุคลากร และการวางแผน การควบคุม วิธีการ
จัดเก็บ และประมวลผลสารสนเทศ
               นอกจากนี้ การบริหารจัดการที่ชาญฉลาด จำาต้องมีการ
ประเมินโครงการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ (quality
control) ทำาหน้าที่ประเมิน และเฝ้าสังเกตผลการดำาเนินงาน การ
ประกันคุณภาพ (quality assurance) ทำาหน้าที่ประเมินเพื่อการ
ปรับปรุงกระบวนการบริหารอย่างต่อเนื่อง
ผู้ซงทำาหน้าที่บริหารจัดการ อาจเรียกได้ว่าเป็น ผูใช้ภาวะผู้นำา
    ึ่                                           ้
(leadership) ผสมผสานกับความเชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ และ
แนวปฏิบัติตามหลักจริยธรรมในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติการของ
เทคโนโลยีการศึกษา

ฌ. ความเหมาะสม (appropriate)

            ความเหมาะสม หมายถึง การนำาวิธีการและทรัพยากรมา
ใช้อย่างเหมาะสมลงตัวกับจุดประสงค์ที่วางไว้ คำาว่า เทคโนโลยีที่
เหมาะสม (appropriate technology) พบได้แพร่หลายทั่วโลกใน
สาขาการพัฒนาชุมชน หมายถึง เครื่องมือ หรือแนวปฏิบัติที่ง่ายที่สุด
ตรงกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างนุ่มนวลมากที่สุด มโนทัศน์ของคำาดัง
กล่าวมีที่มาจาก การเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมในยุคปี 1970 คำานี้
นำามาใช้ครั้งแรกในหนังสือชื่อ “เล็กแต่สวย” (Smal lis Beautiful)
(Schumacher, 1975) ซึงมีความหมายถึง เทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่
                          ่
เกี่ยวข้องกับผู้ใช้งาน และวัฒนธรรมในท้องถิ่น มีความยั่งยืนตาม
สภาพเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นๆ
มาตรฐานวิชาชีพของ AECT ยอมรับว่า ความเหมาะสมมีมิติด้าน
จริยธรรมของมันเอง ในหมวด 1.7 ของมาตรฐานวิชาชีพเทคโนโลยี
การศึกษา ระบุว่า “ส่งเสริมแนวปฏิบัติอย่างมืออาชีพและทันสมัยใน
การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการศึกษา” หมวด 1.5 กล่าวถึง “การ
ใช้วิธีการอย่างมืออาชีพชัดเจนในการประเมินและเลือกวัสดุและ
อุปกรณ์” หมวด 1.6 ระบุว่า “บังคับให้นักวิจัย และนักปฏิบัติการ
ป้องกันตนเอง จากสภาวะอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย”
หมวด 1.8 ระบุว่า “บังคับให้หลีกเลี่ยงข้อความที่ก่อให้เกิดความ
เข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ เพศ เชื้อชาติ หรือศาสนา” ขณะเดียวกัน
จะส่งเสริม การพัฒนาโปรแกรมและสื่อซึ่งเน้นความหลากหลายของ
สังคม ว่าเป็นชุมชนหลากหลายวัฒนธรรม หมวด 3 เรียกร้องให้มีการ
เปิดโอกาสแสดงทัศนะหลากหลายจากภูมิปัญญา และวัฒนธรรม
หลีกเลี่ยงการโฆษณาอย่างบ้าเลือดอันตราย (commercial
exploitation) เคารพในกฎหมายลิขสิทธิ์ และทำาการวิจัยหรือปฏิบัติ
การโดยการใช้กรรมวิธีตามแนวทางจัดขึ้นโดยกลุ่มมืออาชีพ และ
คณะกรรมการของสถาบัน
ความเหมาะสมของสื่อ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของครูว่า มีความเหมาะ
สม และใช้ประโยชน์ได้ตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้หรือไม่ เช่น ครู
สังคมศึกษาอาจใช้เกมคอมพิวเตอร์สร้างสถานการณ์จำาลอง
เหตุการณ์ทางสังคมให้นักเรียนนำามาอภิปราย เป็นต้น
ความเหมาะสมบางครั้ง ได้นำามาใช้เป็นระเบียบ กฎเกณฑ์เพื่อการ
ตรวจควบคุมหนังสือ หรือวัสดุการเรียนการสอนอื่นๆ โดยใช้เกณฑ์
เกี่ยวกับ การแสดงออกทางเพศอย่างโจ่งแจ้ง ใช้ภาษาไม่สุภาพ หรือ
กล่าวร้ายผู้อื่น หรือไม่เหมาะสมกับผู้อ่านบางช่วงอายุ เป็นต้น
กล่าวโดยสรุปได้ว่า การเลือกวิธีการและสื่อ ควรใช้หลักการทำาดีที่สุด
(best practice) ในสถานการณ์ที่กำาหนดให้ตามหมวด 1.7 ของแนว
ปฏิบัติด้านจริยธรรมของ AECT กล่าวเป็นนัยได้ว่า นักวิชาชีพ
เทคโนโลยีการศึกษาจะต้องมีความรู้ในวิชาชีพทันสมัยอยู่เสมอ และ
ใช้ความรู้ดังกล่าวบนพื้นฐานการตัดสินใจที่ถูกต้อง การเลือกวิธีการ
หรือสื่อแบบสุ่มโดยบุคคลภายนอกวงการเทคโนโลยีการศึกษา นับว่า
ไม่เข้าเกณฑ์ความเหมาะสม การตัดสินใจด้วยหลักวิชาชีพที่ถูกต้อง
บนฐานความรู้ที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสัมฤทธิ์ในการ
เรียน เป็นการใช้ทรัพยากรและเวลาขององค์กร และนักเทคโนโลยี
การศึกษาเอง

ญ. เชิงเทคโนโลยี (technological)

          เชิงเทคโนโลยี หมายถึง การอธิบายกิจกรรมของมนุษย์บน
พื้นฐานของเทคโนโลยี เช่นคำากล่าวที่ว่า
“การประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หรือองค์ความรู้ใดๆ อย่าง
เป็นระบบ เพื่อการปฏิบัติภารกิจ” (Galbraith, 1967 :12) ดังนั้น
เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) จึงไม่ใช้คำาว่า
Technological Education.
ประเด็นที่หนึง : การวางแผนและการปฏิบัติการสอน เช่น
              ่
กระบวนการตัดสินใจของครูทั่วไปในชีวิตการทำางานแต่ละวัน
สามารถใช้วิธีการไม่ใช่เชิงเทคโนโลยี (non – technological) ได้
สำาหรับนักเทคโนโลยีการศึกษาแล้ว กระบวนการดังกล่าวจะต้องตั้ง
อยู่บนพื้นฐานของการวิจัย หรือการพัฒนา ดังนั้นการพัฒนาโมเดล
ภาษาคอมพิวเตอร์หรือสูตรใดๆ ที่ปรากฏในเทคโนโลยีการศึกษาจึง
ต้องใช้กรรมวิธีเชิงเทคโนโลยีเสมอ
ประเด็นที่สอง : มีการเปลี่ยนแปลงเชิงเทคโนโลยีในสื่อ ทังฮาร์ดแวร์
                                                             ้
และซอฟท์แวร์ เช่น ภาพนิ่ง วิดโอ แถบบันทึกเสียง การต่อเชื่อมกับ
                              ี
ดาวเทียม ชุดคำาสั่งคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นดีวีดี สิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่
ในความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาอย่างชัดเจนปฏิเสธไม่ได้


ฎ. กรรมวิธี (process)

         กรรมวิธี หมายถึง อนุกรมของกิจกรรมที่มุ่งไปสู่ผลที่ได้ระบุ
เอาไว้ล่วงหน้า นักเทคโนโลยีการศึกษามักดำาเนินการออกแบบ
พัฒนา และสร้างแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ สิ่งเหล่านี้เป็นกรรมวิธีใน
การพัฒนาการเรียนการสอน (instructional development) โดย
เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปี 1960 ถึงปี 1990 เมื่อแนวคิดเกี่ยวกับ
ความเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับยุคสมัย และสรรคนิยม (constructivist)
เข้ามามีบทบาทในการศึกษา กรรมวิธีต่างๆ ในการออกแบบการเรียน
รู้จึงปรับเปลี่ยนจากแนวคิดว่า ผู้สอนกำาลังทำาอะไร ไปเป็นผู้เรียน
กำาลังทำาอะไร กล่าวคือ ผู้เรียนต้องสรรค์สร้างความรู้ของตนเอง มี
ประสบการณ์บนพื้นฐานความยากลำาบากของตนเอง การออกแบบ
ระบบการเรียนการสอนแบบเดิม ครูจะทำาหน้าที่ควบคุมและเป็น
เจ้าของกรรมวิธีทั้งหมด ปิดโอกาสของผู้เรียนในการเข้าถึงความ
ชำานาญ และการส่งผ่านทักษะไปสู่กิจกรรมในชีวิตจริง
           บริบทความหมายของคำาว่า “กรรมวิธี” ยังรวมถึง การใช้
ประโยชน์ และการจัดการแหล่งทรัพยากร และการสร้างสรรค์สิ่งเหล่า
นั้น

ฏ. แหล่งทรัพยากร (resources)

         แหล่งทรัพยากรหลากหลายชนิดทำาให้เราสามารถบอกได้ว่า
สาขาวิชานั้นๆ คืออะไร เทคโนโลยี และนวัตกรรมเข้ามามีบทบาท
ช่วยเผยแพร่ขยายขอบเขตของแหล่งทรัพยากร เพื่อช่วยเหลือผูเรียน    ้
แหล่งทรัพยากร หมายถึง มนุษย์ เครื่องมือ เทคโนโลยีและวัสดุ
อุปกรณ์ ออกแบบไว้ช่วยผู้เรียนในการเรียนรู้ อาจรวมถึงระบบ ICT
แหล่งความรู้ชุมชน เช่น ห้องสมุด สวนสัตว์ พิพิทธภัณฑ์ และผู้
เชี่ยวชาญบางสาขา หรือสื่อดิจิทัลใหม่ๆ เช่น CD-ROM เว็บไซต์
และเว็บเควสท์ (webquests) ระบบอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการ
ปฏิบัติการ (EPSS : Electronic Performance Supportings
System) รวมถึงสื่อแอนะล็อกทั่วไป เช่น หนังสือ สิ่งตีพิมพ์ เครื่อง
บันทึกภาพ สื่อโสตทัศน์อื่นๆ ครูทำาหน้าที่ค้นหาเครื่องมือใหม่ๆ
สร้างสรรค์แหล่งทรัพยากรใหม่ๆ ผูเรียนทำาการสั่งสมและจดจำาแหล่ง
                                  ้
ความรู้ของตนเอง และนักเทคโนโลยีการศึกษาทำาหน้าที่เสาะหา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา
มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา

More Related Content

What's hot

สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้unpununping
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21Wichit Thepprasit
 
นำเสนอ Aec
นำเสนอ Aecนำเสนอ Aec
นำเสนอ Aeccomputerta
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Nat Thida
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารAomJi Math-ed
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารsinarack
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
สำรวจการใช้ ICT ในการเรียนรู้
 
จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6จุดเน้นที่ 6
จุดเน้นที่ 6
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
การจัดการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
นำเสนอ Aec
นำเสนอ Aecนำเสนอ Aec
นำเสนอ Aec
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Aec
AecAec
Aec
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสารเทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
เทคโนโลยีนวัตกรรมและการสื่อสาร
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสารเทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
เทคโนโลย นว ตกรรมและการส__อสาร
 

Viewers also liked

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าDueansc
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศKru.Mam Charoensansuay
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 

Viewers also liked (6)

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้าการสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
การสอนแบบจัดมโนมติล่วงหน้า
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 

Similar to มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา

งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2Warakon Phommanee
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"Wichit Chawaha
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techWichit Chawaha
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6Bee Bie
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictsarayuttong
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictnamyensudarat
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 

Similar to มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
ใบความรู้แผนที่ 2
ใบความรู้แผนที่  2ใบความรู้แผนที่  2
ใบความรู้แผนที่ 2
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
cai
cai cai
cai
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Ict
IctIct
Ict
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษาเทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
เทคโนโลย นว ตกรรมและส__อการศ_กษา
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ictนวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
นวัตกรรม แบบสำรวจแนวโน้มการใช้ Ict
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 

มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา

  • 1. มโนทัศน์ของเทคโนโลยีการศึกษา +โพสต์เมื่อวันที่ : 2 ก.ค. 2551 ..... เทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นการขยายแนวคิดเกี่ยว กับโสตทัศน์ศึกษาให้กว้างขวาง ยิงขึ้น ทั้งนีเนื่องจากโสต ่ ้ ทัศนศึกษาหมายถึง การศึกษาเกี่ยวกับการใช้ตาดูหูฟัง ดัง นั้นอุปกรณ์ในสมัยก่อนมักเน้นการใช้ประสาทสัมผัส ด้าน การฟังและการดูเป็นหลัก จึงใช้คำาว่าโสตทัศนอุปกรณ์ หรือโสตทัศนูปกรณ์เทคโนโลยีทางการศึกษามีความ หมายที่กว้างกว่า ซึ่งอาจพิจารณาจากความคิดรวบยอด ของเทคโนโลยีได้เป็น 2 ประการ ดังนี้ 1.2.1 ความคิดรวบยอดทางวิทยาศาสตร์กายภาพ หมายถึง การประยุกต์วิทยาศาสตร์กายภาพ ในรูปของสิ่ง ประดิษฐ์ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์โทรทัศน์ ฯลฯ มาใช้ สำาหรับการเรียนรู้ของนักเรียนเป็นส่วนใหญ่ การใช้เครื่อง มือเหล่า มักคำานึงถึงเฉพาะการควบคุมให้เครื่องทำางาน เน้นเรื่องวัสดุ อุปกรณ์ มากกว่าจะคำานึงถึงจิตวิทยาการ เรียนรู้ โดยเฉพาะเรื่องความแตกต่างระหว่างบุคคลและการ เลือกสื่อให้ตรงกับเนื้อหาวิชา
  • 2. 1.2.2 ความคิดรวบยอดทางพฤติกรรมศาสตร์ หมาย ถึง การนำาวิธีการทางจิตวิทยา มานุษยวิทยา กระบวนการ กลุ่ม ภาษา การสื่อความหมาย การบริหาร เครื่องยนต์ กลไก การรับรู้มาใช้ควบคู่กับผลิตกรรมทางวิทยาศาสตร์ และวิศวกรรม เพื่อให้ผเรียนเปลี่ยนพฤติกรรมการเรียนรู้ ู้ อย่างมีประสิทธิภาพซึ่งจะเน้นเรื่องเทคนิคทีเป็นวิธีการ ่ และกระบวนการเรียนการสอนมากกว่าวัสดุ และเครื่องมือ
  • 3. พื้นฐานมโนทัศน์เกี่ยวกับ ETC Mar 12, '09 บทนำา ในสภาวะปัจจุบันทั่วโลกให้ความสำาคัญกับ การลงทุนทางเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Information and Communication Technology : ICT) เพื่อนำามาใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศทั้งด้าน เศรษฐกิจ สังคม และการศึกษา ในยุคของการปฏิรูปการ ศึกษา เราเร่งพัฒนาการศึกษาให้การศึกษาไปพัฒนา คุณภาพของคน เพื่อให้คนไปช่วยพัฒนาประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) จึงเป็นเครื่อง มือที่มีพลานุภาพสูงในการช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของการ จัดการศึกษา เช่น ช่วยนำาการศึกษาให้เข้าถึงประชาชน (Access) ส่งเสริมการเรียนรู้ต่อเนื่องทั้งในและนอกระบบ โรงเรียน การเรียนรู้ตามอัธยาศัย ช่วยจัดทำาข้อมูล สารสนเทศเพื่อการบริหารและจัดการ ช่วยเพิ่มความ รวดเร็วและแม่นยำาในการจัดทำาข้อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูล การเก็บรักษา และการเรียกใช้ในกิจกรรมต่าง ๆ ใน งานจัดการศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้เทคโนโลยี เพื่อช่วยการเรียนการสอน แนวคิดของ ECT ETC (Education Technology and Communication) แปลเป็นภาษาไทย คือ เทคโนโลยีและ สื่อสารการศึกษา เป็นศาสตร์ที่ว่าด้วยการนำาเอา เทคโนโลยีมาใช้ในการสื่อสารเพื่อการศึกษา โดยเน้น การนำาหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้เพื่อการ ออกแบบและส่งเสริมระบบการเรียนการสอน เน้นที่
  • 4. วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่สามารถวัดได้อย่างถูกต้อง แน่นอน มีการยึดหลักผูเรียนเป็นศูนย์กลางการเรียน ้ มากกว่ายึดเนื้อหาวิชามีการใช้การศึกษาเชิงปฏิบัติโดย ผ่านการวิเคราะห์และการใช้โสตทัศนูปกรณ์รวมถึงเทคนิค การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อื่น ๆ ขอบข่ายของ ETC ในปัจจุบันได้มาจากการประยุกต์องค์ความรู้ทาง ด้าน ICT เพื่อการบริหารจัดการ การพัฒนา การ ออกแบบโมเดลต่างๆที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ดังเห็นได้จาก การให้ความสนใจกับการใช้เทคโนโลยีช่วยการเรียนรู้ของ ผู้เรียน การส่งเสริมความพร้อมทางระบบคอมพิวเตอร์ การ มีเครือข่ายเชื่อมโยงเข้าอินเทอร์เน็ตได้โดยสะดวก ผู้เรียน จึงมีโอกาสเรียนรู้การใช้เทคโนโลยี และมีโอกาสใช้ได้เต็ม ที่ ETC ในการศึกษาต่างประเทศ และการศึกษาไทยใน ปัจจุบัน ประเทศไทยส่วนใหญ่เรารับปรัชญาและระบบ วิธีการจัดการศึกษามาจากต่างประเทศ รวมไปถึงการรับ เอาเทคโนโลยีและระบบการสื่อสาร มาเป็นเครื่องมือช่วย ในการเรียนการสอน ทำาให้ลักษณะมีความคล้ายคลึงกับ ต่างประเทศในส่วนหนึ่ง และสามารถแบ่งการใช้ ETC ในลักษณะ 3 ประการ คือ 1. การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยี (Learning about Technology) ได้แก่เรียนรู้ระบบการทำางานของ คอมพิวเตอร์ เรียนรู้จนสามารถใช้ระบบคอมพิวเตอร์ได้ ทำา ระบบข้อมูลสารสนเทศเป็น สื่อสารข้อมูลทางไกลผ่าน Email และ Internet ได้ เป็นต้น
  • 5. 2. การเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยี (Learning by Technology) ได้แก่การเรียนรู้ความรู้ใหม่ ๆ และฝึกความ สามารถ ทักษะ บางประการโดยใช้สื่อเทคโนโลยี เช่น ใช้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) เรียนรู้ทักษะใหม่ ๆ ทาง โทรทัศน์ที่ส่งผ่านดาวเทียม การค้นคว้าเรื่องที่สนใจผ่าน Internet เป็นต้น 3. การเรียนรู้ไปกับเทคโนโลยี (Learning with Technology) ได้แก่การเรียนรู้ด้วยระบบการสื่อสาร 2 ทาง (interactive) กับเทคโนโลยี เช่น การฝึกทักษะภาษากับ โปรแกรมที่ให้ข้อมูลย้อนกลับถึงความถูกต้อง (Feedback) การฝึกการแก้ปัญหากับสถานการณ์จำาลอง (Simulation) เป็นต้น ในเรื่องของความต่างจะพบว่า จากลักษณะ 3 ประการข้างต้นนักการศึกษาไทยจำาเป็นจะต้องมี วิจารณญาณแยกแยะจุดเด่นจุดอ่อนในวิธีการจัดการศึกษา รู้จักนำาแนวคิดมาดัดแปลงให้เข้ากับภูมิปัญญาไทยและ วัฒนธรรมการจัดการศึกษาของไทย ทังในเรื่องของพื้น ้ ฐานทางสังคม ประวัติศาสตร์ความเป็นมา และวัฒนธรรมที่ มีความแตกต่างกัน ควรพิจารณาถึงความเหมาะสมตาม บริบทของสังคมไทย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพให้กับการใช้ เทคโนโลยีให้มีขีดความสามารถสูงสุด ในบางครั้งการที่ เรานำาความรู้มาแต่เฉพาะเปลือกนอกอาจก่อให้เกิดความ เสียหายได้ หรือทำาให้การจักการศึกษาไม่ประสบผล สำาเร็จเท่าที่ควร แนวคิดเกี่ยวกับ ETC ตามหลักสังคม ปัจจุบันซึ่งเป็นยุคโลกาภิวัฒน์วิทยาการต่างๆ ได้พัฒนาการก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว การ
  • 6. เรียนรู้ของผู้คนไม่อาจจะหยุดนิ่ง แม้ผู้จบการศึกษาใน ระดับอุดมศึกษาแล้วก็ยังมีความจำาเป็นต้องศึกษาหาความรู้ อยู่เสมอที่เรียกว่า การศึกษาตลอดชีวิตเพื่อให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงทางวิชาการของโลกและปรับตัวให้ทันต่อการ เปลี่ยนแปลงนั้น อีกทั้งนโยบายกระจายโอกาสและความ เสมอภาคในการศึกษา เป็นองค์ประกอบสำาคัญในการนำา ความรู้ทางด้าน ECT มาใช้ในการสร้างเครือข่ายทาง วิชาการและเครือข่ายสารสนเทศ เพื่อให้ประชาชนทุก ระดับอาชีพ อายุ ได้มีโอกาสพัฒนาตนเองให้มีความรู้ ความสามารถ มีคณภาพและมีสมรรถนะในการต่อสู้กับ ุ สภาวะทางเศรษฐกิจและสังคมของชาติต่างๆ แนวคิดเกี่ยวกับ ETC ตามกฎหมาย จากพระราชบัญญัติการศึกษา ปี พ.ศ. 2542 จะ เห็นได้ว่า กฎหมายให้ ความสำาคัญแก่การจัดการศึกษานอกระบบ และการศึกษา ตามอัธยาศัยมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจะเน้นการศึกษา รายบุคคล มวลชน และผู้ด้อยโอกาสทั้งหลาย ซึงแน่นอน ่ การนำาเทคโนโลยีการศึกษาย่อมเข้ามามีส่วนเกี่ยวข้อง อย่างเลี่ยงไม่ได้ เทคโนโลยีการศึกษาในอนาคตจะผูก ติดกับพระราชบัญญัติการศึกษา และนับวันจะมีบทบาทยิ่ง ขึ้น ดังจะพบว่าพระราชบัญญัติการศึกษาให้ความสำาคัญแก่ เทคโนโลยีการศึกษา โดยกำาหนดไว้ในหมวดที่ 9 ว่าด้วย เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาระบุไว้ 7 มาตรา ดังนี้ มาตรา 63 รัฐต้องจัดสรรคลื่นความถี่ สื่อตัวนำาและ โครงสร้างพื้นฐานอื่นที่จำาเป็นต่อการส่งวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ วิทยุโทรคมนาคม และการสื่อสารในรูปอื่น เพื่อใช้ประโยชน์สำาหรับการศึกษาในระบบ การศึกษานอก
  • 7. ระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การทะนุบำารุงศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรมตามความจำาเป็น มาตรา 64 รัฐต้องส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการผลิต และพัฒนาแบบเรียน ตำารา หนังสือทางวิชาการ สื่อสิ่ง พิมพ์อื่น วัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอื่น โดยเร่งรัด พัฒนาขีดความสามารถในการผลิต จัดให้มีเงิน สนับสนุนการผลิตและมีการให้แรงจูงใจแก่ผู้ผลิต และ พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ทั้งนี้ โดยเปิดให้มีการ แข่งขันโดยเสรีอย่างเป็นธรรม มาตรา 65 ให้มีการพัฒนาบุคลากรทั้งด้านผู้ผลิต และ ผู้ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้มีความรู้ ความ สามารถ และทักษะในการผลิต รวมทังการใช้เทคโนโลยีที่ ้ เหมาะสม มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มีการวิจัยและ พัฒนา การผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลการใช้ เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ทคุ้มค่าและ ี่ เหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของคนไทย มาตรา 68 ให้มีการระดมทุน เพื่อจัดตั้ง กองทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาจากเงินอุดหนุน ของรัฐ ค่าสัมปทาน และผลกำาไร ที่ได้จากการดำาเนิน กิจการสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ และ โทรคมนาคมจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ทังภาครัฐ ภาค ้ เอกชน และองค์กร ประชาคม รวมทั้งให้มีการลดอัตราค่า บริการเป็นพิเศษในการใช้เทคโนโลยีดังกล่าวเพื่อพัฒนา คนและสังคม หลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรเงินกองทุนเพื่อ การผลิต การวิจัยและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ให้เป็นไปตามกำาหนดในกฎกระทรวง
  • 8. มาตรา 69 รัฐต้องจัดให้มีหน่วยงานกลางทำา หน้าที่พิจารณาเสนอนโยบาย แผน ส่งเสริม และประสาน การวิจัย การพัฒนา และการใช้ รวมทั้งการประเมินคุณภาพ และประสิทธิภาพของการผลิต และการใช้เทคโนโลยีเพื่อ การศึกษา เทคโนโลยีอย่างหนึ่งทีเข้ามามีบทบาทอย่าง ่ กว้างขวางต่อการเรียนการสอนในปัจจุบันและจะมีบทบาท ต่อการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้นในอนาคตก็คือ การนำาระบบ การสื่อสารอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการเรียนการสอน เมื่อไม่ นานมานี้ครูได้รับการยอมรับว่าเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้แต่ เพียงผู้เดียวในห้องเรียน แต่ปัจจุบันเรามีการสอนโดยใช้ โทรทัศน์ หรือวิทยุกระจายเสียง ระบบไมโครเวฟ (Microwave) ระบบดาวเทียมและระบบวงจรปิด เช่น โทรทัศน์วงจรปิดหรือโทรศัพท์มาใช้ประกอบ หรือใช้เป็น สื่อแทนครู แนวโน้ม ETC ในอนาคต แนวโน้มการใช้ ETC ในอนาคตจะพบว่า จะ มีการให้ความสำาคัญกับการจัดการศึกษานอกระบบ และ การศึกษาตามอัธยาศัยมากขึ้น เน้นเรื่องการใช้เทคโนโลยี ที่ทันสมัย และเน้นเรื่องการศึกษาเป็นรายบุคคล การ ศึกษาเพื่อมวลชน และการศึกษาเพื่อคนด้อยโอกาส โดย ผ่านช่องทางในการสื่อสารในหลายรูปแบบ เป็นการขจัด ข้อจำากัดของกาลเวลา และระยะทาง ส่งผลให้การแลก เปลี่ยนข่าวสารข้อมูลเกิดได้ในทุกเวลา และทุกสถานที่ ซึง่ จากวิวัฒนาการนี้เองได้ก่อให้เกิดรูปแบบการจัดการศึกษา แบบใหม่ที่มีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เป็นเครือข่ายสารสนเทศเพื่อพัฒนาการศึกษา
  • 9. แนวโน้มของรูปแบบการจัดการศึกษา จะมีลักษณะดัง ต่อไปนี้ (สุภาณี เส็งศรี, 2543) 1. จัดการเรียนการสอนตามความพร้อมแบบไม่ จำากัดเวลา สถานที่ โดยเน้นปริมาณแต่คำานึงถึงคุณภาพ เพื่อมาตรฐานการศึกษา 2. ปฏิรูปการเรียนรู้โดยมุ่งจัดการเรียนการสอนที่ เน้นผู้เรียนเป็นสำาคัญ 3. มุ่งพัฒนา จัดหา และส่งเสริมการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนการสอนทาง ไกล เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าถึงแหล่งวิทยาการอย่าง อิสระ 4. ลดข้อจำากัดทางการศึกษาโดยเฉพาะมุ่งเน้น ความเท่าเทียมทางการศึกษาในทุกชุมชนและส่งเสริมให้ผู้ เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้จากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งลดปัญหา การขาดผู้สอนซึ่งมีความรู้ความสามารถ 5. เน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม มีระเบียบ วินัย และรับผิดชอบต่อสังคม 6. สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กร/สถาบันต่าง ๆ เพื่อแลกเปลี่ยนวิชาการทั้งระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และ นานาชาติ ทำาไมต้องใช้ ETC
  • 10. ความจำาเป็นของ ETC ทีมีต่อระบบสังคมใน ่ ปัจจุบันทำาให้เห็นว่ามีความสอดคล้องกับรูปแบบการ บริหารจัดการเรียนการสอน ปรัชญาทางการศึกษาและ ตอบสนองต่อการพัฒนาในอนาคต ดังนั้นเราจะพบว่า แนวคิดและกระบวนการในการจัดระบบความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล ชุมชน ตลอดจนองค์กร เกื้อกูล และเชื่อมโยงกันที่ช่วยแลกเปลี่ยนความรู้ เครือข่ายการ เรียนรู้จึงเป็นกระบวนการหรือกลไกที่ก่อให้เกิดกระบวนการ เรียนรู้โดยการแบ่งปันความรู้และประสบการณ์ ลักษณะ หรือรูปแบบของเครือข่ายการเรียนรู้ไม่มีกฎเกณฑ์หรือหลัก เกณฑ์ตายตัว ประชาชนต้องเรียนรู้จากกันและกัน จาก ความรู้ที่ได้จากที่อื่น แล้วขยายความรู้ให้ผู้อื่นทราบด้วย เป็นการช่วยให้เกิดการศึกษาที่หลากหลายสอดคล้องกับ ความต้องการของบุคคล ในวิถีการดำารงชีวิตของมนุษย์มี กระบวนการเรียนรู้เกิดขึ้นตลอดเวลา โดยเรียนรู้จาก ประสบการณ์ สิ่งแวดล้อม และบุคคลรอบข้างขณะเดียวกัน ก็ได้มีการจัดระบบการเรียนรู้ และการถ่ายทอดให้สมาชิก ในสังคมด้วยวิธีการต่างกัน ECT จึงเป็นเครื่องมือที่มี ประโยชน์มหาศาลที่ตอบรับกับความเป็นอยู่ของผู้คนใน ปัจจุบัน
  • 11. ความหมายของเทคโนโลยีการศึกษา · ดร.สุพิทย์ กาญจนพันธุ์ Ph.D. รองศาสตราจารย์ บัณฑิตวิทยาลัยศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ Ph.D. (Educational Media&Technology).University.of Missouri- Clumbia,U.S.A ****************************************** *************************************** ความเป็นมา มนุษย์มีลักษณะโดดเด่นด้วยความสามารถในการเรียนรู้ จากประสบการณ์ของตนเอง มีการถ่ายทอดสติปัญญาไปสู่รุ่นลูก หลานสืบต่อกันไป การเรียนรู้และการสืบสานทางวัฒนธรรมดังกล่าว ส่วนมากเกิดขึ้นตามธรรมชาติ ไม่มีการวางแผนหรือโครงสร้างที่ แน่นอน เมื่อเวลาล่วงเลยไปสังคมมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งขึ้น การ จัดรูปแบบทาง สังคมจึงมีการจัดสรรเป็นรูปแบบเฉพาะ เช่น กลุ่ม ความสามารถเชิงช่าง โรงเรียน สถาบันการศึกษารูปแบบอื่นๆ เพื่อ ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ด้วยกันได้พัฒนาทักษะ และความรู้จำาเป็นต่อ การมีชีวิตรอด และการพัฒนาสู่ความรุ่งเรืองต่อไป ประวัติศาสตร์อันยาวนานของการจัดองคาพยพของ การศึกษา และการฝึกอบรมผ่านอุปสรรคนานานัปการเพื่อสร้างและ
  • 12. ขยายโอกาสสำาหรับมนุษย์เพิ่มขึ้น ช่วยให้เรียนรู้ได้ดีกว่าการเรียนรู้ จากเหตุการณ์ในชีวิตธรรมดาทั่วไป สถาบันเพื่อการศึกษา และการ ฝึกอบรมพยายามปรับเปลี่ยนกิจกรรมเพื่อช่วยให้มนุษย์ทั้งรายบุคคล และรายกลุ่มสามารถเรียนรู้ได้ดีขึ้นทั้งในห้องเรียน หรือจากการเรียน ทางไกล คำาว่า “การศึกษา” หรือ “education” หมายถึง กิจกรรมหรือแหล่งทรัพยากรทั่วๆไปที่สนับสนุนการเรียนรู้ คำาว่า “การเรียนการสอน” หรือ “instruction” หมาย ถึง การจัดรูปแบบของกิจกรรมที่ มุ่งไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตั้งไว้โดยบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้เรียน ดังนั้น คำาว่า “การศึกษา” จึงไมได้ได้ขีดวงไว้เฉพาะ ในสถาบันการศึกษาเท่านั้น ทังนี้รวมถึงข้อแนะนำาของพ่อแม่ต่อลูก ้ ความรู้และทัศนคติจากสื่อสารมวลชน หรืออิทธิพลทางวัฒนธรรม ใดๆที่มีต่อสมาชิกในสังคม การอ่านหนังสือในห้องสมุด หรือการเล่น อินเทอร์เน็ตด้วยตนเอง จึงสามารถจัดเป็นกิจกรรมทางการศึกษาได้ ด้วย กิจกรรมการสอน หมายถึง กิจกรรมที่จัดโดย บุคคล หรือสิ่งอื่นใดนอกจากผู้เรียนเพื่อนำาพาผู้เรียนไปสู่จุดหมาย โดยวิธีการจำาเพาะหนึ่งๆ เช่น การอ่านหนังสือในบทเรียนที่ครูกำาหนด ให้ การสืบค้นอินเทอร์เน็ตเพื่อหาข้อมูลประกอบงานที่ครูมอบหมาย กิจกรรมดังกล่าวสามารถเป็นได้ทั้งการศึกษา และการเรียนการสอน สถาบันการศึกษาระดับต่างๆ เช่น โรงเรียน วิทยาลัย บริษัทจัดฝึก อบรมพยายามจัดสิ่งเกื้อหนุนอื่นๆ เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียน อันเป็นเป้าหมายหลักของสถาบัน เช่น การจัดอาคารสถานที่ สิ่ง แวดล้อมช่วยอำานวยความสะดวกต่อการเรียนรู้ บางแห่งจัดยาน พาหนะให้สำาหรับการเดินทางไปกลับจากสถาบัน บางแห่งเปิด โอกาสให้เรียนแบบทางไกล โอกาสการเข้าถึงบุคคลอื่นๆ สารสนเทศ และอุปกรณ์อื่นๆ สถาบันดังกล่าว มักสร้างแรงจูงใจด้วยเกรดหรือ ระบบติชม จัดบริการสนับสนุนผู้สอน และช่วยพัฒนาด้านวิชาชีพ
  • 13. อาจกล่าวได้ว่า บางครั้งสถาบันเหล่านี้ประกอบกิจกรรมอื่นๆ ที่ไม่ เกี่ยวข้องโดยตรงกับการศึกษา หรือการเรียนการสอน ซึ่งถือว่าเป็น หน้าที่หลักของสถาบันเหล่านั้น และสามารถช่วยนำาไปสู่การเรียนรู้ นั่นเอง จุดมุ่งหมายการเรียนรู้ในสถาบันการศึกษา อาจ เกิดขึ้นจากสถาบัน และผูเรียนร่วมกัน มักมีลักษณะยุ่งยากซับซ้อน ้ ครูผู้สอนจึงคิดวิธีการใหม่ๆ เพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้ง่ายกว่า แน่นอน กว่า และราคาถูกกว่าวิธีการที่ผ่านมา วิธีการบางอย่างดังกล่าวอาจจัด เป็น “เทคโนโลยี” ซึ่งหมายถึง การประยุกต์หลักการทาง วิทยาศาสตร์ หรือองค์ความรู้ใดๆ เพื่อนำาไปสู่จุดหมายปลายทางได้ (John Kenneth Galbraith, 1967 : 12) วิธีการดังกล่าวอาจรวมถึง อุปกรณ์ (hard technology) หรือวัสดุ หรือซอฟท์แวร์ (soft technology) อื่นๆ กาลเวลาที่เปลี่ยนไปก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง และความท้าทายต่อทฤษฎีและแนวปฏิบัติของเทคโนโลยีการศึกษา ความเข้าใจแนวใหม่ต่อกระบวนการเรียนรู้ของมนุษย์ และธรรมชาติ การเรียนรู้ของมนุษย์ท้าทายให้นักการศึกษาได้ทบทวนแนวคิดเกี่ยว กับวิธีการสอนรูปแบบต่างๆ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร (ICT : Information and Communication Technology) ได้ปรับเปลี่ยนและขยายโอกาสการสนับสนุนการเรียน รู้ในห้องเรียน และการเรียนจากทางไกลเพิ่มขึ้น แหล่งเรียนรู้มี ลักษณะเป็นดิจิทัลเพิ่มขึ้น ค่าใช้จ่ายในการเข้าถึงลดลง ส่งกระจาย สารสนเทศได้ง่ายขึ้น สิ่งเหล่านี้ท้าทายแนวคิดเกี่ยวกับการสร้าง การ จัดเก็บ และการใช้แหล่งความรู้แบบดั้งเดิม ทำาให้เกิดบริบทของการ คิดใหม่ๆ เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา โครงการของ AECT เพื่อ กำาหนดกรอบที่เหมาะสมของเทคโนโลยีการศึกษาจึงจัดให้มีขึ้นเพื่อ ให้ทันกับเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป นิยามของเทคโนโลยีการศึกษา
  • 14. กรอบแนวคิดเกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษามีการปรับ เปลี่ยนตลอดเวลา นับแต่มีสาขาวิชานี้บังเกิดขึ้นเรื่อยมาและดำาเนิน ต่อไป ดังนั้นกรอบแนวคิดปัจจุบันจึงมีลักษณะชั่วคราวเท่านั้น เทคโนโลยีการศึกษา สามารถนิยามได้ในลักษณะมโนทัศน์เชิง นามธรรม หรือในลักษณะการ ฝึกปฏิบัติ ก. นิยามในลักษณะมโนทัศน์เชิงนามธรรม “เทคโนโลยีการศึกษา เป็นการศึกษา และการ ปฏิบัติอันดีงามเพื่อเกื้อกูลการเรียนรู้ และช่วยให้การปฏิบัติดีขึ้น โดย การสร้างสรรค์ การใช้ประโยชน์ และการจัดหาแหล่งทรัพยากร และ กระบวนการทางเทคโนโลยีที่เหมาะสม” “ Educational technology is the study and ethical practice of facilitating and improving performance by creating , using , and managing appropriate technological processes and resources” องค์ประกอบของนิยาม คำาหลักๆ ที่นำามาใช้ในการนิยามคำาว่า เทคโนโลยีการ ศึกษา มีความหมายและรายละเอียดจำาเพาะดังนี้ ก. ศึกษา (study) ศึกษา หมายถึง ความเข้าใจในเชิงทฤษฎี และปฏิบัติ เกี่ยวกับเทคโนโลยีการศึกษา โดยอาศัย การสร้างสรรค์องค์ความรู้ และการปรับปรุงความรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วย
  • 15. วิธีการวิจัย และการฝึกปฏิบัติการตามหลักการที่ค้นพบ สิ่งเหล่านี้ คล้องจองกับคำาว่า “ศึกษา” เพราะคำาว่า “ศึกษา” เป็นการรวบรวม สารสนเทศ และนำามาวิเคราะห์ซึ่งกระทำามากเกินกว่าวิธีการวิจัยแบบ ดั้งเดิม มีขอบเขตครอบคลุมถึงการวิจัยเชิงปริมาณ และคุณภาพ และ รูปแบบของการสืบค้นแบบอื่นๆ เช่น การตั้งทฤษฎี การวิเคราะห์เชิง ปรัชญา การสืบค้นเชิงประวัติศาสตร์ การพัฒนาโครงการ การ วิเคราะห์ข้อบกพร่อง การวิเคราะห์ระบบ และการประเมิน ความหมายของการวิจัย โดยทั่วไป หมายถึงทั้งการ สร้างแนวคิดใหม่ๆ และกระบวนการประเมินเพื่อช่วยให้การปฏิบัติการ ดีขึ้น การวิจัยสามารถกระทำาได้อย่างหลากหลายตามหลักและ โครงสร้างทฤษฎี หรือหลักและโครงสร้างที่ขัดแย้งกับทฤษฎี การ วิจัยของเทคโนโลยีการศึกษา กำาเนิดจาก ความพยายามจะพิสูจน์ว่า สื่อและเทคโนโลยีมีประสิทธิผลต่อการเรียนรู้อย่างไร สร้างสรรค์การ สืบสวน สอบสวน และอธิบายรายละเอียดของกระบวนการและ เทคโนโลยีว่าจะมีการใช้งานอย่างเหมาะสมอย่างไร จึงจะช่วยการ เรียนรู้ได้เพิ่มขึ้น การวิจัยเทคโนโลยีล่าสุด เป็นการใช้สิ่งแวดล้อมจริง รวมถึงความคิดเห็นของนักปฏิบัติ และผู้วิจัยเอง การวิจัยในอดีตมักมี ลักษณะซำ้าซากล้าสมัย การวิจัยมุ่งสู่การแก้ปัญหาโดยการสืบค้นหา วิธีการแก้ไข ความพยายามดังกล่าวนำาไปสู่แนวปฏิบัติใหม่ๆ รวมทัง ้ ปัญหาและคำาถามใหม่ๆ แนวคิดเกี่ยวกับการปฏิบัติจากหลักทฤษฎี และการสืบค้นหาความรู้จากเหตุการณ์จริงส่งผลทางบวกและมีคณค่า ุ ต่อการวิจัยโดยตรง นักปฏิบัติเหล่านี้จะพิจารณาปัญหาจากสภาพ แวดล้อมของตนเอง (เช่น ปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียนของตนเอง) และใช้ความพยายามแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนแปลงแนวปฏิบัติ ตาม ผลการวิจัย และประสบการณ์วิชาชีพของตนเอง การกระทำาดังกล่าว จะนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงในวิธีการแก้ปัญหา และความพยายามใน การระบุและแก้ไขปัญหาในสภาพแวดล้อมของตนเอง วัฏวิธี (cyclical process) ของการปฏิบัติ/การประเมิน สามารถนำาไปสู่แนว ปฏิบัติที่ดีขึ้นได้ (Schon, 1990)
  • 16. การวิจัยเทคโนโลยีการศึกษาที่ผ่านมา มักเป็นการ สำารวจตรวจสอบเทคโนโลยีใหม่ๆ สืบค้นหาวิธีการออกแบบพัฒนา การใช้ประโยชน์และการจัดการที่ดีที่สุด ต่อมาการวิจัยได้รับอิทธิพล จากทฤษฎีและแนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ การจัดการสารสนเทศ และ สาขาวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง เช่น ทฤษฎีพุทธิพิสัยนิยม และสรรคนิยม (constructivism) ทำาให้เปลี่ยนแนวคิดจากการสอน (teaching) เป็นการเรียนรู้ (learning) เอาใจใส่ต่อมุมมอง ความชอบของผู้เรียน ในฐานะเจ้าของของกระบวนการเรียนรู้เพิ่มขึ้น การปรับเปลี่ยนทฤษฎีดังกล่าว ส่งผลกระทบต่อ เทคโนโลยีการศึกษาอย่างมหาศาล จากสาขาวิชาที่มุ่งออกแบบการ เรียนการสอนในลักษณะนำาส่ง (delivered) ความรู้ในหลากหลายรูป แบบ (ทังเทคโนโลยีและกลยุทธ์) ไปเป็นสาขาวิชาที่เน้นการ ้ สร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้ผเรียนได้ลงมือสำารวจตรวจสอบด้วย ู้ ตนเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระบบต่างๆ การวิจัย จึงเปลี่ยนไปเป็นการเฝ้าสังเกต การมีส่วนร่วม และการสร้างสรรค์ อย่างจริงจังของผู้เรียนในกระบวนการเรียนรู้ กล่าวคือ การวิจัยได้ปรับ เปลี่ยนการออกแบบจากวิธีการเรียนการสอนทั่วไปไปเป็นการ ออกแบบสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ข. การปฏิบัติอันดีงาม (ethical practice) คณะกรรมการว่าด้วยจริยธรรมของ AECT (AECT Ethics Committee) ได้กำาหนดแนวปฏิบัติด้านจริยธรรม หรือการ ปฏิบัติที่ถูกต้องดีงาม โดยเฉพาะการใช้สื่อ และการเคารพต่อ ทรัพย์สินทางปัญญา จริยธรรมดังกล่าวไม่มุ่งเน้นเฉพาะ กฎกติกา และความคาดหวัง แต่เน้นวิธีการปฏิบัติด้วย ในความเป็นวิชาชีพของเทคโนโลยีการศึกษา ผู้ปฏิบัติจะต้องตรวจ สอบตนเองอยู่เสมอว่า ได้ปฏิบัติถูกต้องดีงามตามหลักจริยธรรมหรือ ไม่ การออกแบบการสอนแบบเดิม หรือการออกแบบสิ่งแวดล้อมที่ เอื้อต่อการเรียนรู้ จะต้องคำานึงถึง ความดีงามของสังคมรวมเข้าไว้ ด้วยกันเสมอ ดังนั้น การออกแบบระบบการเรียนรู้แบบใหม่จึงต้องรู้ว่า
  • 17. เกี่ยวข้องกับใครบ้าง ใครสนับสนุน ใครมีอำานาจบ้าง เป็นต้น หลักปฏิบัติตามจริยธรรมของ AECT คือ การให้ความช่วยเหลือ สมาชิกเป็นรายบุคคล และรายกลุ่มเพื่อคงไว้ซึ่งการปฏิบัติการเชิง วิชาชีพในระดับสูง (Welliver, 2001) หลักปฏิบัตของ AECT แบ่งออกเป็น 3 หมวด คือ ิ หมวดหนึ่ง : พันธะสัญญาต่อเอกัตบุคคลเกี่ยวกับสิทธิใน การเข้าถึง และใช้งานแหล่งข่าวสารปกป้องความสมบูรณ์ และความ ปลอดภัยของวิชาชีพ หมวดสอง : พันธะสัญญาต่อสังคม เช่น แสดงข้อเฑ็จจริง ทางการศึกษาที่ถูกต้อง และเป็นธรรม มีการปฏิบัติต่อผู้เข้ารับการ ศึกษาอย่างเสมอภาค หมวดสาม : พันธะสัญญาต่อวิชาชีพ เช่น การเพิ่มพูน ความรู้และทักษะทางวิชาชีพ การให้เครดิต แก่งาน หรือสิ่งตีพิมพ์ ของคนอื่น หลักปฏิบัติแต่ละข้อจะแสดงรายละเอียด แสดงถึงวิธีการปฏิบัติอันถูก ต้องในแต่ละบริบทและบทบาทของนักเทคโนโลยีการศึกษา แนว พิจารณาดังกล่าวใช้เป็นแนวปฏิบัติสำาหรับนักวิจัย อาจารย์ ที่ปรึกษา นักออกแบบ หัวหน้าแหล่งการเรียนรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมทางวิชาชีพ และแนวปฏิบัติด้านจริยธรรม ค. ความเกื้อกูล (facilitating) แนวคิดของการเรียนรู้และการสอนที่เปลี่ยนไปสะท้อน ให้เห็นอย่างชัดเจนในทฤษฎีด้านพุทธิพิสัยนิยมและสรรคนิยม ทำาให้ สมมุติฐานเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนการสอน (instruction) กับการเรียนรู้ (learning) เปลี่ยนไป ในอดีตเทคโนโลยีการศึกษามองว่า การเรียนการสอนจะ ส่งผลกระทบโดยตรงต่อการเรียนรู้ ตัวอย่าง เช่น ในปี 1963 AECT กล่าวถึง “การออกแบบและการใช้สาร” (messages) ซึ่ง “ควบคุม
  • 18. กระบวนการเรียนรู้” การออกแบบการเรียนการสอน ต่อจากนั้นแสดง ความชัดเจนในการควบคุมกระบวนการน้อยลง แต่ยงคงไว้ว่า “การ ั ออกแบบการเรียนการสอนที่ดี วิธีสอนที่ดีจะส่งผลต่อการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิผล” ปัจจุบันมองว่าผู้เรียนเป็นเจ้าของกระบวนการเรียนรู้ และรับผิดชอบต่อการเรียนรู้มากขึ้น บทบาทของเทคโนโลยีจึงมี ลักษณะเกื้อกูลมากกว่าการควบคุมการเรียนรู้ บทบาทของเทคโนโลยีในยุคของข่าวสารดิจิทัล ซึ่งต้องเรียนรู้ลึกซึ้ง กว้างไกล เทคโนโลยีจึงต้องแสดงเป็นผู้สนับสนุนการเรียนรู้ ในฐานะ เครื่องมือเพื่อเปิดโอกาสให้ผเรียนไว้ค้นหาด้วยตนเองแทนการฝึก ู้ และปฏิบัติ (drill – and – practice) เพื่อควบคุมการเรียนรู้อัน จำาเพาะเจาะจงเช่นทีผ่านมา นักเทคโนโลยีการศึกษาจึงมีหน้าที่ ่ ออกแบบเครื่องมือทางพุทธิพิสัย และสภาพแวดล้อมเพื่อนำาทาง และสร้างโอกาส และช่วยให้ผู้เรียนได้ค้นพบคำาตอบจากข้อสงสัย ของตนเอง ดังนั้นเทคโนโลยีการศึกษาจึงช่วยเกื้อกูล (facilitate) มากกว่าการควบคุม (control) การเรียนรู้ การเกื้อกูล ประกอบด้วย การออกแบบสิ่งแวดล้อม การจัดองคาพยพ ของแหล่งการเรียนรู้ และการจัดหาเครื่องมือต่างๆ ให้ผู้เรียน การ สอนตรงแบบดั้งเดิม (direct instruction) อาจมีความจำาเป็นต่อ การนำาไปสู่วิธีการสอนแบบใหม่ในบางประเด็น หรือบางครั้งอาจใช้ คำาถามแบบปลายเปิดเพื่อนำาไปสู่การเรียนรู้ใหม่ เป็นต้น เหตุการณ์ ของการเรียนรู้ สามารถทำาได้ทั้งรูปแบบเผชิญหน้า หรือสภาวะ แวดล้อมเสมือนจริง ง. การเรียนรู้ (learning) ความหมายของการเรียนรู้ที่ AECT นิยามไว้เมื่อ 40 ปีเศษ กับความเข้าใจในปัจจุบันมีความ แตกต่างกันมาก ระหว่างความหมายของการเรียนรู้ หมายถึง ความ คงทนของสารสนเทศ (retention of information) ที่วัดได้จากการ
  • 19. ทดสอบกับการเรียนรู้ที่ต้องแสวงหาทักษะเพื่อใช้ประโยชน์นอก ห้องเรียน ภารกิจการเรียนรู้ สามารถจัดจำาพวกได้หลายประเภท ขึ้นอยู่ กับศัพทานุกรมที่แตกต่างกัน Perkins 1992) ให้นิยามการเรียนรู้ อย่างง่ายๆ ว่าหมายถึง ความคงทนของสารสนเทศ สามารถวัดได้ จากแบบทดสอบ และพบในโรงเรียน มหาวิทยาลัยทั่วไป การเรียนรู้ ที่เกิดจากการเรียนการสอนด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer – based Instruction) เป็นตัวอย่างที่ดีประเภทหนึ่ง การตั้งจุดประสงค์การ เรียนอาจรวมความเข้าใจ (understanding) เข้าไว้กับความจำา จุดมุง ่ หมายของการเรียนรู้อาจตั้งไว้ในลักษณะท้าชวนคิด (ambitious) ซึ่งต้องใช้ความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้ในเชิงรุก การประเมินการ เรียนรู้ลักษณะนี้จะต้องใช้สถานการณ์จริง หรือสถานการณ์จำาลอง ท้าทายให้ผเรียนเข้ามาจัดเหตุการณ์ ความแตกต่างของการเรียนรู้ทั้ง ู้ สองประเภท อาจเรียกได้ง่ายๆ ว่าเป็นแบบผิวเผิน (surface) กับแบบลุ่มลึก (deep) (Weigel, 2001) การเรียนรู้เพื่อให้เกิดความรู้ระดับสูงเป็นที่รู้จักกันมานาน สถาบันการศึกษาทุกระดับ สถานฝึกอบรมมีความพยายามจะทำาให้ เกิดกิจกรรมดังกล่าวอยู่แล้ว ผู้บริหารทั้งหลายทราบดีว่า การทุ่มเท งบประมาณ และเวลาเพื่อการสอนเน้นให้เกิดความรู้ที่เรียกว่า ความรู้ เฉื่อย (inert knowledge) เป็นการสูญเสียอย่างสิ้นเชิง โดยเฉพาะ การที่ผู้เรียนไมได้นำาความรู้เหล่านั้นมาใช้นอกห้องเรียน นักการ ศึกษาปัจจุบันมักกล่าวถึงการศึกษาในความหมายของการเรียนรู้ที่มี ผลิตผล นำามาใช้เชิงรุกและเป็นการเรียนแบบลุ่มลึก ดังนั้น การเรียนรู้ แบบลุ่มลึกจึงต้องมีวิธีสอนและวิธีการวัดประเมินแตกต่างจากการ เรียนรู้แบบผิวเผิน (surface learning) อย่างแน่นอน จ. ช่วยทำาให้ดีขึ้น (improving) การที่สาขาวิชาชีพใดจะได้รับการยอมรับจากสาธารณชน หรือไม่ สาขาวิชาชีพนั้นต้องพิสูจน์ตนเองว่าสามารถสร้างสรรค์สิ่งดี งามให้เกิดขึ้นกับสังคมอย่างชัดเจน สามารถชี้แนวทางถูกต้องที่นำา
  • 20. ไปสู่เป้าหมายอันทรงคุณค่าได้ ตัวอย่างเช่น พ่อครัวที่จะอ้างว่าเป็น มืออาชีพ พวกเขาต้องปรุงอาหารได้แตกต่างจากบุคคลทั่วไป เช่น น่ารับประทานกว่า ปลอดภัยกว่า มีคณค่าทางอาหารมากกว่า ุ กระบวนการปรุงมีประสิทธิภาพสูงกว่า เป็นต้น ดังนั้น การที่ เทคโนโลยีการศึกษาจะสามารถ “ช่วยให้การกระทำาดีขึ้น” (improve performance) ซึ่งหมายถึง ประสิทธิผลการเรียนรู้ กล่าวคือ กรรมวิธี ดังกล่าวนำาไปสู่ผลิตภัณฑ์ที่มคุณภาพและคาดการณ์ได้ ผลิตภัณฑ์ ี ดังกล่าวก่อให้เกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิผล และคาดการณ์ได้ ก่อให้ เกิดความสามารถและนำาไปใช้ได้ในชีวิตจริง คำาว่า ประสิทธิผล (effectiveness) มีนัยคล้ายกับ ประสิทธิภาพ (efficiency) กล่าวคือ ประสิทธิภาพยึดเอาเป้าหมาย (goal) ของการกระทำาเป็นหลัก เช่น ถ้าต้องการขับรถยนต์จาก กรุงเทพไปจังหวัดนครราชสีมาการเดินทางโดยใช้วงแหวนตะวันออก ตรงไปจังหวัดสระบุรีเลี้ยวขวาเข้าถนนมิตรภาพ เข้าจังหวัด นครราชสีมา เป็นเส้นทางที่มีประสิทธิภาพสูงสุด ถ้าเราตั้งเป้าหมาย ว่าการเดินทางไปจังหวัดนครราชสีมาครั้งนี้ เราจะแวะชมทะเลก่อน การเดินทางจะเปลี่ยนไปเป็น การใช้ถนนมอเตอร์เวย์ – ชลบุรี – นครราชสีมา ซึงมีประสิทธิภาพตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ ่ การออกแบบการเรียนการสอนแบบยึดเอาเป้าหมายทางการ เรียนเป็นหลัก จึงคำานึงถึงประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่วัดได้จากข้อสอบ ที่สร้างจากเป้าหมายที่ตั้งไว้ การออกแบบการเรียนการสอนจึงต้อง จัดให้เป็นระบบชัดเจน ในวิธีการเรียนการสอนแบบสรรคนิยม (constructivist) นัก ออกแบบให้ความสำาคัญกับความ น่าดึงดูดใจของการเรียนการสอนเป็นพิเศษ ส่งเสริมให้ผู้เรียนตั้งเป้า หมาย และวิธีการเรียนได้ด้วยตนเอง การประเมินผลการเรียนในลักษณะนี้มุ่งวัดความรู้และ ประสบการณ์ที่เข้าใจอย่างลึกซึ้ง สามารถนำามาแก้ปัญหาในชีวิตจริง ได้ ซึ่งมีลักษณะตรงข้ามกับการทดสอบการเรียนรู้ที่วัดด้วยแบบ ทดสอบทั่วไป อย่างไรก็ตามการออกแบบการเรียนรู้แบบยึด วัตถุประสงค์การเรียนแบบทั่วไปยังมีความจำาเป็นในกรณีที่มีกรอบ
  • 21. เวลาและทรัพยากรจำากัด ฉ. การปฏิบัติ (performance) การปฏิบัติ หมายถึง ความสามารถของผู้เรียนในการใช้ และ ประยุกต์ความสามารถใหม่ๆที่ได้รับ บทเรียนแบบโปรแกรม (programmed instruction) ยึดแนวทางให้ผู้เรียนต้องปฏิบัติได้ตาม จุดประสงค์ปลายทาง (terminal objectives) หลังการเรียนการสอน จุดประสงค์ปลายทางระบุเหตุการณ์ขณะเรียนหรือฝึกอบรม เพื่อ ทำาการวัดว่าผู้เรียนปฏิบัติได้ดีในระดับใดภายใต้เงื่อนไขที่กำาหนดไว้ ตามข้อเท็จจริงแล้วเทคโนโลยีการศึกษา ไม่สามารถทำาให้การปฏิบัติ ของผู้เรียนดีขึ้น มีประสิทธิภาพสูงขึ้นได้ทุกชนิด ในความหมายของ เทคโนโลยีการปฏิบัติ (performance technology) สถานที่ทำางานมี ปัจจัยอื่นๆ ช่วยให้การปฏิบัติการดีขึ้น นอกเหนือจากการสอนหรือการ ฝึกอบรม เช่น เครื่องมือ เหตุกระตุ้นใจ การปรับเปลี่ยนองค์การ การให้กำาลังใจ การปรับวิธีทำางาน ฯลฯ (Stolovitch and Keeps, 1992) ดังนั้น เทคโนโลยีการปฏิบัติ (performance technology) จึงมีความ หมายกว้างขวางมากกว่าเทคโนโลยีการศึกษา (educational technology) หน้าทีหลัก 3 ประการของเทคโนโลยีการศึกษา คือ การ ่ สร้างสรรค์ (creating) การใช้ประโยชน์ (using) และการจัดการ (managing) หน้าที่เหล่านี้อาจเกิดขึ้นจากหลายๆฝ่ายในเวลาที่แตก ต่างกัน หน้าที่เหล่านี้อาจถือได้ว่าเป็นขั้นตอนหนึ่งของการพัฒนาการ เรียนการสอนร่วมกับการประเมินควบคู่กันไป ช. การสร้างสรรค์ (creating) การสร้างสรรค์ หมายถึง ทฤษฎี ผลการวิจัย และแนวปฏิบัติ ที่รวมอยู่ในกรรมวิธีโครงสร้างของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ในหลาก หลายรูปแบบทั้งแบบในระบบ (formal) และนอกระบบ (informal)
  • 22. การสร้างสรรค์อาจรวมกิจกรรมหลากหลาย ขึ้นอยู่กับวิธีการออกแบบ ที่นำามาใช้ วิธีการออกแบบ มีความแตกต่างหลากหลายขึ้นอยู่กับปัจจัยเกี่ยวข้องกับนักออกแบบ เช่น สุนทรีย์ ความเป็นวิทยาศาสตร์ วิศวกรรม จิตวิทยา กรรมวิธีหรือ วิธีระบบ สิ่งเหล่านี้ จะส่งผลต่อการผลิตวัสดุอุปกรณ์ และเงื่อนไข จำาเป็นต่อการเรียนรู้อันทรงประสิทธิผล วิธีการระบบ (system approach) อาจมีวิธีการเริ่มจาก การวิเคราะห์ (analyzing) ปัญหาการเรียนการสอน ตามด้วยการ ออกแบบและการพัฒนาวิธีการแก้ปัญหา (designing and developing) , ประเมิน (evaluating) และปรับทบทวน (revising) ของแต่ละขั้นตอน และสุดท้ายนำาวิธีการที่ได้มาทดลองใช้ (implementing) การวัดผลและการตรวจสอบในกระบวนการเรียกว่า การประเมินผลระหว่างเรียน (formative evaluation) การประเมิน ผลตอนสิ้นสุดโครงงาน เรียกว่า การประเมินผลหลังเรียน (summative evaluation) คำาถามเพื่อการประเมินพบได้หลายรูปแบบ และขั้นตอน ของการออกแบบการเรียนการสอน ตัวอย่างการตั้งคำาถามเพื่อการประเมิน - การวิเคราะห์ก่อนเรียน (front – end analysis) : ตั้ง คำาถามว่า มีปัญหาสำาหรับการปฏิบัติหรือไม่ อยู่ในกรอบของความ จำาเป็นของการเรียนการสอนหรือเปล่า - ขั้นการวิเคราะห์ผู้เรียน : ตังคำาถามว่า คุณลักษณะของผู้ ้ เรียนเป็นอย่างไร - ขั้นการวิเคราะห์ภารกิจ (task analysis) : ตั้งคำาถามว่า ผู้ เรียนจะต้องมีความสามารถอะไร - ขั้นการออกแบบ : ตังคำาถามว่า จุดประสงค์การเรียนรู้คือ ้ อะไร , โครงสร้างทั่วไปสอดคล้องกับวัตถุประสงค์หรือไม่ , อุปกรณ์ การเรียนการสอนถูกต้องตามหลักการออกแบบสาร (message design) หรือไม่ - ขั้นการพัฒนา : ตั้งคำาถามว่า รูปแบบพื้นฐานสามารถนำาผู้
  • 23. เรียนไปสู่วัตถุประสงค์ได้หรือไม่ - ขั้นการนำาไปใช้ : ตั้งคำาถามว่า วิธีการที่พัฒนาขึ้นได้ถูก นำาไปใช้ได้หรือไม่ ถ้าใช้ทำาได้ถูกวิธีการหรือไม่ ส่งผลกระทบต่อ ปัญหาดั้งเดิมอย่างไร กระบวนการออกแบบและพัฒนาได้รับอิทธิพลจาก เทคโนโลยีระบบแอนะล็อก และดิจิทัลที่นำามาสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อม ทางการเรียนรู้แตกต่างกัน ตัวอย่างการออกแบบการเรียนการสอน ลักษณะครูเป็นหลักจะแตกต่างจากการออกแบบการสอนเกม สถานการณ์จำาลองโดยคอมพิวเตอร์ เป็นต้น สิ่งที่ต้องสร้างสรรค์ขึ้น ไม่ใช่เฉพาะอุปกรณ์การเรียน และสิ่งแวดล้อมทางการเรียนเท่านั้น ยังรวมถึงฐานข้อมูลเพื่อจัดการความรู้ ,ฐานข้อมูลออนไลน์เพื่อการ สำารวจปัญหา , ระบบช่วยเหลืออัตโนมัติ และข้อมูลส่วนตัวของผู้ เรียนเพื่อประกาศ และประเมินผลการเรียนรู้ ซ. การใช้ประโยชน์ (using) การใช้ประโยชน์ หมายถึง ทฤษฎี และแนวปฏิบัติ เกี่ยวข้องกับการนำาผู้เรียนไปสัมผัสกับเงื่อนไขและแหล่งการเรียนรู้ การใช้ประโยชน์เริ่มด้วยการเลือกแหล่งทรัพยากร วิธีการ และวัสดุ อุปกรณ์ที่เหมาะสม อาจเลือกโดยผูเรียนหรือผู้สอน การเลือกที่ ้ ชาญฉลาดขึ้นอยู่กับความสามารถในการประเมินแหล่งทรัพยากร วิธี การและวัสดุอุปกรณ์ว่าสิ่งเหล่านี้เหมาะสมกับผู้เรียนเพียงใด ในการ เรียนการสอนจริง สิ่งเหล่านี้จะพบได้ ในสภาวะแวดล้อมหลาก หลาย จึงต้องมีการวางแผนและใช้งาน (utilization) ภายใต้คำา แนะนำาของครู ถ้าสื่อชนิดนั้น วิธีการนั้นใหม่ต่อการใช้งาน ควรมีการ ทดลองใช้ก่อนทดลองจริง การนำานวัตกรรมการเรียนการสอนมาทำาให้ผู้สอนเกิด ความสนใจ หรือการทำาตลาดของผู้ขาย บางครั้งอาจเรียกลักษณะ การกระทำาเช่นนี้ว่า การซึมผ่าน (diffusion) เมื่อครูยอมรับสิ่งเหล่านี้ เข้ามาใช้ในการเรียนการสอน เรียกว่า การบูรณาการ (integration) เมื่อการบูรณาการเป็นไปอย่างแพร่หลายทั่วทั้งหน่วยงานจะเรียกว่า
  • 24. การทำาให้กลายเป็นพฤติกรรมที่เคยชิน (institutionalization) การจัดการ (managing) ในยุคแรกงานบริการจัดการ เป็นความรับผิดชอบประเภทหนึ่งของวิชาชีพเทคโนโลยีการศึกษา ตัวอย่างเช่น การอำานวยการดำาเนินงานศูนย์โสตทัศนศึกษา เป็นต้น เมื่อการผลิตสื่อ และวิธีการพัฒนาการเรียนการสอนเปลี่ยนแปลงรูป แบบมีขนาดซับซ้อน และกว้างขวางยิ่งขึ้น การบริหารต้องอาศัย ทักษะ การบริหารโครงการเพิ่มขึ้น การศึกษาทางไกลผ่าน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) นักเทคโนโลยีการศึกษาจำาเป็นต้องมีทักษะด้านบริหาร จัดการระบบส่งถ่ายสารสนเทศ การบริหารจัดการย่อยลงไป เช่น การ บริหารบุคลากร และการจัดการสารสนเทศ มีความจำาเป็นต่อการจัด รูปแบบการทำางานของบุคลากร และการวางแผน การควบคุม วิธีการ จัดเก็บ และประมวลผลสารสนเทศ นอกจากนี้ การบริหารจัดการที่ชาญฉลาด จำาต้องมีการ ประเมินโครงการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพ (quality control) ทำาหน้าที่ประเมิน และเฝ้าสังเกตผลการดำาเนินงาน การ ประกันคุณภาพ (quality assurance) ทำาหน้าที่ประเมินเพื่อการ ปรับปรุงกระบวนการบริหารอย่างต่อเนื่อง ผู้ซงทำาหน้าที่บริหารจัดการ อาจเรียกได้ว่าเป็น ผูใช้ภาวะผู้นำา ึ่ ้ (leadership) ผสมผสานกับความเชี่ยวชาญด้านบริหารจัดการ และ แนวปฏิบัติตามหลักจริยธรรมในทุกขั้นตอนของการปฏิบัติการของ เทคโนโลยีการศึกษา ฌ. ความเหมาะสม (appropriate) ความเหมาะสม หมายถึง การนำาวิธีการและทรัพยากรมา ใช้อย่างเหมาะสมลงตัวกับจุดประสงค์ที่วางไว้ คำาว่า เทคโนโลยีที่ เหมาะสม (appropriate technology) พบได้แพร่หลายทั่วโลกใน สาขาการพัฒนาชุมชน หมายถึง เครื่องมือ หรือแนวปฏิบัติที่ง่ายที่สุด ตรงกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างนุ่มนวลมากที่สุด มโนทัศน์ของคำาดัง กล่าวมีที่มาจาก การเคลื่อนไหวเพื่อสิ่งแวดล้อมในยุคปี 1970 คำานี้
  • 25. นำามาใช้ครั้งแรกในหนังสือชื่อ “เล็กแต่สวย” (Smal lis Beautiful) (Schumacher, 1975) ซึงมีความหมายถึง เทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่ ่ เกี่ยวข้องกับผู้ใช้งาน และวัฒนธรรมในท้องถิ่น มีความยั่งยืนตาม สภาพเศรษฐกิจของท้องถิ่นนั้นๆ มาตรฐานวิชาชีพของ AECT ยอมรับว่า ความเหมาะสมมีมิติด้าน จริยธรรมของมันเอง ในหมวด 1.7 ของมาตรฐานวิชาชีพเทคโนโลยี การศึกษา ระบุว่า “ส่งเสริมแนวปฏิบัติอย่างมืออาชีพและทันสมัยใน การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีการศึกษา” หมวด 1.5 กล่าวถึง “การ ใช้วิธีการอย่างมืออาชีพชัดเจนในการประเมินและเลือกวัสดุและ อุปกรณ์” หมวด 1.6 ระบุว่า “บังคับให้นักวิจัย และนักปฏิบัติการ ป้องกันตนเอง จากสภาวะอันตรายต่อสุขภาพและความปลอดภัย” หมวด 1.8 ระบุว่า “บังคับให้หลีกเลี่ยงข้อความที่ก่อให้เกิดความ เข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ เพศ เชื้อชาติ หรือศาสนา” ขณะเดียวกัน จะส่งเสริม การพัฒนาโปรแกรมและสื่อซึ่งเน้นความหลากหลายของ สังคม ว่าเป็นชุมชนหลากหลายวัฒนธรรม หมวด 3 เรียกร้องให้มีการ เปิดโอกาสแสดงทัศนะหลากหลายจากภูมิปัญญา และวัฒนธรรม หลีกเลี่ยงการโฆษณาอย่างบ้าเลือดอันตราย (commercial exploitation) เคารพในกฎหมายลิขสิทธิ์ และทำาการวิจัยหรือปฏิบัติ การโดยการใช้กรรมวิธีตามแนวทางจัดขึ้นโดยกลุ่มมืออาชีพ และ คณะกรรมการของสถาบัน ความเหมาะสมของสื่อ ขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของครูว่า มีความเหมาะ สม และใช้ประโยชน์ได้ตามจุดประสงค์ของการเรียนรู้หรือไม่ เช่น ครู สังคมศึกษาอาจใช้เกมคอมพิวเตอร์สร้างสถานการณ์จำาลอง เหตุการณ์ทางสังคมให้นักเรียนนำามาอภิปราย เป็นต้น ความเหมาะสมบางครั้ง ได้นำามาใช้เป็นระเบียบ กฎเกณฑ์เพื่อการ ตรวจควบคุมหนังสือ หรือวัสดุการเรียนการสอนอื่นๆ โดยใช้เกณฑ์ เกี่ยวกับ การแสดงออกทางเพศอย่างโจ่งแจ้ง ใช้ภาษาไม่สุภาพ หรือ กล่าวร้ายผู้อื่น หรือไม่เหมาะสมกับผู้อ่านบางช่วงอายุ เป็นต้น กล่าวโดยสรุปได้ว่า การเลือกวิธีการและสื่อ ควรใช้หลักการทำาดีที่สุด (best practice) ในสถานการณ์ที่กำาหนดให้ตามหมวด 1.7 ของแนว ปฏิบัติด้านจริยธรรมของ AECT กล่าวเป็นนัยได้ว่า นักวิชาชีพ
  • 26. เทคโนโลยีการศึกษาจะต้องมีความรู้ในวิชาชีพทันสมัยอยู่เสมอ และ ใช้ความรู้ดังกล่าวบนพื้นฐานการตัดสินใจที่ถูกต้อง การเลือกวิธีการ หรือสื่อแบบสุ่มโดยบุคคลภายนอกวงการเทคโนโลยีการศึกษา นับว่า ไม่เข้าเกณฑ์ความเหมาะสม การตัดสินใจด้วยหลักวิชาชีพที่ถูกต้อง บนฐานความรู้ที่ชัดเจน จะช่วยให้ผู้เรียนประสบผลสัมฤทธิ์ในการ เรียน เป็นการใช้ทรัพยากรและเวลาขององค์กร และนักเทคโนโลยี การศึกษาเอง ญ. เชิงเทคโนโลยี (technological) เชิงเทคโนโลยี หมายถึง การอธิบายกิจกรรมของมนุษย์บน พื้นฐานของเทคโนโลยี เช่นคำากล่าวที่ว่า “การประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ หรือองค์ความรู้ใดๆ อย่าง เป็นระบบ เพื่อการปฏิบัติภารกิจ” (Galbraith, 1967 :12) ดังนั้น เทคโนโลยีการศึกษา (Educational Technology) จึงไม่ใช้คำาว่า Technological Education. ประเด็นที่หนึง : การวางแผนและการปฏิบัติการสอน เช่น ่ กระบวนการตัดสินใจของครูทั่วไปในชีวิตการทำางานแต่ละวัน สามารถใช้วิธีการไม่ใช่เชิงเทคโนโลยี (non – technological) ได้ สำาหรับนักเทคโนโลยีการศึกษาแล้ว กระบวนการดังกล่าวจะต้องตั้ง อยู่บนพื้นฐานของการวิจัย หรือการพัฒนา ดังนั้นการพัฒนาโมเดล ภาษาคอมพิวเตอร์หรือสูตรใดๆ ที่ปรากฏในเทคโนโลยีการศึกษาจึง ต้องใช้กรรมวิธีเชิงเทคโนโลยีเสมอ ประเด็นที่สอง : มีการเปลี่ยนแปลงเชิงเทคโนโลยีในสื่อ ทังฮาร์ดแวร์ ้ และซอฟท์แวร์ เช่น ภาพนิ่ง วิดโอ แถบบันทึกเสียง การต่อเชื่อมกับ ี ดาวเทียม ชุดคำาสั่งคอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นดีวีดี สิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่ ในความหมายของเทคโนโลยีการศึกษาอย่างชัดเจนปฏิเสธไม่ได้ ฎ. กรรมวิธี (process) กรรมวิธี หมายถึง อนุกรมของกิจกรรมที่มุ่งไปสู่ผลที่ได้ระบุ
  • 27. เอาไว้ล่วงหน้า นักเทคโนโลยีการศึกษามักดำาเนินการออกแบบ พัฒนา และสร้างแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ สิ่งเหล่านี้เป็นกรรมวิธีใน การพัฒนาการเรียนการสอน (instructional development) โดย เฉพาะอย่างยิ่งในช่วงปี 1960 ถึงปี 1990 เมื่อแนวคิดเกี่ยวกับ ความเปลี่ยนแปลงให้เข้ากับยุคสมัย และสรรคนิยม (constructivist) เข้ามามีบทบาทในการศึกษา กรรมวิธีต่างๆ ในการออกแบบการเรียน รู้จึงปรับเปลี่ยนจากแนวคิดว่า ผู้สอนกำาลังทำาอะไร ไปเป็นผู้เรียน กำาลังทำาอะไร กล่าวคือ ผู้เรียนต้องสรรค์สร้างความรู้ของตนเอง มี ประสบการณ์บนพื้นฐานความยากลำาบากของตนเอง การออกแบบ ระบบการเรียนการสอนแบบเดิม ครูจะทำาหน้าที่ควบคุมและเป็น เจ้าของกรรมวิธีทั้งหมด ปิดโอกาสของผู้เรียนในการเข้าถึงความ ชำานาญ และการส่งผ่านทักษะไปสู่กิจกรรมในชีวิตจริง บริบทความหมายของคำาว่า “กรรมวิธี” ยังรวมถึง การใช้ ประโยชน์ และการจัดการแหล่งทรัพยากร และการสร้างสรรค์สิ่งเหล่า นั้น ฏ. แหล่งทรัพยากร (resources) แหล่งทรัพยากรหลากหลายชนิดทำาให้เราสามารถบอกได้ว่า สาขาวิชานั้นๆ คืออะไร เทคโนโลยี และนวัตกรรมเข้ามามีบทบาท ช่วยเผยแพร่ขยายขอบเขตของแหล่งทรัพยากร เพื่อช่วยเหลือผูเรียน ้ แหล่งทรัพยากร หมายถึง มนุษย์ เครื่องมือ เทคโนโลยีและวัสดุ อุปกรณ์ ออกแบบไว้ช่วยผู้เรียนในการเรียนรู้ อาจรวมถึงระบบ ICT แหล่งความรู้ชุมชน เช่น ห้องสมุด สวนสัตว์ พิพิทธภัณฑ์ และผู้ เชี่ยวชาญบางสาขา หรือสื่อดิจิทัลใหม่ๆ เช่น CD-ROM เว็บไซต์ และเว็บเควสท์ (webquests) ระบบอิเล็กทรอนิกส์สนับสนุนการ ปฏิบัติการ (EPSS : Electronic Performance Supportings System) รวมถึงสื่อแอนะล็อกทั่วไป เช่น หนังสือ สิ่งตีพิมพ์ เครื่อง บันทึกภาพ สื่อโสตทัศน์อื่นๆ ครูทำาหน้าที่ค้นหาเครื่องมือใหม่ๆ สร้างสรรค์แหล่งทรัพยากรใหม่ๆ ผูเรียนทำาการสั่งสมและจดจำาแหล่ง ้ ความรู้ของตนเอง และนักเทคโนโลยีการศึกษาทำาหน้าที่เสาะหา