SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
สำ�นักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
<10%
10% - <20%
20% - <30%
30% - <40%
>40%
สำ�นักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
คู่มือ
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
	
ที่ปรึกษา
ดร.นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ	 	 ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคไม่ติดต่อ 		 กรมควบคุมโรค
แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ			 รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคไม่ติดต่อ 	 กรมควบคุมโรค
นายแพทย์สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ 	 คณะแพทยศาสตร์ 			 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
นายแพทย์ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ 	 คณะแพทยศาสตร์ 			 มหาวิทยาลัยมหิดล
นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง 	 		 หัวหน้ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง		 กรมควบคุมโรค
คณะผู้จัดท�ำ
นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง 	
นางสาวหทัยชนก ไชยวรรณ		
นางสาววิภารัตน์ ค�ำภา
นางสาวณัฐสุดา แสงสุวรรณโต
รวบรวมและจัดพิมพ์โดย 			
ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ
อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000	
โทรศัพท์: 0-2590-3987 โทรสาร: 0-2590-3988 	
พิมพ์ครั้งที่ 1 มกราคม 2559
จ�ำนวน 10,000 เล่ม
พิมพ์ที่ ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก กรุงเทพฯ
คำ�นำ�
	
	 โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นโรคที่มีความส�ำคัญเนื่องจากเป็นสาเหตุการตายสูง
อันดับ 1 ของคนไทยเมื่อปี 2553 และปี 2557 คนไทยตายด้วยโรคหัวใจและ
หลอดเลือดสูงถึง58,681คนหรือเฉลี่ยชั่วโมงละ7คนหากเรายังนิ่งเฉยไม่หันมาใส่ใจ
เรื่องของสุขภาพจะมีอีกซักกี่คนที่ต้องเสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว
	 ดังนั้น ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ จึงได้จัดท�ำคู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด ส�ำหรับ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ซึ่งคู่มือฉบับนี้
ได้รวบรวมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง
โรคเบาหวาน คลอเลสเตอรอลในเลือดสูง การวัดความดันโลหิตและการแปลผล
ที่ถูกต้อง การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยใช้ตารางสี รวมถึง
ค�ำแนะน�ำหลังการประเมิน เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ใช้เป็นคู่มือ
ในการดูแลคนในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ
และหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้า
ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ
กรมควบคุมโรค
มกราคม 2559
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
ก
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
ข
สารบัญ
											 หน้า
บทที่ 1 มารู้จักโรคหัวใจและหลอดเลือดกันเถอะ	
	 	 โรคหัวใจขาดเลือด		 1
		 - อาการของโรคหัวใจขาดเลือด	 1
		 - อาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือด 	 1
	 	 โรคหลอดเลือดสมอง		 2
		 - อาการของโรคหลอดเลือดสมอง	 2
		 - อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง 	 2
	 	 สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือด	 3
	 และโรคหลอดเลือดสมอง
บทที่ 2	 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด		
		โดยใช้ตารางสี
	 	 ข้อดีของการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ	 11	
	 	 ขั้นตอนการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ	 12	
	 	 ตัวอย่างการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ	 21
บทที่ 3	 ค�ำแนะน�ำในแต่ละปัจจัยเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม	
		เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
	 	 ค�ำแนะน�ำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ	 23	
	 	 การติดตามหลังการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ 	 25
	 	 เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง 	 26
เอกสารอ้างอิง	 				 27
1
	 โรคหัวใจและหลอดเลือด ประกอบด้วย โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง
(อัมพฤกษ์ อัมพาต)
โรคหัวใจขาดเลือด
	 เกิดจากผนังด้านในของหลอดเลือดมีไขมันสะสม พอกตัวหนาขึ้น หลอดเลือด
จะตีบและแข็งตัว จนการไหลเวียนเลือดตีบตันลงไป เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
เป็นผลท�ำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
อาการของโรคหัวใจขาดเลือด
	 	 เจ็บแน่นหน้าอก คล้ายมีอะไรมากดทับ ระยะเวลาประมาณ 30 วินาที
		 ถึง 15 นาที
	 	 มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ หายใจไม่ออก นอนราบไม่ได้
	 	 เวียนศีรษะหน้ามืดจะเป็นลมหรือหมดสติเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
อาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือด
	 1.	 เจ็บกลางหน้าอก บริเวณเหนือลิ้นปี่ขึ้นมาเล็กน้อย เจ็บแบบจุกแน่น
คล้ายมีอะไรมาบีบ หรือกดทับไว้
	 2.	 อาการเจ็บมักร้าวไปที่คอหรือขากรรไกร หรือไหล่ซ้ายมักเป็นมาก
ขณะออกก�ำลังกาย
	 3.	 บางคนอาจมีอาการจุกแน่นลิ้นปี่เหมือนอาหารไม่ย่อย
บทที่ 1
มารู้จักโรคหัวใจและหลอดเลือด
กันเถอะ
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
2
โรคหลอดเลือดสมอง
	 หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ซึ่งเกิดจาก
หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบตัน หรือแตก จนเกิดการท�ำลาย หรือตายของเนื้อสมอง
อาการของโรคหลอดเลือดสมอง
	 อาการขึ้นอยู่กับต�ำแหน่งที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง อาการที่พบบ่อยคือ
การอ่อนแรงบริเวณใบหน้า แขนขา ส่วนมากเป็นข้างเดียว และเกิดขึ้นโดยเฉียบพลัน
อาการอื่นที่อาจเกิดร่วม ได้แก่ ชาบริเวณใบหน้า แขนขา มองเห็นไม่ชัด เห็นภาพซ้อน
การคิดสับสน พูดล�ำบาก หรือฟังคนอื่นเข้าใจยาก ปวดศีรษะรุนแรง เดินล�ำบาก งุนงง
ทรงตัวไม่ได้เหมือนปกติ เป็นลมหมดสติ
อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง
	 1.	 F = Face เวลายิ้มพบว่ามุมปากข้างหนึ่งตก
	 2.	 A = Arms ยกแขนไม่ขึ้น 1 ข้าง
	 3.	 S=Speechมีปัญหาด้านการพูดแม้ประโยคง่ายๆพูดแล้วคนฟังฟังไม่รู้เรื่อง
	 4.	 T = Time ถ้ามีอาการเหล่านี้ ให้รีบไปโรงพยาบาล โดยด่วน ภายใน 4 ชั่วโมง
จะได้ช่วยรักษาชีวิตและสามารถฟื้นฟูกลับมาได้เป็นปกติหรือใกล้เคียงคนปกติ
มากที่สุด
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
3
	 ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้
	 กรณีที่มีปัจจัยเสี่ยงนี้ร่วมด้วยยิ่งต้องพึงระวัง และใส่ใจการด�ำเนินชีวิตเพื่อลด
ความเสี่ยง
ผู้หญิงอายุเกิน 55 ปี
อายุที่เพิ่มขึ้น
พันธุกรรม
ซึ่งในผู้ชายอายุเกิน 45 ปี
เพศชายเสี่ยงกว่า
เพศหญิง
ชาย หญิง
พ่อ แม่
ลูก
1
ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถ
ปรับเปลี่ยนได้
สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
4
	 ปัจจัยเสี่ยงซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้
	 ปัจจัยนี้เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้คนไทยเป็นโรคนี้กันมากขึ้นและเกิดในอายุที่น้อย
ลงเนื่องจากรูปแบบการด�ำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมีความไม่
สมดุลระหว่างการกินและการออกแรง ซึ่งปัจจัยด้านพฤติกรรมดังกล่าวส่งเสริมให้เกิด
ภาวะน�้ำหนักเกิน อ้วน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และส่งผลให้เกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือดตามมา
การกินมากเกินพอดี
ไม่ถูกสัดส่วน
กินผักผลไม้น้อย
เครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สูบบุหรี่ เคลื่อนไหวร่างกาย
น้อยลง
ใช้เครื่องอ�ำนวย
ความสะดวกมากขึ้น
กินอาหารรสเค็ม
หวาน และมันสูง
2
ปัจจัยเสี่ยง
ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
5
	 1.	ภาวะความดันโลหิตสูง
		 เกิดจากสภาวะผิดปกติที่มีระดับความดันโลหิตสูงกว่าระดับปกติของคนทั่วไป
คือ ค่าความดันโลหิตตั้งแต่ 120/80 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป ถือว่าเป็นสภาวะที่ต้อง
ท�ำการควบคุม แต่ถ้าวัดความดันโลหิต ได้ค่าตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป
ถือว่ามีภาวะความดันโลหิตสูง
		อาการของโรคความดันโลหิตสูง
		 โรคความดันโลหิตสูงส่วนมากจะไม่แสดงอาการ แต่บางรายที่อาจมีอาการ
เตือน เช่น ปวดมึนท้ายทอย วิงเวียน ปวดศีรษะตุบๆ หากเป็นมานานหรือความดัน
โลหิตสูง มากๆอาจมีอาการเลือดก�ำเดาไหล ตามัว ใจสั่น มือเท้าชา
		การแปลผลค่าความดันโลหิต
			 ค่าความดันโลหิตตัวบน (ซิสโตลิก) คือ ค่าความดันโลหิตขณะที่หัวใจ
บีบตัว
			 ความดันโลหิตตัวล่าง (ไดแอสโตลิก) คือ ค่าความดันโลหิตขณะหัวใจ
คลายตัว
ค่าตัวบน
(ซิสโตลิก)
ค่าตัวล่าง
(ไดแอสโตลิก)
การแปลผล
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
120 มิลลิเมตรปรอท
น้อยกว่าหรือเท่ากับ
80 มิลลิเมตรปรอท
อยู่ในเกณฑ์ปกติ
มากกว่าหรือเท่ากับ
140 มิลลิเมตรปรอท
มากกว่าหรือเท่ากับ
90 มิลลิเมตรปรอท
อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
6
การวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง
	 	 ไม่พูดกัน ไม่เกร็งมือ เพราะจะท�ำให้การเต้นของหัวใจไม่สม�่ำเสมอ ค่าความดัน
โลหิตอาจเปลี่ยนไป
	 	 วัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน 3-5 นาที ในรายที่พบความ
ผิดปกติโดยน�ำค่าซิสโตลิก(ค่าตัวบน) ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 บวกกันแล้วหาร 2
จะเท่ากับค่าเฉลี่ยซิสโตลิก (ค่าตัวบน) และค่าไดแอสโตลิก (ค่าตัวล่าง)
ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 บวกกันแล้วหาร 2 จะเท่ากับค่าเฉลี่ย ไดแอสโตลิก
(ค่าตัวล่าง)
	 	 แนะน�ำให้วัดที่แขนทั้งสองข้างในการวัดความดันโลหิตในครั้งแรก และถ้า
ค่าความดันโลหิตที่วัดต่างกันเกิน 20 มิลลิเมตรปรอท ให้ส่งต่อพยาบาล
หรือแพทย์
ข้อควรรู้
	 	 ควรอยู่ในห้องที่อุณหภูมิไม่ร้อนหรือหนาวเกินไป
	 	 ไม่ควรใส่เสื้อแขนยาวขณะวัดความดันโลหิต
	 	 ขณะวัดความดันโลหิตไม่ควรมีความเครียด หรือปวดปัสสาวะ
	 	 ควรงดสูบบุหรี่และดื่มกาแฟก่อนวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 30 นาที
	 	 ควรนั่งพัก 5 นาที ก่อนวัดความดันโลหิต
	 	 ห้ามนั่งไขว่ห้าง ควรนั่งหลังพิงพนัก เท้า 2 ข้างควรอยู่บนพื้น
	 2.	โรคเบาหวาน
		 โรคเบาหวาน เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เพียงพอ หรือเมื่อ
ร่างกายไม่สามารถใช้อินซูลินที่ผลิตออกมาได้ ท�ำให้น�้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอยู่เป็นเวลา
นาน ระดับน�้ำตาลมากกว่าหรือเท่ากับ 126 มิลลิกรัมต่อลิตร (ขณะอดอาหาร 8 ชั่วโมง
หรือมากกว่า)ในกรณีที่ระดับน�้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารอยู่ในช่วง100-125มิลลิกรัม
ต่อลิตร ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
7
	 อาการของโรคเบาหวาน
ปัสสาวะบ่อยและมาก
ในตอนกลางคืน
คอแห้ง กระหายน�้ำ หิวบ่อย กินจุ น�้ำหนักลด
เป็นแผลง่ายแต่หายยาก คันตามผิวหนัง ตาพร่ามัว
ชาตามปลายมือปลายเท้า และความรู้สึกทางเพศลดลง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
8
	 3.	โคเลสเตอรอลในเลือดสูงหรือไขมันในเลือดผิดปกติ
		 ไขมันคือสารอาหารจ�ำเป็นที่ร่างกายใช้เป็นพลังงานสร้างฮอร์โมนและวิตามิน
บางชนิด ไขมันในเลือดมาจากอาหารที่เรากินและร่างกายสร้างขึ้น การวัดระดับไขมัน
ในเลือด วัดเป็นระดับโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ ระดับไขมันในเลือดที่ตรวจวัด
คือ
			 “ไขมันรวม” หรือ โคเลสเตอรอลรวม
			 “ไขมันไม่ดี” หรือ แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล (LDL–C) หากมี
จ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
			 “ไขมันดี” หรือ เอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอล (HDL-C) เป็นโคเลสเตอรอล
ที่ถูกล�ำเลียงออกจากอวัยวะต่างๆ และผนังหลอดเลือด ท�ำให้ลดการอุดตันของ
หลอดเลือด
			 “ผู้ช่วยผู้ร้าย” หรือไตรกลีเซอไรด์ หากมีปริมาณมากยิ่งเพิ่มความเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ
ค่าปกติไขมันที่ควรทราบ
ชนิดไขมัน ค่าปกติ
โคเลสเตอรอล (ไขมันรวม) ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร
LDL โคเลสเตอรอล (ไขมันไม่ดี) ไม่ควรเกิน 130 มิลลิกรัมต่อลิตร
HDL โคเลสเตอรอล ในผู้หญิง (ไขมันดี)
HDL โคเลสเตอรอล ในผู้ชาย (ไขมันดี)
ควรสูงกว่า 50 มิลลิกรัมต่อลิตร
ควรสูงกว่า 40 มิลลิกรัมต่อลิตร
ไตรกลีเซอไรด์ ไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัมต่อลิตร
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
9
	 4.	ภาวะน�้ำหนักเกินโดยค่าดัชนีมวลกายที่เหมาะสมในคนไทยควรอยู่ระหว่าง
18.5 – 22.9 กิโลกรัม/ตารางเมตร
	 5.	สูบบุหรี่
	 6.	มีประวัติของพ่อ แม่ พี่ น้อง สายตรง ป่วยเป็นโรคหัวใจขาดเลือด หรือ
โรคหลอดเลือดสมอง
	 7.	รอบเอวเกิน
		วิธีการวัดรอบเอวที่ถูกต้อง
		 1.	 อยู่ในท่ายืน เท้าทั้ง 2 ห่างกัน ประมาณ 10 เซนติเมตร
		 2.	 ใช้สายวัด วัดรอบเอวโดยผ่านสะดือ
		 3.	 วัดในช่วงหายใจออก(ท้องแฟบ) โดยให้สายวัดแนบล�ำตัว ไม่รัดแน่นและ
ให้ระดับของสายวัดที่รอบเอววางอยู่ในแนวขนานกับพื้น
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
10
ผลเสียที่เกิดจากภาวะน�้ำหนักเกินหรืออ้วนลงพุง ได้แก่
	 -	 ท�ำให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบจึงเกิดโรคหัวใจได้ง่าย
	 -	 ไตขับเกลือออกได้น้อยลง ท�ำให้เกิดความดันโลหิตสูง
	 -	 ไขมันไตรกลีเซอไรด์สูงท�ำให้เกิดหลอดเลือดตีบหรืออุดตันท�ำให้เลือดไปเลี้ยง
ลดลง
การคำ�นวณค่ารอบเอว :
	 สูตรค�ำนวณ =
การแปลผล
เพศ รอบเอวปกติ
ผู้หญิง ไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว
ผู้ชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว
ส่วนสูง(เซนติเมตร)
2
11
	 เป็นการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในระยะ
10 ปีข้างหน้าเพื่อให้ประชาชนทราบความเสี่ยงของตนเอง โดยแบ่งความเสี่ยง
เป็น 5 ระดับ คือ
ข้อดีของการประเมินโอกาสเสี่ยง
	 1.	 เป็นการประเมินโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคอัมพฤกษ์
อัมพาตในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า
	 2.	 ทราบความเสี่ยงของตนเองและปัจจัยเสี่ยงที่ต้องแก้ไข
	 3.	 ได้รับค�ำแนะน�ำในการจัดการตนเองเบื้องต้น
บทที่ 2
การประเมินโอกาสเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
โดยใช้ตารางสี
	 <10%	 10% - <20%	 20% - <30%	 30% - <40%	 >40%
	 ต�่ำ	 ปานกลาง	 สูง	 สูงมาก	 สูงอันตราย
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
12
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
โดยใช้ตารางสี
ขั้นตอนที่ 1 เลือกตารางสีเพื่อประเมิน โดย
	 •	 ถ้าไม่ทราบผล 	 cholesterol ในเลือด ให้ใช้ตารางสีที่ 1
	 •	 ถ้าทราบผล 	 cholesterol ในเลือด ให้ใช้ตารางสีที่ 2
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
1ไม่ทราบผล
โคเลสเตอรอล
ตารางสีที่ 1 กรณีไม่ทราบผลโคเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเลือด
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
13
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
1ทราบผล
โคเลสเตอรอล
ตารางสีที่ 2 กรณีทราบผลโคเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเลือด
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
14
ขั้นตอนที่ 2 	 เลือกตารางว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่
หรือ
2
2
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
15
ขั้นตอนที่ 3 	 เลือกเพศชายหรือหญิง
3
3
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
16
ขั้นตอนที่4เลือกการสูบบุหรี่ว่าสูบหรือไม่สูบผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ยาเส้นยาสูบบุหรี่ซิกาแรต
บุหรี่ซิการ์ในปัจจุบันและผู้ที่หยุดสูบไม่เกิน 1 ปีก่อนการประเมิน เลือก ช่องสูบบุหรี่
4
4
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
17
5
5
ขั้นตอนที่ 5 	 เลือกช่วงอายุ
ช่วงอายุ (ปี) เลือกช่อง
<40-49 40
50-54 50
55-59 55
60-64 60
65 ปีขึ้นไป 65
ตารางการเลือกช่วงอายุ
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
18
ขั้นตอนที่ 6	 เลือกค่าความดันโลหิตตัวบน โดยใช้จากการวัด 2 ครั้ง 2 ช่วงเวลาห่างกัน
อย่างน้อย 1 สัปดาห์ (ไม่ใช่ก่อนการรักษา)
6
6
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
19
ขั้นตอนที่ 7 เลือกค่ารอบเอว : หน่วย ซม. น้อยกว่า หรือมากกว่าส่วนสูงหาร 2
		 กรณีไม่ทราบค่าระดับไขมัน (cholestoral)
7
7
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
20
ขั้นตอนที่ 8 ค่าระดับไขมัน (cholesteral) กรณีทราบค่าระดับไขมัน (cholesteral)
8
8
ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
21
ตัวอย่าง การประเมินในกรณีทราบผลระดับคลอเรสเตอรอล
	 นายช้าง ใจดี อายุ 64 ปี เป็นเบาหวาน สูบบุหรี่ โดยได้รับการตรวจระดับ
คลอเรสเตอรอลได้ค่าเท่ากับ225มิลลิกรัมต่อลิตรและมีค่าระดับความดันโลหิตเท่ากับ
140/80 มิลลิเมตรปรอท จากนั้นใช้ค่าความดันโลหิตตัวบนมาประเมินโอกาสเสี่ยง คือ
ค่า 140 ได้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ....
แปลผลการประเมินโอกาสเสี่ยง
นายช้าง ใจดี อายุ 64 ปี ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
ในระยะ10ปีข้างหน้ามีระดับความเสี่ยงอยู่ในระดับสูงค่าระหว่าง20%-<30%
ควรได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การปรับ
เปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยทุก 3 เดือน และติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการ
เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดอย่างน้อยทุก 6 เดือน
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
22
ตัวอย่าง การประเมินในกรณีไม่ทราบผลระดับคลอเรสเตอรอล
	 	 ยายอ้อย หวานฉ�่ำ อายุ 72 ปี ไม่เป็นเบาหวาน ไม่สูบบุหรี่ ไม่มีผลการตรวจ
ระดับคลอเรสเตอรอล โดยมีค่าระดับความดันโลหิต เท่ากับ 124/85 มิลลิเมตรปรอท
ใช้ค่าความดันโลหิตตัวบนมาประเมินโอกาสเสี่ยง คือค่า 124 และยายอ้อยสูง
148 เซนติเมตร ขนาดรอบเอว เท่ากับ 70 เซนติเมตร ได้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ...
แปลผลการประเมินโอกาสเสี่ยง
ยายอ้อย หวานฉ�่ำ อายุ 72 ปี ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและ
หลอดเลือดในระยะ 10 ปีข้างหน้า มีระดับความเสี่ยงอยู่ในระดับต�่ำ ค่า <10%
ควรได้รับการติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อย
ทุก 6 เดือน และติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
อย่างน้อยทุกปี
23
คำ�แนะนำ�ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
	 การป้องกันการเกิดหัวใจและหลอดเลือดสมองหลังการประเมินโอกาสเสี่ยง
โดยยึดหลัก 3 อ. (อาหาร ออกก�ำลังกาย อารมณ์) และ 2 ส. (ไม่สูบบุหรี่ และลด
การดื่มสุรา)
อ.อาหาร
	 1. ลดอาหารไขมันสูง
		 ลดการกินไขมันที่มาจากสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น เนื้อ นม เนย
ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่กินยาลดไขมันอยู่สามารถกินไข่ทั้งฟอง 2 ถึง 3 ฟองต่อสัปดาห์
ลดกินของมันของทอดอาหาร งดกินขนมปัง เค้ก หรือของทอดซ�้ำซึ่งมีกรดไขมันทรานส์มาก
ควรใช้นํ้ามันมะกอก นํ้ามันร�ำข้าวหรือกินไขมันจากปลาทะเลและปลานํ้าจืด
	 2.	 ลดอาหารเค็มหรือมีเกลือโซเดียมสูง
		 กินอาหารที่มีรสเค็มลดลงครึ่งหนึ่งและลดเครื่องดื่มที่มีรสเค็มลง เช่น
เครื่องดื่มผสมเกลือแร่ ไม่เติมนํ้าปลา ซีอิ๋ว เต้าเจี้ยว กะปิ ผงชูรสในอาหาร
บทที่ 3
คำ�แนะนำ�ในแต่ละปัจจัยเสี่ยง
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ
ลดโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ
และหลอดเลือด
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
24
	 3.	 ลดอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานหรือนํ้าตาลสูง
		 หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นํ้าอัดลม นํ้าหวาน เครื่องดื่มชูก�ำลัง
นํ้าผลไม้ ลดกินนํ้าตาลไม่เกินวันละ 6 ถึง 8 ช้อนชา
	 4.	 เพิ่มผักสดและผลไม้ที่ไม่หวานจัด
		 รับประทานผักสดมื้อละ 2 ฝ่ามือพูนหรือผักสุกมื้อละ 1 ฝ่ามือพูน ผลไม้
ไม่หวานจัด 15 ค�ำต่อวันหรือรับประทานผักผลไม้อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมต่อวัน
อ.ออกก�ำลังกาย
	 เพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น เดินเร็ว อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน 5 ครั้งต่อ
สัปดาห์หรือมีการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจ�ำวันเวลาว่างหน้าทีวีและการท�ำงาน
	 การออกก�ำลังที่จะป้องกันโรค เช่น การออกกก�ำลังกายแบบแอโรบิค จะท�ำให้
หัวใจแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ควรออกสม�่ำเสมอ มากกว่า 30 นาทีต่อวัน
วิธีออกก�ำลังกายแบบแอโรบิค เช่น การเดิน การวิ่ง การวิ่งบนสายพาน การขึ้นบันได
การว่ายน�้ำ การขี่จักรยาน
อ.อารมณ์
	 เมื่อรู้สึกเครียด คนเราจะมีวิธีผ่อนคลายความเครียดที่แตกต่างกัน ซึ่งวิธี
คลายเครียดโดยทั่วไปมีหลากหลายรูปแบบเช่นนอนหลับพักผ่อนพูดคุยพบปะเพื่อนฝูง
ออกกําลังกายยืดเส้นยืดสายเต้นแอโรบิคโยคะฟังเพลงร้องเพลงเล่นดนตรีดูโทรทัศน์
ดูภาพยนตร์ อ่านหนังสือ แต่งกลอน ท่องเที่ยว
ส.ไม่สูบบุหรี่
	 ผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่ก็ไม่ควรเริ่มสูบ ส่วนผู้ที่สูบอยู่แล้วควรหยุดสูบบุหรี่ (ยาเส้น
บุหรี่ไฟฟ้า) รวมถึงไม่สูดดมควันบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้บุคคลที่สูบบุหรี่
และถ้าต้องการเลิกบุหรี่สามารถขอรับค�ำปรึกษาได้ที่สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน
หรือสามารถโทรปรึกษาได้ที่ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์ 1600
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
25
ส.ลดดื่มสุรา : หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์หรือจ�ำกัดปริมาณแอลกอฮอล์
ที่ดื่ม
	 ลดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ โดย ชาย ไม่ควรดื่มเกิน 2 หน่วย
มาตรฐานต่อวัน และหญิงไม่ควรดื่มเกิน 1 หน่วยมาตรฐานต่อวัน
	 หนึ่งดื่มมาตรฐาน คือเครื่องดื่มที่มีปริมาณของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 10 กรัม
โดยใช้ปริมาณที่เท่ากันของแอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มเป็นมาตรฐานการวัด
การติดตามหลังประเมินผลโอกาสเสี่ยต่อการเกิดโรคหัวใจและ
หลอดเลือด
การติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
ปัจจัยที่ติดตาม
กลุ่มเสี่ยง
ปานกลาง
<20%
กลุ่มเสี่ยง
สูง
20 - <30%
กลุ่มเสี่ยง
สูงมาก
>30%
1. การวัดความดันโลหิต
อย่างน้อยทุกๆ
6 เดือน
อย่างน้อยทุกๆ
3 เดือน
อย่างน้อยทุกๆ
1-2 เดือน
2. วัดรอบเอว
3. อาหาร (รสหวาน มัน เค็ม)
4.ออกก�ำลังกาย/การเคลื่อนไหวร่างกาย
5.บุหรี่
6. การตรวจสอบการใช้ยา
7. การกระตุ้นให้พบเจ้าหน้าที่ ตามนัด
การติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk)
	 กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (<20%)		 ควรได้รับการประเมินซ�้ำ อย่างน้อยปีละ 1ครั้ง
	 กลุ่มเสี่ยงสูง (20% - 30%)		 ควรได้รับการประเมินซ�้ำ ทุกๆ 6 เดือน
	 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก (>30%)		 ควรได้รับการประเมินซ�้ำ ทุกๆ 3 เดือน
เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิต (มม.ปรอท) < 140/80 < 140/90
ความดันโลหิตเฉลี่ยที่บ้าน(มม.ปรอท) < 135/75 < 135/85
ระดับน�้ำตาลในเลือด
FPG (มก./ดล.)ตามระดับความควบคุม *	 70 - 110 (เข้มงวดมาก)
90 - < 130 (เข้มงวด)
< 150 (ไม่เข้มงวด)
70 - 99
HbA1c (%) < 7
ไขมันในเลือด
High Density Lipoprotein (HDL) (มก./ดล.) ≥ 40 (ชาย)
≥ 50 (หญิง)
≥ 40 (ชาย)
≥ 50 (หญิง)
Triglycerides (มก./ดล.) < 150
Total Cholesterol (TC) (มก./ดล.) < 280 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงปานกลาง)
< 200 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเสี่ยงสูงมาก)
Low Density Lipoprotein (LDL)
(มก./ดล.)
< 160 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงปานกลาง
< 100 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูง)
< 70 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงมาก)
การสูบบุหรี่ งดสูบและดมควันบุหรี่
น�้ำหนักและรอบเอว ดัชนีมวลกาย 18.5 – 22.9 กก./ม2
หรือใกล้เคียง
รอบเอว น้อยกว่าส่วนสูง/2 (เซนติเมตร)
การออกก�ำลังกาย **หนักระดับปานกลาง 30 นาทีต่อครั้ง 5 ครั้งต่อสัปดาห์
การบริโภคอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้
แอลกอฮอล์ หยุดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์***ในรายที่หยุดดื่มไม่ได้ แนะน�ำให้ลดการดื่มลง
(ผู้ชาย < 2 หน่วยมาตรฐาน ; ผู้หญิง < 1 หน่วยมาตรฐาน)
เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง
		ในการจัดบริการหลังการประเมิน เมื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแล้ว ได้จัด กลุ่มเสี่ยงเป็น 3 กลุ่มได้แก่
		 กลุ่มเสี่ยงปานกลาง		 หมายถึง	 ผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี < 20 %
		 กลุ่มเสี่ยงสูง 	 หมายถึง 	 ผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี 20% - < 30 %
		 กลุ่มเสี่ยงสูงมาก 	 หมายถึง 	 ผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี > 30%
	 โดยมีเป้าหมายการให้บริการเพื่อเกิดผลลัพธ์รายบุคคล ดังตาราง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
26
เอกสารอ้างอิง
1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือประกอบการเรียนรู้
การพัฒนาศักยภาพอสม.และชุมชนในการป้องกันโรคไตเพื่อสนับสนุนระบบ
บริการสุขภาพ. กรุงเทพฯ : บริษัท บอร์น ทู บี พับลิชชิ่ง จ�ำกัด, 2558.
2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือ อสม.นักจัดการสุขภาพ
ชุมชน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชน
สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2555.
3. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การประเมินโอกาสเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง.
โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2558.
4.ส�ำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข.รู้ทันมหันตภัยโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรัง...ภัยเงียบใกล้ตัว. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2555.
5. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางลดเสี่ยง...
เลี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์
ทหารผ่านศึก, 2557.
6. สาระสุขภาพ Infographic. กรุงเทพ (online). โดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน
การสร้างเสริมสุขภาพ.สืบค้นข้อมูลจากwww.thaihealth.or.th/content/
23940 ลดโรคลดพุง เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2558
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
27
คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด
โรคหัวใจและหลอดเลือด
สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)
สำ�นักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
<10%
10% - <20%
20% - <30%
30% - <40%
>40%

More Related Content

What's hot

ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
Rofus Yakoh
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
techno UCH
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
Maytinee Beudam
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
Weerawan Ueng-aram
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
Patamaporn Seajoho
 

What's hot (20)

คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Warning sign
Warning signWarning sign
Warning sign
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
งานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวานงานนำเสนอเบาหวาน
งานนำเสนอเบาหวาน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชนคู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
คู่มือดำเนินงานดูแลผู้ป่วยจิตเวชเรื้อรังในชุมชน
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 

Similar to คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.

angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfangsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
ssuser656f851
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
Komen Chawarit
 
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfauthor_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
ssuser9f38da
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
Puku Wunmanee
 

Similar to คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม. (20)

Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPHCardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of MoPH
 
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
Cardiovasculare risk among staff working at the Central of Ministry of Public...
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014Update cardiac prevention rehabilitation 2014
Update cardiac prevention rehabilitation 2014
 
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdfangsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
angsu,+##default.groups.name.manager##,+3+ชนิดา+มัททวางกูร.pdf
 
Hom 2014 th_update_june_fullversion
Hom 2014 th_update_june_fullversionHom 2014 th_update_june_fullversion
Hom 2014 th_update_june_fullversion
 
Analytical Study
Analytical StudyAnalytical Study
Analytical Study
 
Cpg std 2558
Cpg std 2558Cpg std 2558
Cpg std 2558
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560Cpg เบาหวาน 2560
Cpg เบาหวาน 2560
 
อาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือดอาหารตามหมู่เลือด
อาหารตามหมู่เลือด
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
 
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdfauthor_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
author_pue,+Journal+manager,+13_Warissara152-165 (1).pdf
 
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
หนังสือ สนองน้ำพระทัย ๕๔
 
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
ความดันโลหิตสูงมหันตภัยเงียบ
 
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
Thai guidelines on the treatment of hypertension 2015
 
Thai guideline on the hypertension 2015
Thai  guideline on the hypertension 2015Thai  guideline on the hypertension 2015
Thai guideline on the hypertension 2015
 
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
แนวทางการรักษาโรคความดันโลหิตสูงของไทย ปี 2558
 

More from Utai Sukviwatsirikul

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ การบริหารคน ของคุณ รวิศ  หาญอุตสาหะ
การบริหารคน ของคุณ รวิศ หาญอุตสาหะ
 

คู่มือ การประเมินโรคหัวใจและหลอดเลือด สำหรับ อสม.

  • 3. คู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด สำ�หรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ที่ปรึกษา ดร.นายแพทย์ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อ�ำนวยการส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค นายแพทย์สมเกียรติ แสงวัฒนาโรจน์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นายแพทย์ปริญญ์ วาทีสาธกกิจ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง หัวหน้ากลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง กรมควบคุมโรค คณะผู้จัดท�ำ นางณัฐธิวรรณ พันธ์มุง นางสาวหทัยชนก ไชยวรรณ นางสาววิภารัตน์ ค�ำภา นางสาวณัฐสุดา แสงสุวรรณโต รวบรวมและจัดพิมพ์โดย ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์: 0-2590-3987 โทรสาร: 0-2590-3988 พิมพ์ครั้งที่ 1 มกราคม 2559 จ�ำนวน 10,000 เล่ม พิมพ์ที่ ส�ำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก กรุงเทพฯ
  • 4. คำ�นำ� โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นโรคที่มีความส�ำคัญเนื่องจากเป็นสาเหตุการตายสูง อันดับ 1 ของคนไทยเมื่อปี 2553 และปี 2557 คนไทยตายด้วยโรคหัวใจและ หลอดเลือดสูงถึง58,681คนหรือเฉลี่ยชั่วโมงละ7คนหากเรายังนิ่งเฉยไม่หันมาใส่ใจ เรื่องของสุขภาพจะมีอีกซักกี่คนที่ต้องเสียชีวิตด้วยโรคดังกล่าว ดังนั้น ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ จึงได้จัดท�ำคู่มือการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิด โรคหัวใจและหลอดเลือด ส�ำหรับ อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ซึ่งคู่มือฉบับนี้ ได้รวบรวมความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน คลอเลสเตอรอลในเลือดสูง การวัดความดันโลหิตและการแปลผล ที่ถูกต้อง การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดโดยใช้ตารางสี รวมถึง ค�ำแนะน�ำหลังการประเมิน เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ใช้เป็นคู่มือ ในการดูแลคนในชุมชนที่ตนเองรับผิดชอบเพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจ และหลอดเลือดใน 10 ปีข้างหน้า ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค มกราคม 2559 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ก
  • 5. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ข สารบัญ หน้า บทที่ 1 มารู้จักโรคหัวใจและหลอดเลือดกันเถอะ โรคหัวใจขาดเลือด 1 - อาการของโรคหัวใจขาดเลือด 1 - อาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือด 1 โรคหลอดเลือดสมอง 2 - อาการของโรคหลอดเลือดสมอง 2 - อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง 2 สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือด 3 และโรคหลอดเลือดสมอง บทที่ 2 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยใช้ตารางสี ข้อดีของการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ 11 ขั้นตอนการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ 12 ตัวอย่างการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ 21 บทที่ 3 ค�ำแนะน�ำในแต่ละปัจจัยเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อลดโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ค�ำแนะน�ำในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 23 การติดตามหลังการประเมินโอกาสเสี่ยงฯ 25 เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง 26 เอกสารอ้างอิง 27
  • 6. 1 โรคหัวใจและหลอดเลือด ประกอบด้วย โรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง (อัมพฤกษ์ อัมพาต) โรคหัวใจขาดเลือด เกิดจากผนังด้านในของหลอดเลือดมีไขมันสะสม พอกตัวหนาขึ้น หลอดเลือด จะตีบและแข็งตัว จนการไหลเวียนเลือดตีบตันลงไป เลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจลดลง เป็นผลท�ำให้เกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด อาการของโรคหัวใจขาดเลือด เจ็บแน่นหน้าอก คล้ายมีอะไรมากดทับ ระยะเวลาประมาณ 30 วินาที ถึง 15 นาที มีอาการหายใจเหนื่อยหอบ หายใจไม่ออก นอนราบไม่ได้ เวียนศีรษะหน้ามืดจะเป็นลมหรือหมดสติเนื่องจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ อาการเตือนของโรคหัวใจขาดเลือด 1. เจ็บกลางหน้าอก บริเวณเหนือลิ้นปี่ขึ้นมาเล็กน้อย เจ็บแบบจุกแน่น คล้ายมีอะไรมาบีบ หรือกดทับไว้ 2. อาการเจ็บมักร้าวไปที่คอหรือขากรรไกร หรือไหล่ซ้ายมักเป็นมาก ขณะออกก�ำลังกาย 3. บางคนอาจมีอาการจุกแน่นลิ้นปี่เหมือนอาหารไม่ย่อย บทที่ 1 มารู้จักโรคหัวใจและหลอดเลือด กันเถอะ
  • 7. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 2 โรคหลอดเลือดสมอง หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต คือ ภาวะที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ซึ่งเกิดจาก หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมองตีบตัน หรือแตก จนเกิดการท�ำลาย หรือตายของเนื้อสมอง อาการของโรคหลอดเลือดสมอง อาการขึ้นอยู่กับต�ำแหน่งที่สมองขาดเลือดไปเลี้ยง อาการที่พบบ่อยคือ การอ่อนแรงบริเวณใบหน้า แขนขา ส่วนมากเป็นข้างเดียว และเกิดขึ้นโดยเฉียบพลัน อาการอื่นที่อาจเกิดร่วม ได้แก่ ชาบริเวณใบหน้า แขนขา มองเห็นไม่ชัด เห็นภาพซ้อน การคิดสับสน พูดล�ำบาก หรือฟังคนอื่นเข้าใจยาก ปวดศีรษะรุนแรง เดินล�ำบาก งุนงง ทรงตัวไม่ได้เหมือนปกติ เป็นลมหมดสติ อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง 1. F = Face เวลายิ้มพบว่ามุมปากข้างหนึ่งตก 2. A = Arms ยกแขนไม่ขึ้น 1 ข้าง 3. S=Speechมีปัญหาด้านการพูดแม้ประโยคง่ายๆพูดแล้วคนฟังฟังไม่รู้เรื่อง 4. T = Time ถ้ามีอาการเหล่านี้ ให้รีบไปโรงพยาบาล โดยด่วน ภายใน 4 ชั่วโมง จะได้ช่วยรักษาชีวิตและสามารถฟื้นฟูกลับมาได้เป็นปกติหรือใกล้เคียงคนปกติ มากที่สุด
  • 8. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 3 ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถปรับเปลี่ยนได้ กรณีที่มีปัจจัยเสี่ยงนี้ร่วมด้วยยิ่งต้องพึงระวัง และใส่ใจการด�ำเนินชีวิตเพื่อลด ความเสี่ยง ผู้หญิงอายุเกิน 55 ปี อายุที่เพิ่มขึ้น พันธุกรรม ซึ่งในผู้ชายอายุเกิน 45 ปี เพศชายเสี่ยงกว่า เพศหญิง ชาย หญิง พ่อ แม่ ลูก 1 ปัจจัยเสี่ยงที่ไม่สามารถ ปรับเปลี่ยนได้ สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงโรคหัวใจขาดเลือดและโรคหลอดเลือดสมอง
  • 9. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 4 ปัจจัยเสี่ยงซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้ ปัจจัยนี้เป็นปัจจัยที่ส่งเสริมให้คนไทยเป็นโรคนี้กันมากขึ้นและเกิดในอายุที่น้อย ลงเนื่องจากรูปแบบการด�ำเนินชีวิตในสังคมปัจจุบันเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตมีความไม่ สมดุลระหว่างการกินและการออกแรง ซึ่งปัจจัยด้านพฤติกรรมดังกล่าวส่งเสริมให้เกิด ภาวะน�้ำหนักเกิน อ้วน ไขมันในเลือดสูง ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และส่งผลให้เกิด โรคหัวใจและหลอดเลือดตามมา การกินมากเกินพอดี ไม่ถูกสัดส่วน กินผักผลไม้น้อย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ เคลื่อนไหวร่างกาย น้อยลง ใช้เครื่องอ�ำนวย ความสะดวกมากขึ้น กินอาหารรสเค็ม หวาน และมันสูง 2 ปัจจัยเสี่ยง ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนได้
  • 10. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 5 1. ภาวะความดันโลหิตสูง เกิดจากสภาวะผิดปกติที่มีระดับความดันโลหิตสูงกว่าระดับปกติของคนทั่วไป คือ ค่าความดันโลหิตตั้งแต่ 120/80 มิลลิเมตรปรอทขึ้นไป ถือว่าเป็นสภาวะที่ต้อง ท�ำการควบคุม แต่ถ้าวัดความดันโลหิต ได้ค่าตั้งแต่ 140/90 มิลลิเมตรปรอท ขึ้นไป ถือว่ามีภาวะความดันโลหิตสูง อาการของโรคความดันโลหิตสูง โรคความดันโลหิตสูงส่วนมากจะไม่แสดงอาการ แต่บางรายที่อาจมีอาการ เตือน เช่น ปวดมึนท้ายทอย วิงเวียน ปวดศีรษะตุบๆ หากเป็นมานานหรือความดัน โลหิตสูง มากๆอาจมีอาการเลือดก�ำเดาไหล ตามัว ใจสั่น มือเท้าชา การแปลผลค่าความดันโลหิต ค่าความดันโลหิตตัวบน (ซิสโตลิก) คือ ค่าความดันโลหิตขณะที่หัวใจ บีบตัว ความดันโลหิตตัวล่าง (ไดแอสโตลิก) คือ ค่าความดันโลหิตขณะหัวใจ คลายตัว ค่าตัวบน (ซิสโตลิก) ค่าตัวล่าง (ไดแอสโตลิก) การแปลผล น้อยกว่าหรือเท่ากับ 120 มิลลิเมตรปรอท น้อยกว่าหรือเท่ากับ 80 มิลลิเมตรปรอท อยู่ในเกณฑ์ปกติ มากกว่าหรือเท่ากับ 140 มิลลิเมตรปรอท มากกว่าหรือเท่ากับ 90 มิลลิเมตรปรอท อยู่ในเกณฑ์เสี่ยง
  • 11. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 6 การวัดความดันโลหิตที่ถูกต้อง ไม่พูดกัน ไม่เกร็งมือ เพราะจะท�ำให้การเต้นของหัวใจไม่สม�่ำเสมอ ค่าความดัน โลหิตอาจเปลี่ยนไป วัดความดันโลหิตอย่างน้อย 2 ครั้ง ห่างกัน 3-5 นาที ในรายที่พบความ ผิดปกติโดยน�ำค่าซิสโตลิก(ค่าตัวบน) ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 บวกกันแล้วหาร 2 จะเท่ากับค่าเฉลี่ยซิสโตลิก (ค่าตัวบน) และค่าไดแอสโตลิก (ค่าตัวล่าง) ครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2 บวกกันแล้วหาร 2 จะเท่ากับค่าเฉลี่ย ไดแอสโตลิก (ค่าตัวล่าง) แนะน�ำให้วัดที่แขนทั้งสองข้างในการวัดความดันโลหิตในครั้งแรก และถ้า ค่าความดันโลหิตที่วัดต่างกันเกิน 20 มิลลิเมตรปรอท ให้ส่งต่อพยาบาล หรือแพทย์ ข้อควรรู้ ควรอยู่ในห้องที่อุณหภูมิไม่ร้อนหรือหนาวเกินไป ไม่ควรใส่เสื้อแขนยาวขณะวัดความดันโลหิต ขณะวัดความดันโลหิตไม่ควรมีความเครียด หรือปวดปัสสาวะ ควรงดสูบบุหรี่และดื่มกาแฟก่อนวัดความดันโลหิตอย่างน้อย 30 นาที ควรนั่งพัก 5 นาที ก่อนวัดความดันโลหิต ห้ามนั่งไขว่ห้าง ควรนั่งหลังพิงพนัก เท้า 2 ข้างควรอยู่บนพื้น 2. โรคเบาหวาน โรคเบาหวาน เกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เพียงพอ หรือเมื่อ ร่างกายไม่สามารถใช้อินซูลินที่ผลิตออกมาได้ ท�ำให้น�้ำตาลในเลือดสูงขึ้นอยู่เป็นเวลา นาน ระดับน�้ำตาลมากกว่าหรือเท่ากับ 126 มิลลิกรัมต่อลิตร (ขณะอดอาหาร 8 ชั่วโมง หรือมากกว่า)ในกรณีที่ระดับน�้ำตาลในเลือดขณะอดอาหารอยู่ในช่วง100-125มิลลิกรัม ต่อลิตร ถือว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูงต่อเบาหวาน
  • 12. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 7 อาการของโรคเบาหวาน ปัสสาวะบ่อยและมาก ในตอนกลางคืน คอแห้ง กระหายน�้ำ หิวบ่อย กินจุ น�้ำหนักลด เป็นแผลง่ายแต่หายยาก คันตามผิวหนัง ตาพร่ามัว ชาตามปลายมือปลายเท้า และความรู้สึกทางเพศลดลง
  • 13. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 8 3. โคเลสเตอรอลในเลือดสูงหรือไขมันในเลือดผิดปกติ ไขมันคือสารอาหารจ�ำเป็นที่ร่างกายใช้เป็นพลังงานสร้างฮอร์โมนและวิตามิน บางชนิด ไขมันในเลือดมาจากอาหารที่เรากินและร่างกายสร้างขึ้น การวัดระดับไขมัน ในเลือด วัดเป็นระดับโคเลสเตอรอล และไตรกลีเซอไรด์ ระดับไขมันในเลือดที่ตรวจวัด คือ “ไขมันรวม” หรือ โคเลสเตอรอลรวม “ไขมันไม่ดี” หรือ แอล ดี แอล โคเลสเตอรอล (LDL–C) หากมี จ�ำนวนมาก ท�ำให้เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด “ไขมันดี” หรือ เอ็ช ดี แอล โคเลสเตอรอล (HDL-C) เป็นโคเลสเตอรอล ที่ถูกล�ำเลียงออกจากอวัยวะต่างๆ และผนังหลอดเลือด ท�ำให้ลดการอุดตันของ หลอดเลือด “ผู้ช่วยผู้ร้าย” หรือไตรกลีเซอไรด์ หากมีปริมาณมากยิ่งเพิ่มความเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ค่าปกติไขมันที่ควรทราบ ชนิดไขมัน ค่าปกติ โคเลสเตอรอล (ไขมันรวม) ไม่ควรเกิน 200 มิลลิกรัมต่อลิตร LDL โคเลสเตอรอล (ไขมันไม่ดี) ไม่ควรเกิน 130 มิลลิกรัมต่อลิตร HDL โคเลสเตอรอล ในผู้หญิง (ไขมันดี) HDL โคเลสเตอรอล ในผู้ชาย (ไขมันดี) ควรสูงกว่า 50 มิลลิกรัมต่อลิตร ควรสูงกว่า 40 มิลลิกรัมต่อลิตร ไตรกลีเซอไรด์ ไม่ควรเกิน 150 มิลลิกรัมต่อลิตร
  • 14. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 9 4. ภาวะน�้ำหนักเกินโดยค่าดัชนีมวลกายที่เหมาะสมในคนไทยควรอยู่ระหว่าง 18.5 – 22.9 กิโลกรัม/ตารางเมตร 5. สูบบุหรี่ 6. มีประวัติของพ่อ แม่ พี่ น้อง สายตรง ป่วยเป็นโรคหัวใจขาดเลือด หรือ โรคหลอดเลือดสมอง 7. รอบเอวเกิน วิธีการวัดรอบเอวที่ถูกต้อง 1. อยู่ในท่ายืน เท้าทั้ง 2 ห่างกัน ประมาณ 10 เซนติเมตร 2. ใช้สายวัด วัดรอบเอวโดยผ่านสะดือ 3. วัดในช่วงหายใจออก(ท้องแฟบ) โดยให้สายวัดแนบล�ำตัว ไม่รัดแน่นและ ให้ระดับของสายวัดที่รอบเอววางอยู่ในแนวขนานกับพื้น
  • 15. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 10 ผลเสียที่เกิดจากภาวะน�้ำหนักเกินหรืออ้วนลงพุง ได้แก่ - ท�ำให้หลอดเลือดแดงที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบจึงเกิดโรคหัวใจได้ง่าย - ไตขับเกลือออกได้น้อยลง ท�ำให้เกิดความดันโลหิตสูง - ไขมันไตรกลีเซอไรด์สูงท�ำให้เกิดหลอดเลือดตีบหรืออุดตันท�ำให้เลือดไปเลี้ยง ลดลง การคำ�นวณค่ารอบเอว : สูตรค�ำนวณ = การแปลผล เพศ รอบเอวปกติ ผู้หญิง ไม่เกิน 80 เซนติเมตร หรือ 32 นิ้ว ผู้ชาย ไม่เกิน 90 เซนติเมตร หรือ 36 นิ้ว ส่วนสูง(เซนติเมตร) 2
  • 16. 11 เป็นการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในระยะ 10 ปีข้างหน้าเพื่อให้ประชาชนทราบความเสี่ยงของตนเอง โดยแบ่งความเสี่ยง เป็น 5 ระดับ คือ ข้อดีของการประเมินโอกาสเสี่ยง 1. เป็นการประเมินโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายและโรคอัมพฤกษ์ อัมพาตในระยะเวลา 10 ปีข้างหน้า 2. ทราบความเสี่ยงของตนเองและปัจจัยเสี่ยงที่ต้องแก้ไข 3. ได้รับค�ำแนะน�ำในการจัดการตนเองเบื้องต้น บทที่ 2 การประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยใช้ตารางสี <10% 10% - <20% 20% - <30% 30% - <40% >40% ต�่ำ ปานกลาง สูง สูงมาก สูงอันตราย
  • 17. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 12 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด โดยใช้ตารางสี ขั้นตอนที่ 1 เลือกตารางสีเพื่อประเมิน โดย • ถ้าไม่ทราบผล cholesterol ในเลือด ให้ใช้ตารางสีที่ 1 • ถ้าทราบผล cholesterol ในเลือด ให้ใช้ตารางสีที่ 2 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558 1ไม่ทราบผล โคเลสเตอรอล ตารางสีที่ 1 กรณีไม่ทราบผลโคเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเลือด
  • 18. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 13 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558 1ทราบผล โคเลสเตอรอล ตารางสีที่ 2 กรณีทราบผลโคเลสเตอรอล (Cholesterol) ในเลือด
  • 19. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 14 ขั้นตอนที่ 2 เลือกตารางว่าเป็นโรคเบาหวานหรือไม่ หรือ 2 2 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 20. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 15 ขั้นตอนที่ 3 เลือกเพศชายหรือหญิง 3 3 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 21. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 16 ขั้นตอนที่4เลือกการสูบบุหรี่ว่าสูบหรือไม่สูบผู้ที่ยังคงสูบบุหรี่ยาเส้นยาสูบบุหรี่ซิกาแรต บุหรี่ซิการ์ในปัจจุบันและผู้ที่หยุดสูบไม่เกิน 1 ปีก่อนการประเมิน เลือก ช่องสูบบุหรี่ 4 4 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 22. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 17 5 5 ขั้นตอนที่ 5 เลือกช่วงอายุ ช่วงอายุ (ปี) เลือกช่อง <40-49 40 50-54 50 55-59 55 60-64 60 65 ปีขึ้นไป 65 ตารางการเลือกช่วงอายุ ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 23. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 18 ขั้นตอนที่ 6 เลือกค่าความดันโลหิตตัวบน โดยใช้จากการวัด 2 ครั้ง 2 ช่วงเวลาห่างกัน อย่างน้อย 1 สัปดาห์ (ไม่ใช่ก่อนการรักษา) 6 6 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 24. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 19 ขั้นตอนที่ 7 เลือกค่ารอบเอว : หน่วย ซม. น้อยกว่า หรือมากกว่าส่วนสูงหาร 2 กรณีไม่ทราบค่าระดับไขมัน (cholestoral) 7 7 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 25. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 20 ขั้นตอนที่ 8 ค่าระดับไขมัน (cholesteral) กรณีทราบค่าระดับไขมัน (cholesteral) 8 8 ที่มา: Thai CV risk score, โครงการศึกษาระยะเพื่อหาอิทธิพลของปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด 2528-2558
  • 26. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 21 ตัวอย่าง การประเมินในกรณีทราบผลระดับคลอเรสเตอรอล นายช้าง ใจดี อายุ 64 ปี เป็นเบาหวาน สูบบุหรี่ โดยได้รับการตรวจระดับ คลอเรสเตอรอลได้ค่าเท่ากับ225มิลลิกรัมต่อลิตรและมีค่าระดับความดันโลหิตเท่ากับ 140/80 มิลลิเมตรปรอท จากนั้นใช้ค่าความดันโลหิตตัวบนมาประเมินโอกาสเสี่ยง คือ ค่า 140 ได้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ.... แปลผลการประเมินโอกาสเสี่ยง นายช้าง ใจดี อายุ 64 ปี ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด ในระยะ10ปีข้างหน้ามีระดับความเสี่ยงอยู่ในระดับสูงค่าระหว่าง20%-<30% ควรได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การปรับ เปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยทุก 3 เดือน และติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการ เกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดอย่างน้อยทุก 6 เดือน
  • 27. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 22 ตัวอย่าง การประเมินในกรณีไม่ทราบผลระดับคลอเรสเตอรอล ยายอ้อย หวานฉ�่ำ อายุ 72 ปี ไม่เป็นเบาหวาน ไม่สูบบุหรี่ ไม่มีผลการตรวจ ระดับคลอเรสเตอรอล โดยมีค่าระดับความดันโลหิต เท่ากับ 124/85 มิลลิเมตรปรอท ใช้ค่าความดันโลหิตตัวบนมาประเมินโอกาสเสี่ยง คือค่า 124 และยายอ้อยสูง 148 เซนติเมตร ขนาดรอบเอว เท่ากับ 70 เซนติเมตร ได้ค่าความเสี่ยงเท่ากับ... แปลผลการประเมินโอกาสเสี่ยง ยายอ้อย หวานฉ�่ำ อายุ 72 ปี ประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือดในระยะ 10 ปีข้างหน้า มีระดับความเสี่ยงอยู่ในระดับต�่ำ ค่า <10% ควรได้รับการติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อย ทุก 6 เดือน และติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด อย่างน้อยทุกปี
  • 28. 23 คำ�แนะนำ�ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ การป้องกันการเกิดหัวใจและหลอดเลือดสมองหลังการประเมินโอกาสเสี่ยง โดยยึดหลัก 3 อ. (อาหาร ออกก�ำลังกาย อารมณ์) และ 2 ส. (ไม่สูบบุหรี่ และลด การดื่มสุรา) อ.อาหาร 1. ลดอาหารไขมันสูง ลดการกินไขมันที่มาจากสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ เช่น เนื้อ นม เนย ผู้ป่วยเบาหวานหรือผู้ที่กินยาลดไขมันอยู่สามารถกินไข่ทั้งฟอง 2 ถึง 3 ฟองต่อสัปดาห์ ลดกินของมันของทอดอาหาร งดกินขนมปัง เค้ก หรือของทอดซ�้ำซึ่งมีกรดไขมันทรานส์มาก ควรใช้นํ้ามันมะกอก นํ้ามันร�ำข้าวหรือกินไขมันจากปลาทะเลและปลานํ้าจืด 2. ลดอาหารเค็มหรือมีเกลือโซเดียมสูง กินอาหารที่มีรสเค็มลดลงครึ่งหนึ่งและลดเครื่องดื่มที่มีรสเค็มลง เช่น เครื่องดื่มผสมเกลือแร่ ไม่เติมนํ้าปลา ซีอิ๋ว เต้าเจี้ยว กะปิ ผงชูรสในอาหาร บทที่ 3 คำ�แนะนำ�ในแต่ละปัจจัยเสี่ยง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ ลดโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจ และหลอดเลือด
  • 29. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 24 3. ลดอาหารและเครื่องดื่มที่มีรสหวานหรือนํ้าตาลสูง หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีรสหวาน เช่น นํ้าอัดลม นํ้าหวาน เครื่องดื่มชูก�ำลัง นํ้าผลไม้ ลดกินนํ้าตาลไม่เกินวันละ 6 ถึง 8 ช้อนชา 4. เพิ่มผักสดและผลไม้ที่ไม่หวานจัด รับประทานผักสดมื้อละ 2 ฝ่ามือพูนหรือผักสุกมื้อละ 1 ฝ่ามือพูน ผลไม้ ไม่หวานจัด 15 ค�ำต่อวันหรือรับประทานผักผลไม้อย่างน้อยครึ่งกิโลกรัมต่อวัน อ.ออกก�ำลังกาย เพิ่มการเคลื่อนไหวร่างกาย เช่น เดินเร็ว อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน 5 ครั้งต่อ สัปดาห์หรือมีการเคลื่อนไหวร่างกายในชีวิตประจ�ำวันเวลาว่างหน้าทีวีและการท�ำงาน การออกก�ำลังที่จะป้องกันโรค เช่น การออกกก�ำลังกายแบบแอโรบิค จะท�ำให้ หัวใจแข็งแรงและมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น ควรออกสม�่ำเสมอ มากกว่า 30 นาทีต่อวัน วิธีออกก�ำลังกายแบบแอโรบิค เช่น การเดิน การวิ่ง การวิ่งบนสายพาน การขึ้นบันได การว่ายน�้ำ การขี่จักรยาน อ.อารมณ์ เมื่อรู้สึกเครียด คนเราจะมีวิธีผ่อนคลายความเครียดที่แตกต่างกัน ซึ่งวิธี คลายเครียดโดยทั่วไปมีหลากหลายรูปแบบเช่นนอนหลับพักผ่อนพูดคุยพบปะเพื่อนฝูง ออกกําลังกายยืดเส้นยืดสายเต้นแอโรบิคโยคะฟังเพลงร้องเพลงเล่นดนตรีดูโทรทัศน์ ดูภาพยนตร์ อ่านหนังสือ แต่งกลอน ท่องเที่ยว ส.ไม่สูบบุหรี่ ผู้ที่ไม่เคยสูบบุหรี่ก็ไม่ควรเริ่มสูบ ส่วนผู้ที่สูบอยู่แล้วควรหยุดสูบบุหรี่ (ยาเส้น บุหรี่ไฟฟ้า) รวมถึงไม่สูดดมควันบุหรี่หรือหลีกเลี่ยงการอยู่ใกล้บุคคลที่สูบบุหรี่ และถ้าต้องการเลิกบุหรี่สามารถขอรับค�ำปรึกษาได้ที่สถานบริการสาธารณสุขใกล้บ้าน หรือสามารถโทรปรึกษาได้ที่ศูนย์บริการเลิกบุหรี่ทางโทรศัพท์ 1600
  • 30. การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 25 ส.ลดดื่มสุรา : หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์หรือจ�ำกัดปริมาณแอลกอฮอล์ ที่ดื่ม ลดการบริโภคเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ โดย ชาย ไม่ควรดื่มเกิน 2 หน่วย มาตรฐานต่อวัน และหญิงไม่ควรดื่มเกิน 1 หน่วยมาตรฐานต่อวัน หนึ่งดื่มมาตรฐาน คือเครื่องดื่มที่มีปริมาณของแอลกอฮอล์บริสุทธิ์ 10 กรัม โดยใช้ปริมาณที่เท่ากันของแอลกอฮอล์ในเครื่องดื่มเป็นมาตรฐานการวัด การติดตามหลังประเมินผลโอกาสเสี่ยต่อการเกิดโรคหัวใจและ หลอดเลือด การติดตามประเมินปัจจัยเสี่ยง/การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ปัจจัยที่ติดตาม กลุ่มเสี่ยง ปานกลาง <20% กลุ่มเสี่ยง สูง 20 - <30% กลุ่มเสี่ยง สูงมาก >30% 1. การวัดความดันโลหิต อย่างน้อยทุกๆ 6 เดือน อย่างน้อยทุกๆ 3 เดือน อย่างน้อยทุกๆ 1-2 เดือน 2. วัดรอบเอว 3. อาหาร (รสหวาน มัน เค็ม) 4.ออกก�ำลังกาย/การเคลื่อนไหวร่างกาย 5.บุหรี่ 6. การตรวจสอบการใช้ยา 7. การกระตุ้นให้พบเจ้าหน้าที่ ตามนัด การติดตามประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD Risk) กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (<20%) ควรได้รับการประเมินซ�้ำ อย่างน้อยปีละ 1ครั้ง กลุ่มเสี่ยงสูง (20% - 30%) ควรได้รับการประเมินซ�้ำ ทุกๆ 6 เดือน กลุ่มเสี่ยงสูงมาก (>30%) ควรได้รับการประเมินซ�้ำ ทุกๆ 3 เดือน
  • 31. เป้าหมาย ผู้ป่วยเบาหวาน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ความดันโลหิต (มม.ปรอท) < 140/80 < 140/90 ความดันโลหิตเฉลี่ยที่บ้าน(มม.ปรอท) < 135/75 < 135/85 ระดับน�้ำตาลในเลือด FPG (มก./ดล.)ตามระดับความควบคุม * 70 - 110 (เข้มงวดมาก) 90 - < 130 (เข้มงวด) < 150 (ไม่เข้มงวด) 70 - 99 HbA1c (%) < 7 ไขมันในเลือด High Density Lipoprotein (HDL) (มก./ดล.) ≥ 40 (ชาย) ≥ 50 (หญิง) ≥ 40 (ชาย) ≥ 50 (หญิง) Triglycerides (มก./ดล.) < 150 Total Cholesterol (TC) (มก./ดล.) < 280 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงปานกลาง) < 200 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงและกลุ่มเสี่ยงสูงมาก) Low Density Lipoprotein (LDL) (มก./ดล.) < 160 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงปานกลาง < 100 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูง) < 70 (ค่าเป้าหมายส�ำหรับกลุ่มเสี่ยงสูงมาก) การสูบบุหรี่ งดสูบและดมควันบุหรี่ น�้ำหนักและรอบเอว ดัชนีมวลกาย 18.5 – 22.9 กก./ม2 หรือใกล้เคียง รอบเอว น้อยกว่าส่วนสูง/2 (เซนติเมตร) การออกก�ำลังกาย **หนักระดับปานกลาง 30 นาทีต่อครั้ง 5 ครั้งต่อสัปดาห์ การบริโภคอาหาร ลดหวาน มัน เค็ม เพิ่มผักและผลไม้ แอลกอฮอล์ หยุดดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์***ในรายที่หยุดดื่มไม่ได้ แนะน�ำให้ลดการดื่มลง (ผู้ชาย < 2 หน่วยมาตรฐาน ; ผู้หญิง < 1 หน่วยมาตรฐาน) เป้าหมายผลลัพธ์การบริการและจัดการตนเองเพื่อลดโอกาสเสี่ยง ในการจัดบริการหลังการประเมิน เมื่อประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดแล้ว ได้จัด กลุ่มเสี่ยงเป็น 3 กลุ่มได้แก่ กลุ่มเสี่ยงปานกลาง หมายถึง ผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี < 20 % กลุ่มเสี่ยงสูง หมายถึง ผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี 20% - < 30 % กลุ่มเสี่ยงสูงมาก หมายถึง ผู้ที่ผลประเมินโอกาสเสี่ยงจากตารางสี > 30% โดยมีเป้าหมายการให้บริการเพื่อเกิดผลลัพธ์รายบุคคล ดังตาราง การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 26
  • 32. เอกสารอ้างอิง 1. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือประกอบการเรียนรู้ การพัฒนาศักยภาพอสม.และชุมชนในการป้องกันโรคไตเพื่อสนับสนุนระบบ บริการสุขภาพ. กรุงเทพฯ : บริษัท บอร์น ทู บี พับลิชชิ่ง จ�ำกัด, 2558. 2. กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือ อสม.นักจัดการสุขภาพ ชุมชน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 5 โรค. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชน สหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2555. 3. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. การประเมินโอกาสเสี่ยง ต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง. โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2558. 4.ส�ำนักโรคไม่ติดต่อกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข.รู้ทันมหันตภัยโรคไม่ติดต่อ เรื้อรัง...ภัยเงียบใกล้ตัว. พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์ การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกัด, 2555. 5. ส�ำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางลดเสี่ยง... เลี่ยงโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ ทหารผ่านศึก, 2557. 6. สาระสุขภาพ Infographic. กรุงเทพ (online). โดยส�ำนักงานกองทุนสนับสนุน การสร้างเสริมสุขภาพ.สืบค้นข้อมูลจากwww.thaihealth.or.th/content/ 23940 ลดโรคลดพุง เข้าถึงเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม 2558 การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดส�ำหรับอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) 27
  • 33.