SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยง

ด้วย…

มิติค ุณภาพ

นายส ุรเดช ศรีองก ูร
ั
ศูนย์พฒนาค ุณภาพโรงพยาบาลท่าฉาง
ั
Facebook.com/suradet.sri
มิติค ุณภาพ
มิติค ุณภาพ เปนมุมมองต่างๆที่เปนไปได้ ที่เรามอง
็
็
กระบวนการของหน่วยงาน ระบบงาน หรืออื่นๆให้
ลมลึกมากขึ้น เพื่อให้เห็นถึงความสําเร็จ โอกาสที่
ุ่
เราจะพัฒนา เส้นทางที่เราจะวัดและประเมินผล
เพื่อให้การพัฒนามีความสมบูรณ์มากขึ้น

Facebook.com/suradet.sri
องค์ประกอบของมิติค ุณภาพ
Accessibility : การเข้าถึง
Acceptability : การยอมรับ
Appropriateness : ความเหมาะสม
Competency : สมรรถนะ
Continuity : ความต่อเนื่อง
Coverage : ความครอบคล ุม
Effectiveness : ประสิทธิผล
Efficiency : ประสิทธิภาพ
Equity : ความเท่าเทียม
Humanized/Holistic : ด ูแลด้วยหัวใจ/องค์รวม
Responsive/Respect : การตอบสนอง
Safety : ความปลอดภัย
Timeliness : ความทันการณ์

Facebook.com/suradet.sri
Accessibility : การเข้าถึง
การเข้าถึงบริการเปนมิติค ุณภาพ
็
ที่มีความสําคัญสําหรับการ
เจ็บปวยฉ ุกเฉินหรือการได้รบการ
่
ั
ด ูแลที่มีความจําเปน การเข้าไม่ถึง
็
หรือเข้าถึงไม่สะดวกสะท้อนความ
ไม่มีค ุณภาพของระบบ (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การประเมินความเสี่ยงในเรืองการ
่
เข้าถึงหมายถึง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงว่า เจ้าหน้าที่
สามารถปฏิบติได้ง่าย ไม่ว่าจะเปนการรายงาน
ั
็
แบบกระดาษ หรือการรายงานในคอมพิวเตอร์
หรือไม่
ข้อมูลความเสี่ยงต่างๆ ที่นํามาสูการรายงาน
่
ไม่ว่าจะเปนโปรแกรมความเสี่ยง ความร ุนแรง
็
เหต ุการณ์ที่เกิดขึ้น ความเข้าใจของบ ุคลากร
ตรงกันหรือไม่
ผลลัพธ์การแก้ไข/กําหนดมาตรการปองกัน
้
จากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น บ ุคลากรหรือ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รบร ้ ู รับทราบหรือไม่ว่า
ั
ได้รบการแก้ไขแล้ว และเปนอย่างไร
ั
็
ภาพรวมของผลลัพธ์การบริหารจัดการความ
เสี่ยงบ ุคลากรในองค์กรได้รบทราบหรือไม่
ั
การประเมินอาจประเมินจากความร ้ ู ความ
เข้าใจการบริหารจัดการความเสี่ยงของ
บ ุคลากร
Acceptability : การยอมรับ
การยอมรับเปนมิติค ุณภาพในเชิง
็
ผลลัพธ์โดยรวมจากค ุณค่าใน
มุมมองของผูรบผลงาน สะท้อน
้ ั
ออกมาเปนระดับความพึงพอใจด้าน
็
ต่างๆ (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การยอมรับในเรืองการบริหาร
่
จัดการความเสี่ยงคือการยอมรับ
ของบ ุคลากรในองค์กร เมื่อองค์กร
หรือหน่วยงานนําระบบการบริหาร
จัดการความเสี่ยงมาใช้ บ ุคลากรมี
ความคิด ความรูสึก ต่อการบริหาร
้
จัดการความเสี่ยง หัวหน้างาน
ผูบริหารอย่างไร ให้ความร่วมมือใน
้
การบริหารจัดการความเสี่ยงมาก
น้อยเพียงใด ถ้าเราทราบข้อมูลก็จะ
ทําให้ทราบว่า จะนําไปพัฒนาให้เกิด
การยอมรับของบ ุคลากรเพิ่มมากขึ้น
ได้อย่างไร
การประเมินผลเราสามารถใช้ แบบ
ประเมิน Patients Safety
Survey มาเปนเอกสารในการ
็
ประเมิน
Appropriateness :

ความเหมาะสม

ความเหมาะสมเปนมิติค ุณภาพในเชิง
็
กระบวนการ อาจมองได้จากมุมมอง
ของวิชาชีพหรือสังคม, ความเหมาะสม
จากมุมมองของวิชาชีพคือการพิจารณา
ว่ามีการตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูล
หลักฐานทางวิชาการเพียงใด, ความ
เหมาะสมจากมุมมองของสังคมคือการ
พิจารณาว่ามีการตัดสินใจหรือการ
กระทําบนพื้นฐานที่วิญ�ูชนพึงกระทํา
หรือไม่ (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การประเมินความเหมาะสมในเรื่องการ
บริหารจัดการความเสี่ยง เราอาจประเมินได้
ในเรืองการแก้ไขและมาตรการในการปองกัน
่
้
ของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแล้ว และยังไม่เกิดขึ้น
ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแล้ว ประเมินว่าเราใช้หลัก
Human Factor Engineering ( การจับผิด
ระบบไม่จบผิดคน) มากน้อยเพียงใดในการ
ั
กําหนดมาตรการ โดยเฉพาะความเสี่ยงที่สําคัญ
และมีความร ุนแรงสูง เราต้องให้ความสนใจเปน
็
พิเศษ เพราะจะทําให้การแก้ไข/การปองกัน มี
้
ความยังยืน และไม่เกิดซํ้าอีก
่
ความเสี่ยงที่ยงไม่เกิดขึ้น ลองกลับไปมอง
ั
กระบวนการการทํางานที่เราปฏิบติอยูท ุกวัน ว่ามี
ั ่
ความเสี่ยงใดบ้างที่เราไม่ตองการให้เกิดกับ
้
ผูรบบริการ และได้กาหนดมาตรการในการ
้ ั
ํ
ปองกัน แล้วหรือไม่ ถ้ากําหนดแล้ว เมื่อนําไปใช้ใน
้
หน้างาน ผลเปนอย่างไรบ้าง ซึ้งใช้หลัก FMEA
็
(Failure Mode Effect Analysis) มาเปน
็
เครืองมือในการกําหนดมาตรการการปองกัน
่
้
Competency : สมรรถนะ
สมรรถนะเปนมิติค ุณภาพที่มี
็
ความสําคัญในกรณีที่ตองให้การด ูแล
้
อย่างเร่งด่วน หรือกรณีที่การส่งต่อ
อาจจะเกิดผลเสียต่อผูปวย (สรพ.)
้่

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
เมื่อเกิดความเสี่ยงแล้ว ต้องมีการ
แก้ไข และกําหนดมาตรการในการ
ปองกัน แต่การแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
้
หรือเฉพาะหน้า เมื่อเกิดความเสี่ยง
เปนอีกกลวิธีหนึ่งที่จะทําให้ความ
็
ร ุนแรงหรือความสูญเสียลดลง ซึ้ง
อาจเปนการแก้ไขของหน้างานเอง
็
หรือบางองค์กรมีทีมที่เรียกว่า “ ทีม
เคลื่อนที่เร็ว ” มาช่วยในการแก้ไข
เราควรประเมินว่าการแก้ไขเฉพาะ
หน้านันสามารถแก้ไขได้ดี และ
้
รวดเร็วเพียงใด เพื่อนํามาทบทวน
และปรับปร ุง เพื่อที่ว่าเมื่อเกิดปัญหา
ที่มีลกษณะคล้ายกัน การแก้ไข/
ั
แก้ปัญหาจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น
Continuity : ความต่อเนื่อง
ความต่อเนื่องเปนมิติค ุณภาพที่มี
็
ความสําคัญสําหรับการด ูแลโรค
เรื้อรังหรือการด ูแลที่ตองมีการส่งต่อ
้
ระหว่างสถานบริการ (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การประเมินความเสี่ยงในด้านความ
ต่อเนื่องสิงที่เราควรประเมินได้แก่
่
ความต่อเนื่องในการรายงานความเสี่ยงของ
บ ุคลากรในหน่วยงาน/องค์กร ว่าเปน
็
อย่างไร รายงานมากขึ้น น้อยลง หน่วยงาน
ใดรายงานอย่างสมําเสมอ หน่วยงานใด
่
รายงานบ้าง ไม่รายงานบ้าง หรือไม่รายงาน
ซึ้งหน่วยงานที่รายงานประจําก็สนับสน ุนให้
รายงานมากขึ้น หน่วยงานใดไม่ค่อย
รายงานก็ตองหาสาเหต ุว่า ทําไมไม่รายงาน
้
เพื่อช่วยเหลือและสนับสน ุนให้รายงาน
ควรประเมินว่าหน่วยงาน/ทีม มีการหา
RCA ท ุกครัง เมื่อมีเหต ุการณ์ที่มีความ
้
ร ุนแรงสูง เพื่อเปนหลักประกันว่าความเสี่ยง
็
ที่เกิดขึ้นได้พบสาเหต ุที่แท้จริง และนําไปสู่
การวางมาตรการปองกัน
้
การวัดเราสามารถวัดจากการรายงานความ
เสี่ยงของบ ุคลากรเพิ่มขึ้น และการทํา RCA
ท ุกครังเมื่อความเสี่ยงที่ร ุนแรงสูง
้
Coverage : ความครอบคล ุม
ความครอบคล ุมเปนมิติค ุณภาพที่มี
็
ความสําคัญสําหรับ public
health program หรือการ
พิจารณาการได้รบบริการที่สาคัญใน
ั
ํ
ภาพรวมของกลมประชากรทาง
ุ่
คลินิก (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การประเมินความครอบคล ุมของ
การบริหารจัดการความเสี่ยงเรา
สามารถประเมินได้ดงนี้
ั
ประเมินช่องทางการรายงานความเสี่ยงว่า
เรามีช่องทางอื่นอีกหรือไม่นอกเหนือจาก
การรายงาน ไม่ว่าจะเปน ข้อร้องเรียน ,การ
็
Round ของทีมต่างๆไม่ว่าจะเปน
็
IC,ENV, 12 กิจกรรมทบทวน, Trigger
tool เปนต้น ว่ามีมากน้อยพียงใด และ
็
สนับสน ุนให้มีช่องทางการรายงานความ
เสี่ยงที่หลากหลายเพื่อให้เกิดความ
ครอบคล ุม
ประเมินโปรแกรมความเสี่ยง เหต ุการณ์
ความเสี่ยง และความร ุนแรง ว่าครอบคล ุม
ต่อเหต ุการณ์ที่น่าจะเกิดขึ้น/เกิดขึ้นแล้ว
ตามบริบทขององค์กรหรือไม่
แนวทางการแก้ไขนันครอบคล ุมทังความ
้
้
ร ุนแรงระดับตํ่า กลาง สูงหรือไม่
Effectiveness : ประสิทธิผล
ประสิทธิผลเปนมิติค ุณภาพเชิง
็
ผลลัพธ์ที่จําเปนสําหรับท ุกกลม
็
ุ่
ผลลัพธ์ที่ตองการจากบริการ
้
ส ุขภาพ เช่น หาย ใช้การได้ ไม่
ตาย ไม่พิการ (สรพ)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การบริหารจัดการความเสี่ยงสิ่งที่
เราสามารถประเมินประสิทธิภาพ
ได้แก่
การประเมินประสิทธิภาพการบริหาร
จัดการความสี่ยง ในด้านการค้นหา
การประเมิน การแก้ไข/ปองกัน ว่า
้
ภาพรวมในแต่ละด้าน และทังหมดมี
้
ผลทําให้การบริหารจัดการความ
เสี่ยงในหน่วยงาน/ทีม/องค์กรดีข้ ึน
หรือมีโอกาสพัฒนา
การประเมินประสิทธิภาพของ
มาตรการการปองกันที่กาหนดไว้ว่า
้
ํ
มีความสามารถในการปองกันไม่ให้
้
เกิดความเสี่ยงซํ้าอีกหรือไม่
โดยเฉพาะอย่างยิงความเสี่ยงที่
่
สําคัญและร ุนแรง
Efficiency : ประสิทธิภาพ
• ประสิทธิภาพเปนมิติค ุณภาพที่
็
เปรียบเทียบผลลัพธ์กบปัจจัยนําเข้า
ั
ซึ้งอาจจะเปนทรัพยากรประเภทใดก็
็
ได้ รวมทังเวลาเปนประเด็นที่มี
้
็
ความสําคัญในกรณีที่มีความสูญ
เปล่าสูง (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การบริหารจัดความเสี่ยงแนวคิดหนึ่งที่เรา
สามารถนํามาปรับใช้ได้ คือ แนวคิดการ
จัดลําดับความสําคัญของการพัฒนาและ
แก้ไขปัญหาในกรณีที่มีความเสี่ยงเกิดขึ้น
นันคือ สิ่งสําคัญส ุดต้องดําเนินก่อน และ
่
จัดลําดับการแก้ไข เราจึงได้มีการกําหนด
ระดับความร ุนแรง และนําความถี่มาเปนตัว
็
ช่วยในการจัดลําดับความสําคัญ และมีการ
กําหนดเวลาในการรายงานความเสี่ยงตาม
ความร ุนแรงที่เกิดขึ้นนัน เหต ุเพราะเรามี
้
กําลัง มีทรัพยากรที่จํากัด การไม่จดลําดับ
ั
ความสําคัญ จะทําให้แก้ไขปัญหาท ุกอย่างที่
เข้ามา จนบางครังเราไม่เหลือกําลัง เหลือ
้
ทรัพยากร ไปจัดการกับความเสี่ยงที่สําคัญ
และร ุนแรง ซึ้งความเสี่ยงประเภทนี้ก็จะเกิด
ซํ้าแล้ว ซํ้าอีก ทําอันตรายแก่องค์กร และ
ผูปวย เราลองประเมินด ูว่าเราได้แก้ไข
้่
ปัญหาสําคัญที่ส ุดก่อนหรือไม่ เราให้
ความสําคัญกับเวลาที่จะรับรความเสี่ยงที่
ู้
สําคัญ และร ุนแรงหรือเปล่า เราก็พอจะ
ทราบว่าประสิทธิภาพเราเปนอย่างไรครับ
็
Equity : ความเท่าเทียม
ความเท่าเทียมเปนมิติค ุณภาพทังเชิง
็
้
กระบวนการและผลลัพธ์อาจคาบเกี่ยวกับ
มิติอื่นๆ แต่จะมองในลักษณะเปรียบเทียบ
ประชากรกลมต่างๆ เช่นการได้รบบริการ
ุ่
ั
ที่จําเปนในกลมที่มีประกันส ุขภาพแตกต่าง
็
ุ่
กัน (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
หลักคิดสําคัญคือท ุกความเสี่ยง
ต้องได้รบการเข้าสูระบบการ
ั
่
บริหารจัดการความเสี่ยงคือ การ
ค้นหา การประเมิน การจัดการ/
แก้ไข และการประเมินผลโดย
ประเมินว่าความเสี่ยงท ุกชนิด
ได้รบการแก้ไข/กําหนดมาตรการ
ั
ในการปองกัน ตามลําดับ
้
ความสําคัญของปัญหาหรือไม่
ประเมินว่าช่องทางการได้มาซึ้ง
ความเสี่ยงไม่ว่าจะเปน 12
็
กิจกรรมทบทวน,การ Round ,
Trigger tool และอื่นๆ ว่าเราได้
ให้ความสําคัญ และดําเนินการ
ปรับปร ุงให้ดีข้ ึน เทียบเท่าการ
รายงานความเสี่ยงหรืออ ุบัติการณ์
ที่ทําอยูหรือเปล่า
่
Humanized/Holistic : ด ูแลด้วยหัวใจ/องค์รวม
• การด ูแลด้วยหัวใจและการด ูแล
ด้วยองค์รวมเปนมิติค ุณภาพที่
็
ก้าวไปพ้นจากเทคโนโลยี เปนมิติที่
็
รับรไู้ ด้ไม่ยาก แต่อาจจะวัดเปน
็
ตัวเลขยาก (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
เมื่อเราพูดถึงการประเมินในด้าน
การด ูแลด้วยหัวใจสําหรับในเรืองความ
่
เสี่ยงคือการประเมินว่าเมื่อเกิดความ
เสี่ยงขึ้นไม่ว่าจะร ุนแรงหรือไม่ร ุนแรง ผู้
ที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงนันได้รบการ
้
ั
ด ูแลอย่างไร ซํ้าเติมเขา ว่ากล่าวหรือ
ลงโทษ หรือเรานําแนวคิด “ การลงโทษ
ระบบ ไม่ลงโทษตัวบ ุคคล ” มาใช้เพื่อให้
เกิดการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มี
ความส ุข และยังยืน การประเมินเรื่องนี้
่
เปนสิ่งสําคัญ เพราะความเสี่ยงถ้าเราใช้
็
ในแง่ลบหรือการลงโทษ แน่นอนว่าคงจะ
ไม่มีใครกล้าที่จะรายงาน เพราะกลัวว่า
ตนเองจะถ ูกลงโทษ เรืองนี้ตองหมัน
่
้
่
ประเมินบ่อยๆครับ
Responsive/Respect : การตอบสนอง

การตอบสนองเปนมิติค ุณภาพ
็
ในเชิงกระบวนการว่าตอบสนอง
ต่อสิ่งที่ผรบผลงานให้ค ุณค่า
ู้ ั
อย่างไร (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
การประเมินเรืองการตอบสนองใน
่
เรืองความเสี่ยงได้แก่
่
ประเมินว่าความเสี่ยงที่มีการ
รายงานนันมีการตอบสนองในเรือง
้
่
การแก้ไข/มาตรการในการปองกัน
้
มากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะความ
เสี่ยงที่ร ุนแรง หรือความเสี่ยงทาง
กายภาพที่เสียภาพลักษณ์ของ
โรงพยาบาล เรื่องนี้เปนสิงที่
็ ่
ผูรายงานความเสี่ยงอยากเห็นว่า
้
สิ่งที่รายงานไปควรจะได้รบการ
ั
แก้ไข/ปรับปร ุง เพราะนันคือการ
่
กระตนการรายงานความเสี่ยง
ุ้
อย่างหนึ่ง
Safety : ความปลอดภัย
ความปลอดภัยเปนมิติค ุณภาพ
็
ทังในเชิงกระบวนการและ
้
ผลลัพธ์ มีความสําคัญใน
สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง
(สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
ความปลอดภัยคือหัวใจที่สาคัญที่ส ุด
ํ
ของการบริหารจัดการความเสี่ยง
เพราะสิ่งนี้คือเปาหมายของการ
้
จัดการ เราสามารถประเมินความ
ปลอดภัยที่เกิดขึ้นได้จาก
ความเสี่ยงสําคัญ/ความเสี่ยงที่ร ุนแรง
เกิดขึ้นซํ้าหรือไม่ เพราะความเสี่ยงเหล่านี้คือ
ความเสี่ยงที่ทําอันตรายกับผูปวย และทําให้
้่
ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลเสีย
มาตรการในการปองกันที่กาหนดไว้
้
ํ
โดยเฉพาะความเสี่ยงที่สําคัญ ร ุนแรงที่ทําให้
ผูปวยเสียชีวิต ท ุพพลภาพของหน่วยงาน/
้่
องค์กร ได้กาหนดไว้รดก ุม ครอบคล ุม มีการ
ํ
ั
ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องหรือไม่
เพราะสิ่งนี้จะทําให้ความปลอดภัยผูปวยมาก
้่
ขึ้น
ความเสี่ยงที่กาหนดมาตรการปองกันแล้ว
ํ
้
ต้องหมันทบทวนอยูเสมอว่ายังใช้ได้หรือไม่
่
่
Timeliness : ความทันการณ์
ความทันการณ์เปนมิติค ุณภาพใน
็
เชิงกระบวนการ มีความสําคัญใน
กรณีที่ตองการได้รบการด ูแล
้
ั
ฉ ุกเฉินหรือเร่งด่วน หรือในกรณีที่
เวลาที่แตกต่างกันทําให้เกิดผล
ลัพธ์ที่แตกต่างกัน (สรพ.)

Facebook.com/suradet.sri

การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง
ั
ความทันการณ์ในด้านการบริหาร
จัดการความเสี่ยงนันเราประเมินจาก
้
ความทันการณ์ในการรายงานความ
เสี่ยงว่าความเสี่ยงได้รายงานตาม
เวลาที่กาหนดไว้ตามลําดับความ
ํ
ร ุนแรงหรือไม่
ความทันการณ์ในการทํา RCA ว่า
ความเสี่ยงสําคัญ/ร ุนแรง ได้รบการ
ั
ทํา RCA ตามเวลาที่กาหนดหรือไม่
ํ
ความทันการในการกําหนด
มาตรการในการปองกันว่าทําตาม
้
เวลาที่กาหนดไว้หรือไม่
ํ
ความทันการณ์ในการจัดการความ
เสี่ยงที่ปองกันไม่ได้ ไม่ว่าจะเปน
้
็
เครืองมือ บ ุคลากร ความรู้
่
ความสามารถ
เหล่านี้คือตัวอย่างของ การ
ประเมินความเสี่ยงด้วยมิติ
ค ุณภาพ ที่สามารถนํามา
ดัดแปลงเพื่อให้เห็นถึงความลม
ุ่
ลึกในการค้นหาโอกาสที่จะ
พัฒนาและปรับปร ุงการทํางาน
ให้ดีข้ ึน พัฒนาขึ้น และที่สาคัญ
ํ
การใช้เครืองมือต่างๆนัน อย่า
่
้
ยึดติดกับเครื่องมือ เพราะ
เครืองมือต่างๆ สามารถนํา
่
ประย ุกต์ใช้ และปรับใช้ได้ท ุก
โอกาส เพียงแต่การใช้ตองตรง
้
กับบริบท ตรงกับเปาหมาย และ
้
ตรงกับความจําเปนที่เราจะ
็
นํามาใช้ครับ
Facebook.com/suradet.sri

More Related Content

What's hot

Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfSakarinHabusaya1
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17DoraPari Pari
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวนSuradet Sriangkoon
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยSumon Kananit
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 

What's hot (20)

Risk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profileRisk matrix VS Risk profile
Risk matrix VS Risk profile
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdfคู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
คู่มือการฝากครรภ์ สำหรับบุคลากรสาธารณสุข .pdf
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
การใส่สวนปัสสาวะ หญิง 16 sep17
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
Utilization management
Utilization managementUtilization management
Utilization management
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 

Similar to การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ

ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554นู๋หนึ่ง nooneung
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4praphol
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 

Similar to การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ (6)

COSO-ERM 2017.pptx
COSO-ERM 2017.pptxCOSO-ERM 2017.pptx
COSO-ERM 2017.pptx
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์  ปี 2554
แผนบริหารความเสี่ยงคณะนิเทศศาสตร์ ปี 2554
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet SriangkoonRisk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
Risk management กับ CQI - Suradet Sriangkoon
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 

More from Suradet Sriangkoon

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูรSuradet Sriangkoon
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementSuradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...Suradet Sriangkoon
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อSuradet Sriangkoon
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงSuradet Sriangkoon
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลSuradet Sriangkoon
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างSuradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวSuradet Sriangkoon
 

More from Suradet Sriangkoon (20)

ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูรลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ   สุรเดช ศรีอังกูร
ลด ละ เลิก วัฒนธรรมการตำหนิ กล่าวโทษ สุรเดช ศรีอังกูร
 
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoonเครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ -  Suradet sriangkoon
เครื่องมือพื้นฐานในการพัฒนาระบบ Rm และอื่นๆ - Suradet sriangkoon
 
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk managementฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
ฉันในความเป็นผู้นำ กับ Risk management
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoonการรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน   Suradet sriangkoon
การรายงานความเสี่ยงที่สร้างความปลอดภัยและยั่งยืน Suradet sriangkoon
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoonชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
ชนิดของถังดับเพลิงและการใช้งาน V2 - Suradet Sriangkoon
 
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet SriangkoonRca for Fun - Suradet Sriangkoon
Rca for Fun - Suradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง   Suradet ...
ความถูกต้องในการทำงานและการดูแลผู้ป่วยกับการบริหารจัดการความเสี่ยง Suradet ...
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อการจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
การจัดการข้อร้องเรียนฉบับย่อ
 
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยงA -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
A -Z กับการบริหารจัดการความเสี่ยง
 
Rm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผลRm กับการประเมินผล
Rm กับการประเมินผล
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
จุดอ่อนของระบบ Rm ที่เราควรรู้
 
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่างคู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
คู่มือการเพิ่มความปลอดภัยในการใช้ยา และเลือด ฉบับร่าง
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Visionary leadership
Visionary leadershipVisionary leadership
Visionary leadership
 

การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยงด้วยมิติคุณภาพ

  • 1. การประเมินการบริหารจัดการความเสี่ยง ด้วย… มิติค ุณภาพ นายส ุรเดช ศรีองก ูร ั ศูนย์พฒนาค ุณภาพโรงพยาบาลท่าฉาง ั Facebook.com/suradet.sri
  • 2. มิติค ุณภาพ มิติค ุณภาพ เปนมุมมองต่างๆที่เปนไปได้ ที่เรามอง ็ ็ กระบวนการของหน่วยงาน ระบบงาน หรืออื่นๆให้ ลมลึกมากขึ้น เพื่อให้เห็นถึงความสําเร็จ โอกาสที่ ุ่ เราจะพัฒนา เส้นทางที่เราจะวัดและประเมินผล เพื่อให้การพัฒนามีความสมบูรณ์มากขึ้น Facebook.com/suradet.sri
  • 3. องค์ประกอบของมิติค ุณภาพ Accessibility : การเข้าถึง Acceptability : การยอมรับ Appropriateness : ความเหมาะสม Competency : สมรรถนะ Continuity : ความต่อเนื่อง Coverage : ความครอบคล ุม Effectiveness : ประสิทธิผล Efficiency : ประสิทธิภาพ Equity : ความเท่าเทียม Humanized/Holistic : ด ูแลด้วยหัวใจ/องค์รวม Responsive/Respect : การตอบสนอง Safety : ความปลอดภัย Timeliness : ความทันการณ์ Facebook.com/suradet.sri
  • 4. Accessibility : การเข้าถึง การเข้าถึงบริการเปนมิติค ุณภาพ ็ ที่มีความสําคัญสําหรับการ เจ็บปวยฉ ุกเฉินหรือการได้รบการ ่ ั ด ูแลที่มีความจําเปน การเข้าไม่ถึง ็ หรือเข้าถึงไม่สะดวกสะท้อนความ ไม่มีค ุณภาพของระบบ (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การประเมินความเสี่ยงในเรืองการ ่ เข้าถึงหมายถึง แนวทางการรายงานความเสี่ยงว่า เจ้าหน้าที่ สามารถปฏิบติได้ง่าย ไม่ว่าจะเปนการรายงาน ั ็ แบบกระดาษ หรือการรายงานในคอมพิวเตอร์ หรือไม่ ข้อมูลความเสี่ยงต่างๆ ที่นํามาสูการรายงาน ่ ไม่ว่าจะเปนโปรแกรมความเสี่ยง ความร ุนแรง ็ เหต ุการณ์ที่เกิดขึ้น ความเข้าใจของบ ุคลากร ตรงกันหรือไม่ ผลลัพธ์การแก้ไข/กําหนดมาตรการปองกัน ้ จากความเสี่ยงที่เกิดขึ้น บ ุคลากรหรือ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รบร ้ ู รับทราบหรือไม่ว่า ั ได้รบการแก้ไขแล้ว และเปนอย่างไร ั ็ ภาพรวมของผลลัพธ์การบริหารจัดการความ เสี่ยงบ ุคลากรในองค์กรได้รบทราบหรือไม่ ั การประเมินอาจประเมินจากความร ้ ู ความ เข้าใจการบริหารจัดการความเสี่ยงของ บ ุคลากร
  • 5. Acceptability : การยอมรับ การยอมรับเปนมิติค ุณภาพในเชิง ็ ผลลัพธ์โดยรวมจากค ุณค่าใน มุมมองของผูรบผลงาน สะท้อน ้ ั ออกมาเปนระดับความพึงพอใจด้าน ็ ต่างๆ (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การยอมรับในเรืองการบริหาร ่ จัดการความเสี่ยงคือการยอมรับ ของบ ุคลากรในองค์กร เมื่อองค์กร หรือหน่วยงานนําระบบการบริหาร จัดการความเสี่ยงมาใช้ บ ุคลากรมี ความคิด ความรูสึก ต่อการบริหาร ้ จัดการความเสี่ยง หัวหน้างาน ผูบริหารอย่างไร ให้ความร่วมมือใน ้ การบริหารจัดการความเสี่ยงมาก น้อยเพียงใด ถ้าเราทราบข้อมูลก็จะ ทําให้ทราบว่า จะนําไปพัฒนาให้เกิด การยอมรับของบ ุคลากรเพิ่มมากขึ้น ได้อย่างไร การประเมินผลเราสามารถใช้ แบบ ประเมิน Patients Safety Survey มาเปนเอกสารในการ ็ ประเมิน
  • 6. Appropriateness : ความเหมาะสม ความเหมาะสมเปนมิติค ุณภาพในเชิง ็ กระบวนการ อาจมองได้จากมุมมอง ของวิชาชีพหรือสังคม, ความเหมาะสม จากมุมมองของวิชาชีพคือการพิจารณา ว่ามีการตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูล หลักฐานทางวิชาการเพียงใด, ความ เหมาะสมจากมุมมองของสังคมคือการ พิจารณาว่ามีการตัดสินใจหรือการ กระทําบนพื้นฐานที่วิญ�ูชนพึงกระทํา หรือไม่ (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การประเมินความเหมาะสมในเรื่องการ บริหารจัดการความเสี่ยง เราอาจประเมินได้ ในเรืองการแก้ไขและมาตรการในการปองกัน ่ ้ ของความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแล้ว และยังไม่เกิดขึ้น ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นแล้ว ประเมินว่าเราใช้หลัก Human Factor Engineering ( การจับผิด ระบบไม่จบผิดคน) มากน้อยเพียงใดในการ ั กําหนดมาตรการ โดยเฉพาะความเสี่ยงที่สําคัญ และมีความร ุนแรงสูง เราต้องให้ความสนใจเปน ็ พิเศษ เพราะจะทําให้การแก้ไข/การปองกัน มี ้ ความยังยืน และไม่เกิดซํ้าอีก ่ ความเสี่ยงที่ยงไม่เกิดขึ้น ลองกลับไปมอง ั กระบวนการการทํางานที่เราปฏิบติอยูท ุกวัน ว่ามี ั ่ ความเสี่ยงใดบ้างที่เราไม่ตองการให้เกิดกับ ้ ผูรบบริการ และได้กาหนดมาตรการในการ ้ ั ํ ปองกัน แล้วหรือไม่ ถ้ากําหนดแล้ว เมื่อนําไปใช้ใน ้ หน้างาน ผลเปนอย่างไรบ้าง ซึ้งใช้หลัก FMEA ็ (Failure Mode Effect Analysis) มาเปน ็ เครืองมือในการกําหนดมาตรการการปองกัน ่ ้
  • 7. Competency : สมรรถนะ สมรรถนะเปนมิติค ุณภาพที่มี ็ ความสําคัญในกรณีที่ตองให้การด ูแล ้ อย่างเร่งด่วน หรือกรณีที่การส่งต่อ อาจจะเกิดผลเสียต่อผูปวย (สรพ.) ้่ Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั เมื่อเกิดความเสี่ยงแล้ว ต้องมีการ แก้ไข และกําหนดมาตรการในการ ปองกัน แต่การแก้ไขปัญหาเบื้องต้น ้ หรือเฉพาะหน้า เมื่อเกิดความเสี่ยง เปนอีกกลวิธีหนึ่งที่จะทําให้ความ ็ ร ุนแรงหรือความสูญเสียลดลง ซึ้ง อาจเปนการแก้ไขของหน้างานเอง ็ หรือบางองค์กรมีทีมที่เรียกว่า “ ทีม เคลื่อนที่เร็ว ” มาช่วยในการแก้ไข เราควรประเมินว่าการแก้ไขเฉพาะ หน้านันสามารถแก้ไขได้ดี และ ้ รวดเร็วเพียงใด เพื่อนํามาทบทวน และปรับปร ุง เพื่อที่ว่าเมื่อเกิดปัญหา ที่มีลกษณะคล้ายกัน การแก้ไข/ ั แก้ปัญหาจะมีประสิทธิภาพมากขึ้น
  • 8. Continuity : ความต่อเนื่อง ความต่อเนื่องเปนมิติค ุณภาพที่มี ็ ความสําคัญสําหรับการด ูแลโรค เรื้อรังหรือการด ูแลที่ตองมีการส่งต่อ ้ ระหว่างสถานบริการ (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การประเมินความเสี่ยงในด้านความ ต่อเนื่องสิงที่เราควรประเมินได้แก่ ่ ความต่อเนื่องในการรายงานความเสี่ยงของ บ ุคลากรในหน่วยงาน/องค์กร ว่าเปน ็ อย่างไร รายงานมากขึ้น น้อยลง หน่วยงาน ใดรายงานอย่างสมําเสมอ หน่วยงานใด ่ รายงานบ้าง ไม่รายงานบ้าง หรือไม่รายงาน ซึ้งหน่วยงานที่รายงานประจําก็สนับสน ุนให้ รายงานมากขึ้น หน่วยงานใดไม่ค่อย รายงานก็ตองหาสาเหต ุว่า ทําไมไม่รายงาน ้ เพื่อช่วยเหลือและสนับสน ุนให้รายงาน ควรประเมินว่าหน่วยงาน/ทีม มีการหา RCA ท ุกครัง เมื่อมีเหต ุการณ์ที่มีความ ้ ร ุนแรงสูง เพื่อเปนหลักประกันว่าความเสี่ยง ็ ที่เกิดขึ้นได้พบสาเหต ุที่แท้จริง และนําไปสู่ การวางมาตรการปองกัน ้ การวัดเราสามารถวัดจากการรายงานความ เสี่ยงของบ ุคลากรเพิ่มขึ้น และการทํา RCA ท ุกครังเมื่อความเสี่ยงที่ร ุนแรงสูง ้
  • 9. Coverage : ความครอบคล ุม ความครอบคล ุมเปนมิติค ุณภาพที่มี ็ ความสําคัญสําหรับ public health program หรือการ พิจารณาการได้รบบริการที่สาคัญใน ั ํ ภาพรวมของกลมประชากรทาง ุ่ คลินิก (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การประเมินความครอบคล ุมของ การบริหารจัดการความเสี่ยงเรา สามารถประเมินได้ดงนี้ ั ประเมินช่องทางการรายงานความเสี่ยงว่า เรามีช่องทางอื่นอีกหรือไม่นอกเหนือจาก การรายงาน ไม่ว่าจะเปน ข้อร้องเรียน ,การ ็ Round ของทีมต่างๆไม่ว่าจะเปน ็ IC,ENV, 12 กิจกรรมทบทวน, Trigger tool เปนต้น ว่ามีมากน้อยพียงใด และ ็ สนับสน ุนให้มีช่องทางการรายงานความ เสี่ยงที่หลากหลายเพื่อให้เกิดความ ครอบคล ุม ประเมินโปรแกรมความเสี่ยง เหต ุการณ์ ความเสี่ยง และความร ุนแรง ว่าครอบคล ุม ต่อเหต ุการณ์ที่น่าจะเกิดขึ้น/เกิดขึ้นแล้ว ตามบริบทขององค์กรหรือไม่ แนวทางการแก้ไขนันครอบคล ุมทังความ ้ ้ ร ุนแรงระดับตํ่า กลาง สูงหรือไม่
  • 10. Effectiveness : ประสิทธิผล ประสิทธิผลเปนมิติค ุณภาพเชิง ็ ผลลัพธ์ที่จําเปนสําหรับท ุกกลม ็ ุ่ ผลลัพธ์ที่ตองการจากบริการ ้ ส ุขภาพ เช่น หาย ใช้การได้ ไม่ ตาย ไม่พิการ (สรพ) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การบริหารจัดการความเสี่ยงสิ่งที่ เราสามารถประเมินประสิทธิภาพ ได้แก่ การประเมินประสิทธิภาพการบริหาร จัดการความสี่ยง ในด้านการค้นหา การประเมิน การแก้ไข/ปองกัน ว่า ้ ภาพรวมในแต่ละด้าน และทังหมดมี ้ ผลทําให้การบริหารจัดการความ เสี่ยงในหน่วยงาน/ทีม/องค์กรดีข้ ึน หรือมีโอกาสพัฒนา การประเมินประสิทธิภาพของ มาตรการการปองกันที่กาหนดไว้ว่า ้ ํ มีความสามารถในการปองกันไม่ให้ ้ เกิดความเสี่ยงซํ้าอีกหรือไม่ โดยเฉพาะอย่างยิงความเสี่ยงที่ ่ สําคัญและร ุนแรง
  • 11. Efficiency : ประสิทธิภาพ • ประสิทธิภาพเปนมิติค ุณภาพที่ ็ เปรียบเทียบผลลัพธ์กบปัจจัยนําเข้า ั ซึ้งอาจจะเปนทรัพยากรประเภทใดก็ ็ ได้ รวมทังเวลาเปนประเด็นที่มี ้ ็ ความสําคัญในกรณีที่มีความสูญ เปล่าสูง (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การบริหารจัดความเสี่ยงแนวคิดหนึ่งที่เรา สามารถนํามาปรับใช้ได้ คือ แนวคิดการ จัดลําดับความสําคัญของการพัฒนาและ แก้ไขปัญหาในกรณีที่มีความเสี่ยงเกิดขึ้น นันคือ สิ่งสําคัญส ุดต้องดําเนินก่อน และ ่ จัดลําดับการแก้ไข เราจึงได้มีการกําหนด ระดับความร ุนแรง และนําความถี่มาเปนตัว ็ ช่วยในการจัดลําดับความสําคัญ และมีการ กําหนดเวลาในการรายงานความเสี่ยงตาม ความร ุนแรงที่เกิดขึ้นนัน เหต ุเพราะเรามี ้ กําลัง มีทรัพยากรที่จํากัด การไม่จดลําดับ ั ความสําคัญ จะทําให้แก้ไขปัญหาท ุกอย่างที่ เข้ามา จนบางครังเราไม่เหลือกําลัง เหลือ ้ ทรัพยากร ไปจัดการกับความเสี่ยงที่สําคัญ และร ุนแรง ซึ้งความเสี่ยงประเภทนี้ก็จะเกิด ซํ้าแล้ว ซํ้าอีก ทําอันตรายแก่องค์กร และ ผูปวย เราลองประเมินด ูว่าเราได้แก้ไข ้่ ปัญหาสําคัญที่ส ุดก่อนหรือไม่ เราให้ ความสําคัญกับเวลาที่จะรับรความเสี่ยงที่ ู้ สําคัญ และร ุนแรงหรือเปล่า เราก็พอจะ ทราบว่าประสิทธิภาพเราเปนอย่างไรครับ ็
  • 12. Equity : ความเท่าเทียม ความเท่าเทียมเปนมิติค ุณภาพทังเชิง ็ ้ กระบวนการและผลลัพธ์อาจคาบเกี่ยวกับ มิติอื่นๆ แต่จะมองในลักษณะเปรียบเทียบ ประชากรกลมต่างๆ เช่นการได้รบบริการ ุ่ ั ที่จําเปนในกลมที่มีประกันส ุขภาพแตกต่าง ็ ุ่ กัน (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั หลักคิดสําคัญคือท ุกความเสี่ยง ต้องได้รบการเข้าสูระบบการ ั ่ บริหารจัดการความเสี่ยงคือ การ ค้นหา การประเมิน การจัดการ/ แก้ไข และการประเมินผลโดย ประเมินว่าความเสี่ยงท ุกชนิด ได้รบการแก้ไข/กําหนดมาตรการ ั ในการปองกัน ตามลําดับ ้ ความสําคัญของปัญหาหรือไม่ ประเมินว่าช่องทางการได้มาซึ้ง ความเสี่ยงไม่ว่าจะเปน 12 ็ กิจกรรมทบทวน,การ Round , Trigger tool และอื่นๆ ว่าเราได้ ให้ความสําคัญ และดําเนินการ ปรับปร ุงให้ดีข้ ึน เทียบเท่าการ รายงานความเสี่ยงหรืออ ุบัติการณ์ ที่ทําอยูหรือเปล่า ่
  • 13. Humanized/Holistic : ด ูแลด้วยหัวใจ/องค์รวม • การด ูแลด้วยหัวใจและการด ูแล ด้วยองค์รวมเปนมิติค ุณภาพที่ ็ ก้าวไปพ้นจากเทคโนโลยี เปนมิติที่ ็ รับรไู้ ด้ไม่ยาก แต่อาจจะวัดเปน ็ ตัวเลขยาก (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั เมื่อเราพูดถึงการประเมินในด้าน การด ูแลด้วยหัวใจสําหรับในเรืองความ ่ เสี่ยงคือการประเมินว่าเมื่อเกิดความ เสี่ยงขึ้นไม่ว่าจะร ุนแรงหรือไม่ร ุนแรง ผู้ ที่เกี่ยวข้องกับความเสี่ยงนันได้รบการ ้ ั ด ูแลอย่างไร ซํ้าเติมเขา ว่ากล่าวหรือ ลงโทษ หรือเรานําแนวคิด “ การลงโทษ ระบบ ไม่ลงโทษตัวบ ุคคล ” มาใช้เพื่อให้ เกิดการบริหารจัดการความเสี่ยงที่มี ความส ุข และยังยืน การประเมินเรื่องนี้ ่ เปนสิ่งสําคัญ เพราะความเสี่ยงถ้าเราใช้ ็ ในแง่ลบหรือการลงโทษ แน่นอนว่าคงจะ ไม่มีใครกล้าที่จะรายงาน เพราะกลัวว่า ตนเองจะถ ูกลงโทษ เรืองนี้ตองหมัน ่ ้ ่ ประเมินบ่อยๆครับ
  • 14. Responsive/Respect : การตอบสนอง การตอบสนองเปนมิติค ุณภาพ ็ ในเชิงกระบวนการว่าตอบสนอง ต่อสิ่งที่ผรบผลงานให้ค ุณค่า ู้ ั อย่างไร (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั การประเมินเรืองการตอบสนองใน ่ เรืองความเสี่ยงได้แก่ ่ ประเมินว่าความเสี่ยงที่มีการ รายงานนันมีการตอบสนองในเรือง ้ ่ การแก้ไข/มาตรการในการปองกัน ้ มากน้อยเพียงใด โดยเฉพาะความ เสี่ยงที่ร ุนแรง หรือความเสี่ยงทาง กายภาพที่เสียภาพลักษณ์ของ โรงพยาบาล เรื่องนี้เปนสิงที่ ็ ่ ผูรายงานความเสี่ยงอยากเห็นว่า ้ สิ่งที่รายงานไปควรจะได้รบการ ั แก้ไข/ปรับปร ุง เพราะนันคือการ ่ กระตนการรายงานความเสี่ยง ุ้ อย่างหนึ่ง
  • 15. Safety : ความปลอดภัย ความปลอดภัยเปนมิติค ุณภาพ ็ ทังในเชิงกระบวนการและ ้ ผลลัพธ์ มีความสําคัญใน สถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั ความปลอดภัยคือหัวใจที่สาคัญที่ส ุด ํ ของการบริหารจัดการความเสี่ยง เพราะสิ่งนี้คือเปาหมายของการ ้ จัดการ เราสามารถประเมินความ ปลอดภัยที่เกิดขึ้นได้จาก ความเสี่ยงสําคัญ/ความเสี่ยงที่ร ุนแรง เกิดขึ้นซํ้าหรือไม่ เพราะความเสี่ยงเหล่านี้คือ ความเสี่ยงที่ทําอันตรายกับผูปวย และทําให้ ้่ ภาพลักษณ์ของโรงพยาบาลเสีย มาตรการในการปองกันที่กาหนดไว้ ้ ํ โดยเฉพาะความเสี่ยงที่สําคัญ ร ุนแรงที่ทําให้ ผูปวยเสียชีวิต ท ุพพลภาพของหน่วยงาน/ ้่ องค์กร ได้กาหนดไว้รดก ุม ครอบคล ุม มีการ ํ ั ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่องหรือไม่ เพราะสิ่งนี้จะทําให้ความปลอดภัยผูปวยมาก ้่ ขึ้น ความเสี่ยงที่กาหนดมาตรการปองกันแล้ว ํ ้ ต้องหมันทบทวนอยูเสมอว่ายังใช้ได้หรือไม่ ่ ่
  • 16. Timeliness : ความทันการณ์ ความทันการณ์เปนมิติค ุณภาพใน ็ เชิงกระบวนการ มีความสําคัญใน กรณีที่ตองการได้รบการด ูแล ้ ั ฉ ุกเฉินหรือเร่งด่วน หรือในกรณีที่ เวลาที่แตกต่างกันทําให้เกิดผล ลัพธ์ที่แตกต่างกัน (สรพ.) Facebook.com/suradet.sri การประย ุกต์ใช้กบความเสี่ยง ั ความทันการณ์ในด้านการบริหาร จัดการความเสี่ยงนันเราประเมินจาก ้ ความทันการณ์ในการรายงานความ เสี่ยงว่าความเสี่ยงได้รายงานตาม เวลาที่กาหนดไว้ตามลําดับความ ํ ร ุนแรงหรือไม่ ความทันการณ์ในการทํา RCA ว่า ความเสี่ยงสําคัญ/ร ุนแรง ได้รบการ ั ทํา RCA ตามเวลาที่กาหนดหรือไม่ ํ ความทันการในการกําหนด มาตรการในการปองกันว่าทําตาม ้ เวลาที่กาหนดไว้หรือไม่ ํ ความทันการณ์ในการจัดการความ เสี่ยงที่ปองกันไม่ได้ ไม่ว่าจะเปน ้ ็ เครืองมือ บ ุคลากร ความรู้ ่ ความสามารถ
  • 17. เหล่านี้คือตัวอย่างของ การ ประเมินความเสี่ยงด้วยมิติ ค ุณภาพ ที่สามารถนํามา ดัดแปลงเพื่อให้เห็นถึงความลม ุ่ ลึกในการค้นหาโอกาสที่จะ พัฒนาและปรับปร ุงการทํางาน ให้ดีข้ ึน พัฒนาขึ้น และที่สาคัญ ํ การใช้เครืองมือต่างๆนัน อย่า ่ ้ ยึดติดกับเครื่องมือ เพราะ เครืองมือต่างๆ สามารถนํา ่ ประย ุกต์ใช้ และปรับใช้ได้ท ุก โอกาส เพียงแต่การใช้ตองตรง ้ กับบริบท ตรงกับเปาหมาย และ ้ ตรงกับความจําเปนที่เราจะ ็ นํามาใช้ครับ Facebook.com/suradet.sri