SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ หมายถึ ง กระบวนการในการจั ด การ
เกี่ยวกับทรั พยากรมนุษย์ ตั้งแต่ การวางนโยบายและการวางแผนด้ านทรั พยากร
มนุษย์ การวิเคราะห์ งาน การสรรหา การคัดเลือก การปฐมนิเทศ การพัฒนา
และฝึ กอบรม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่ าตอบแทน สวัสดิการ
และผลประโยชน์ ตลอดจนการวิจัยด้ านทรั พยากรมนุ ษย์ เพื่อนาข้ อมู ลมาเป็ น
แนวทางในการจัดการและการตัดสิ นใจเกียวกับทรัพยากรมนุษย์ ในองค์ การ
                                       ่
1. การจัดคนเข้ าทางาน (staffing)
2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (human resource development)
3. ค่ าตอบแทนและประโยชน์ เกือกูล(compensation and benefits)
                              ้
4. ความปลอดภัยและสุ ขภาพ (safety and health)
5. พนักงานสั มพันธ์ และแรงงานสั มพันธ์ (employee and labor relations)
6. การวิจัยด้ านทรัพยากรมนุษย์ (human resource research)
        นอกจากนียงมีแนวคิดทีน่าสนใจอีกแนวคิดทีแบ่ งระบบการบริหาร
                      ้ั         ่              ่
ทรัพยากรมนุษย์ ออกเป็ น 4 มิติ คือ
   1. มิตทเี่ กียวกับการบรรจุพนักงานในองค์ การ
          ิ ่
   2. มิตทเี่ กียวกับการฝึ กอบรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
           ิ ่
   3. มิติทเี่ กียวกับค่ าตอบแทนของพนักงาน
                 ่
   4. มิติที่เกียวกับแรงงานสั มพันธ์
                   ่
การวางแผนทรัพยากรมนุษย์
           การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ในอดีตใช้ คาว่ า การวางแผนกาลังคน (man
power planning) การวางแผนบุคลากร (personal planning) แต่ ในปัจจุบัน
นิยมใช้ คาว่ าการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนีการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ เป็ น
                                                    ้
กระบวนการทบทวนความต้ องการทรัพยากรมนุษย์ ขององค์ การอย่ างเป็ นระบบ
เพื่อ ให้ องค์ ก ารมั่น ใจว่ า องค์ ก ารมีจ านวนบุ คลากรที่มีคุ ณสมบัติแ ละทัก ษะที่
จาเป็ นสาหรับการปฏิบติงานอย่ างเพียงพอเมื่อถึงเวลาทีต้องการ
                           ั                               ่
การสรรหา
         การสรรหา หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาและจูงใจผู้สมัครงานที่
มีความสามารถเข้ ามาทางานในองค์ การ การสรรหาเป็ นศู นย์ รวมของผู้สมัครงาน
เพื่อดาเนินการคัดเลือกเป็ นพนักงานใหม่ ต่อไป สุ นันทา เลาหนันทน์ (2542.หน้ า
199) ได้ กล่ าวว่ าการสรรหาเป็ นกระบวนการแสวงหาและจูงใจให้ กลุ่มบุคคลที่มี
ความรู้ ความสามารถ ศั กยภาพและคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับตาแหน่ งที่
เปิ ดรับสมัครเข้ ามาสมัครงานกับองค์ การ
1. การสรรหาจากภายใน (internal recruitment) เป็ นการสรรหาบุคคล
หรือผู้สมัครจากภายในหน่ วยงานของตนเอง เพือบรรจุหรือแต่ งตั้งให้ ดารง
                                           ่
ตาแหน่ งทีว่างอยู่
           ่
         2. การสรรหาจากภายนอก (external recruitment) เป็ นการสรรหา
บุคคลหรือผู้สมัครจากภายนอกหน่ วยงาน โดยพยายามชักจูงบุคคลทีมีความรู้
                                                              ่
ความสามารถเข้ ามาสมัครเพือสอบแข่ งขันเข้ าดารงตาแหน่ งตามความต้ องการ
                          ่
ของหน่ วยงาน
การคัดเลือก
          หลังจากที่องค์ การสรรหาผู้ที่สนใจมาสมัครเป็ นบุคลากรขององค์ การ
แล้ วในขั้นต่ อไปองค์ การต้ องทาการคัดเลือก ซึ่งการคัดเลือกหมายถึงกระบวนการ
ที่องค์ การดาเนินการคัดเลือกบุคคลจากผู้สมัครให้ ได้ คนที่ดีที่สุด มีคุณสมบัติตรง
ตามเกณฑ์ ทกาหนดไว้ เข้ ามาทางานในตาแหน่ งต่ าง ๆ ตามต้ องการ
              ี่
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (human resource development) หมายถึง
กระบวนการทีได้ ออกแบบไว้ อย่ างมีเปาหมายเพือให้ ผู้ปฏิบตงานได้ มีโอกาสเรียน
              ่                       ้        ่          ั ิ
โดยการฝึ กอบรมการศึกษา และการพัฒนา เป็ นการเพิมพูนความรู้ และศักยภาพ
                                                     ่
ในการทางาน รวมทั้งปรับพฤติกรรมของผู้ปฏิบตงานให้ พร้ อมทีจะปฏิบตหน้ าที่
                                                 ั ิ          ่       ั ิ
รับผิดชอบให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อองค์ การและมีโอกาสก้ าวหน้ าในตาแหน่ งที่
สู งขึน
      ้
ค่ า ตอบแทนหมายถึ ง การให้
ผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิจ ในรู ป แบบ
ต่ าง ๆ เช่ น ค่ าจ้ าง เงินเดือน เงินชดเชย
หรื อ ผลประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ที่ อ งค์ ก าร
ให้ แก่ บุคลากรเพือเป็ นการตอบแทนการ
                      ่
ทางานของบุคคลหรือเป็ นรางวัลทั้งหมด
ซึ่ งพนักงานได้ รับในการแลกเปลี่ยนกับ
การทางาน
1. ค่ าตอบแทนหลัก (basse pay) ได้ แก่
ค่ าจ้ างหรือเงินเดือน
           2. ค่ าตอบแทนผันแปร (variable pay)
หรือค่ าตอบแทนจูงใจเป็ นค่ าจ้ างทีเ่ ป็ นตัวเงิน
โดยตรงอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งเกียวข้ องกับผลงาน
                               ่
ของพนักงานของแต่ ละคนโดยตรง
           3. ผลประโยชน์ เกือกูล (fringe benefit)
                             ้
เป็ นค่ าตอบแทนทางอ้ อมทีพนักงานได้ รับจากสิ่ ง
                           ่
ทีสามารถจับต้ องได้ เช่ น การประกันสุ ขภาพ
   ่
การจ่ ายเงินให้ ในวันลาหยุดหรือบานาญตอน
เกษียณ
สุ ขภาพและความปลอดภัยในการทางานนับว่ าเป็ นอีกเหตุปัจจัยหนึ่งที่
สาคัญในการส่ งผลกระทบต่ อการทางานของพนั กงานภายในองค์ การทั้งด่ าน
กายภาพและด้ านจิตใจ ถ้ าองค์ การได้ มีการจัดการด้ านสุ ขภาพและความปลอดภัย
ในการท างานกั บ พนั ก งานที่ ดี ก็ จ ะส่ งผลต่ อ ขวั ญ และก าลั ง ใจในการท างาน
เนื่องจากพนักงานจะรู้ สึกถึงความมั่นคงและปลอดภัย
1. ค่ านิยมดี ของสั งคม แสดงให้ เห็นถึงความรู้ ความเอาใจใส่ และการให้
ความสาคัญเกียวกับความมันคง ความปลอดภัยและสุ ขภาพ
                 ่
          2. สภาพเศรษฐกิจกล่ าวคือ ถ้ าภาวะเศรษฐกิจดี คนมีเงินใช้ จ่ายในการ
ป้ องกันอันตรายได้ มาก โอกาสเกิดอันตรายก็เกิดขึนได้ น้อย แต่ ถ้าเศรษฐกิจดีคนมี
                                                  ้
เงินน้ อยที่จะจ่ ายลงทุนให้ กับการป้ องกันอันจรตายโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุก็มี
มาก
3. กฎหมายและกฎเกณฑ์ ของรั ฐบาล ความจาเป็ นที่ต้องมีกฎหมาย
เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน เพื่อบังคับให้ ผู้ประกอบการจัดให้ มีระบบ
หรื อมาตรการที่จ าเป็ นในการป้ องกัน ปฏิบัติงานไม่ ใ ห้ ไ ด้ รับอัน ตรายจากการ
ปฏิบติงาน
      ั
         4. ลักษณะของงาน ผลทีเ่ กิดต่ อสุ ขภาพและความปลอดภัยในการทางาน
มี 2 ลักษณะ คือ สภาพการทางานทางด้ านเทคโนโลยีและสภาพการทางานที่
สกปรกและเสี่ ยงอันตราย สภาพการทางานทางด้ านเทคโนโลยีมีผลต่ อสุ ขภาพ
และความปลอดภัยในการทางานเนื่องจากอยู่ใกล้ เครื่องจักร มีเสี ยงดัง ฝุ่ นละออง
อากาศร้ อน เป็ นต้ น
5. ทัศนคติของพนักงาน คือ ทัศนคติและความเห็นที่ไม่ ถูกต้ องต่ อระบบ
ความปลอดภัยเป็ นสาเหตุหนึ่งทีทาให้ เกิดอุบตเิ หตุในการทางาน
                                  ่          ั
            6. ทัศนคติของฝ่ ายบริ หาร เพราะฝ่ ายบริ หารมีบทบาทสาคัญต่ อ
โครงการสุ ขภาพและความปลอดภัยขององค์ การ ผู้บริหารมีความรั บผิดชอบต่ อ
ส่ วนรวมและเห็นความสาคัญของการรักษาความปลอดภัย สานึกในความสู ญเสี ย
ทีเ่ กิดขึนแก่ พนักงานเป็ นความสู ญเสี ยขององค์ การด้ วย
          ้
7. สหภาพแรงงาน อานาจของสหภาพแรงงานเกี่ยวกับความ
ปลอดภัยและสุ ขภาพของพนักงานมีอยู่ 2 ทางคือ ทางแรกใช้ วิธีกดดัน
โดยตรงต่ อองค์ การหรื อผู้บริ หารให้ สนใจและจัดให้ มีโครงการสุ ขภาพและ
ความปลอดภัยในการทางาน ทางที่สองสหภาพแรงงานจะใช้ อานาจทาง
การเมืองโดยผ่ านรั ฐสภาพหรื อรั ฐบาลให้ ออกกฎหมายแบะข้ อบังคับให้ กับ
องค์ การ
แรงงานสั มพันธ์ (labor relation) หมายถึง ความสั มพันธ์ ระหว่ าง
นายจ้ างกับลูกจ้ าง ระหว่ างนายจ้ างกับองค์ การของลูกจ้ าง ระหว่ างองค์ กรของ
นายจ้ างกับองค์ กรของลูกจ้ าง ดังนั้นถ้ าองค์ การมีการบริหารแรงงานสั มพันธ์ ที่ดี
จะเป็ นการสร้ างความเข้ าใจอันดีระหว่ างนายจ้ างและลูกจ้ าง จะทาให้ ท้งสองฝ่ าย
                                                                      ั
มีความเข้ าใจอันดีต่อกัน และเคารพสิ ทธิซึ่งกันและกัน อีกทั้งช่ วยป้ องกันและ
ระงับข้ อขัดแย้ งหรือข้ อพิพาทที่จะเกิดขึนอีกด้ วย
                                         ้
การวิจั ย (research) หมายถึง กระบวนการค้ น หาความจริ ง (reliable
knowledge) การหาความรู้ ใหม่ ๆโดยใช้ กระบวนการที่เป็ นระบบ มีหลักเกณฑ์
เพื่อที่จะนาคาตอบที่ได้ จากการวิจัยมาช่ วยแก้ ปัญหาหรื อการตัดสิ นใจอย่ างมี
ประสิ ทธิภาพ
1. การกาหนดปัญหาและขอบเขตของปัญหา
2. การศึกษาเอกสารทีเ่ กียวข้ องกับงานวิจัย
                        ่
3. การกาหนดการอบแนวคิด
4. การกาหนดตัวแปร
5. การตั้งสมมติฐาน
6. การออกแบบการวิจัย
7. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
8. การสร้ างเครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย
                        ่
9. การเก็บรวบรวมข้ อมูล
10. การประมวลผลข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูล
11. การตีความผงการวิเคราะห์ ข้อมูล
12. การเขียนรายงานการวิจัย
13. การเผยแพร่ งานวิจัยหรือการนาไปใช้ ประโยชน์
สรุป

         องค์ กรต่ าง ๆ จะประสบความสาเร็จได้ น้ันสิ่ งสาคัญที่สุด คือ การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management : HRM) ดังนั้น การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ จึงเป็ นกระบวนการจัดการในเรื่องการวางแผน การวางนโยบาย
การวิเ คราะห์ การสรรหา การคัดเลือ ก การปฐมนิ เ ทศ การพัฒนาและการ
ฝึ กอบรม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่ าตอบแทน สวัสดิการและ
ผลประโยชน์ ตลอดจนการวิจัยด้ านทรัพยากรมนุษย์ เพือนาข้ อมูลต่ าง ๆ เหล่ านี้
                                                        ่
มาเป็ นแนวทางในการจั ด การและการตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ใ น
องค์ การต่ อไป
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Sakda Hwankaew
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานtumetr
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_SelectionSakda Hwankaew
 
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศPowerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศNawaponch
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารJuneSwns
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่Natepanna Yavirach
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2Sakda Hwankaew
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningJirasap Kijakarnsangworn
 
บทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Managementบทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation ManagementSakda Hwankaew
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job EvaluationSakda Hwankaew
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource ManagementSakda Hwankaew
 

What's hot (15)

บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
บทที่ 2 การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงานทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
ทรัพยากรมนุษย์และการออกแบบงาน
 
บทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selectionบทที่4 Recruitment_Selection
บทที่4 Recruitment_Selection
 
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
8 แผนกลยุทธ์การบริหารบุคคล(พยาบาล)
 
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศPowerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
Powerpoint3กระบวนการทางธุรกิจระบบสารสนเทศ
 
การจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหารการจัดองค์การและการบริหาร
การจัดองค์การและการบริหาร
 
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
การบริหารทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่
 
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
บทที่ 7 การประเมินผลการปฏิบัติงาน2
 
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planningการวางแผนกำลังคน Manpower planning
การวางแผนกำลังคน Manpower planning
 
บทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Managementบทที่ 9 Employee Relation Management
บทที่ 9 Employee Relation Management
 
บทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluationบทที่6 Job Evaluation
บทที่6 Job Evaluation
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Standard7
Standard7Standard7
Standard7
 
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
1แนวคิดการบริหารทางการพยาบาล
 
Human Resource Management
Human Resource ManagementHuman Resource Management
Human Resource Management
 

Similar to บทที่4

บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3praphol
 
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพArunee Muangma
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7supap6259
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตากfantayuya
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณKobwit Piriyawat
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Napin Yeamprayunsawasd
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่Chatnakrop Sukhonthawat
 

Similar to บทที่4 (20)

Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Final HRM
Final HRMFinal HRM
Final HRM
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)Organization and Management (OM) overview (ch.1)
Organization and Management (OM) overview (ch.1)
 
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพการจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
การจัดการเกี่ยวกับอาชีพ
 
ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7สุขฯ ม.2 หน่วย 7
สุขฯ ม.2 หน่วย 7
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
804501คณะวิศวกรรมศาสตร์มทร.ล้านนาตาก
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
Mobile learning to enhance the training of personnel in the corporate.
 
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่
 
Plan 21072011181254
Plan 21072011181254Plan 21072011181254
Plan 21072011181254
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พคุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
คุณลักษณะผู้บริหารที่ดีพ.พ
 
Introduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge ManagementIntroduction to Knowledge Management
Introduction to Knowledge Management
 

More from praphol

สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560praphol
 
เอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสเอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสpraphol
 
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองpraphol
 
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชpraphol
 
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้านายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้าpraphol
 
โกอ่าง
โกอ่างโกอ่าง
โกอ่างpraphol
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและpraphol
 
บบที่12
บบที่12บบที่12
บบที่12praphol
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10praphol
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7praphol
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6praphol
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5praphol
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1praphol
 
Magicoflove
MagicofloveMagicoflove
Magicoflovepraphol
 
20things
20things20things
20thingspraphol
 
Jobassign
JobassignJobassign
Jobassignpraphol
 
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวpraphol
 

More from praphol (20)

สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
สถานการณ์การท่องเที่ยว ปี 2560
 
เอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเสเอลวิสสุกี้ ยศเส
เอลวิสสุกี้ ยศเส
 
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรืองร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
ร้านก๋วยเตี๋ยวรุ่งเรือง
 
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราชปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
ปาท่องโก๋เสวย เยาวราช
 
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้านายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
นายอ้วน เย็นตาโฟเสาชิงช้า
 
โกอ่าง
โกอ่างโกอ่าง
โกอ่าง
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสำนักงานและ
 
บบที่12
บบที่12บบที่12
บบที่12
 
บบที่10
บบที่10บบที่10
บบที่10
 
บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่6
บทที่6บทที่6
บทที่6
 
บทที่5
บทที่5บทที่5
บทที่5
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Magicoflove
MagicofloveMagicoflove
Magicoflove
 
20things
20things20things
20things
 
Jobassign
JobassignJobassign
Jobassign
 
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยวบทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
บทที่ ๘ ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 

บทที่4

  • 2. การบริ ห ารทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ หมายถึ ง กระบวนการในการจั ด การ เกี่ยวกับทรั พยากรมนุษย์ ตั้งแต่ การวางนโยบายและการวางแผนด้ านทรั พยากร มนุษย์ การวิเคราะห์ งาน การสรรหา การคัดเลือก การปฐมนิเทศ การพัฒนา และฝึ กอบรม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่ าตอบแทน สวัสดิการ และผลประโยชน์ ตลอดจนการวิจัยด้ านทรั พยากรมนุ ษย์ เพื่อนาข้ อมู ลมาเป็ น แนวทางในการจัดการและการตัดสิ นใจเกียวกับทรัพยากรมนุษย์ ในองค์ การ ่
  • 3. 1. การจัดคนเข้ าทางาน (staffing) 2. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (human resource development) 3. ค่ าตอบแทนและประโยชน์ เกือกูล(compensation and benefits) ้ 4. ความปลอดภัยและสุ ขภาพ (safety and health) 5. พนักงานสั มพันธ์ และแรงงานสั มพันธ์ (employee and labor relations)
  • 4. 6. การวิจัยด้ านทรัพยากรมนุษย์ (human resource research) นอกจากนียงมีแนวคิดทีน่าสนใจอีกแนวคิดทีแบ่ งระบบการบริหาร ้ั ่ ่ ทรัพยากรมนุษย์ ออกเป็ น 4 มิติ คือ 1. มิตทเี่ กียวกับการบรรจุพนักงานในองค์ การ ิ ่ 2. มิตทเี่ กียวกับการฝึ กอบรมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ิ ่ 3. มิติทเี่ กียวกับค่ าตอบแทนของพนักงาน ่ 4. มิติที่เกียวกับแรงงานสั มพันธ์ ่
  • 5. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ในอดีตใช้ คาว่ า การวางแผนกาลังคน (man power planning) การวางแผนบุคลากร (personal planning) แต่ ในปัจจุบัน นิยมใช้ คาว่ าการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนีการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ เป็ น ้ กระบวนการทบทวนความต้ องการทรัพยากรมนุษย์ ขององค์ การอย่ างเป็ นระบบ เพื่อ ให้ องค์ ก ารมั่น ใจว่ า องค์ ก ารมีจ านวนบุ คลากรที่มีคุ ณสมบัติแ ละทัก ษะที่ จาเป็ นสาหรับการปฏิบติงานอย่ างเพียงพอเมื่อถึงเวลาทีต้องการ ั ่
  • 6. การสรรหา การสรรหา หมายถึง กระบวนการในการแสวงหาและจูงใจผู้สมัครงานที่ มีความสามารถเข้ ามาทางานในองค์ การ การสรรหาเป็ นศู นย์ รวมของผู้สมัครงาน เพื่อดาเนินการคัดเลือกเป็ นพนักงานใหม่ ต่อไป สุ นันทา เลาหนันทน์ (2542.หน้ า 199) ได้ กล่ าวว่ าการสรรหาเป็ นกระบวนการแสวงหาและจูงใจให้ กลุ่มบุคคลที่มี ความรู้ ความสามารถ ศั กยภาพและคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับตาแหน่ งที่ เปิ ดรับสมัครเข้ ามาสมัครงานกับองค์ การ
  • 7. 1. การสรรหาจากภายใน (internal recruitment) เป็ นการสรรหาบุคคล หรือผู้สมัครจากภายในหน่ วยงานของตนเอง เพือบรรจุหรือแต่ งตั้งให้ ดารง ่ ตาแหน่ งทีว่างอยู่ ่ 2. การสรรหาจากภายนอก (external recruitment) เป็ นการสรรหา บุคคลหรือผู้สมัครจากภายนอกหน่ วยงาน โดยพยายามชักจูงบุคคลทีมีความรู้ ่ ความสามารถเข้ ามาสมัครเพือสอบแข่ งขันเข้ าดารงตาแหน่ งตามความต้ องการ ่ ของหน่ วยงาน
  • 8. การคัดเลือก หลังจากที่องค์ การสรรหาผู้ที่สนใจมาสมัครเป็ นบุคลากรขององค์ การ แล้ วในขั้นต่ อไปองค์ การต้ องทาการคัดเลือก ซึ่งการคัดเลือกหมายถึงกระบวนการ ที่องค์ การดาเนินการคัดเลือกบุคคลจากผู้สมัครให้ ได้ คนที่ดีที่สุด มีคุณสมบัติตรง ตามเกณฑ์ ทกาหนดไว้ เข้ ามาทางานในตาแหน่ งต่ าง ๆ ตามต้ องการ ี่
  • 9. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (human resource development) หมายถึง กระบวนการทีได้ ออกแบบไว้ อย่ างมีเปาหมายเพือให้ ผู้ปฏิบตงานได้ มีโอกาสเรียน ่ ้ ่ ั ิ โดยการฝึ กอบรมการศึกษา และการพัฒนา เป็ นการเพิมพูนความรู้ และศักยภาพ ่ ในการทางาน รวมทั้งปรับพฤติกรรมของผู้ปฏิบตงานให้ พร้ อมทีจะปฏิบตหน้ าที่ ั ิ ่ ั ิ รับผิดชอบให้ เกิดประโยชน์ สูงสุ ดต่ อองค์ การและมีโอกาสก้ าวหน้ าในตาแหน่ งที่ สู งขึน ้
  • 10. ค่ า ตอบแทนหมายถึ ง การให้ ผลประโยชน์ ท างเศรษฐกิจ ในรู ป แบบ ต่ าง ๆ เช่ น ค่ าจ้ าง เงินเดือน เงินชดเชย หรื อ ผลประโยชน์ อ ย่ า งอื่ น ที่ อ งค์ ก าร ให้ แก่ บุคลากรเพือเป็ นการตอบแทนการ ่ ทางานของบุคคลหรือเป็ นรางวัลทั้งหมด ซึ่ งพนักงานได้ รับในการแลกเปลี่ยนกับ การทางาน
  • 11. 1. ค่ าตอบแทนหลัก (basse pay) ได้ แก่ ค่ าจ้ างหรือเงินเดือน 2. ค่ าตอบแทนผันแปร (variable pay) หรือค่ าตอบแทนจูงใจเป็ นค่ าจ้ างทีเ่ ป็ นตัวเงิน โดยตรงอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งเกียวข้ องกับผลงาน ่ ของพนักงานของแต่ ละคนโดยตรง 3. ผลประโยชน์ เกือกูล (fringe benefit) ้ เป็ นค่ าตอบแทนทางอ้ อมทีพนักงานได้ รับจากสิ่ ง ่ ทีสามารถจับต้ องได้ เช่ น การประกันสุ ขภาพ ่ การจ่ ายเงินให้ ในวันลาหยุดหรือบานาญตอน เกษียณ
  • 12. สุ ขภาพและความปลอดภัยในการทางานนับว่ าเป็ นอีกเหตุปัจจัยหนึ่งที่ สาคัญในการส่ งผลกระทบต่ อการทางานของพนั กงานภายในองค์ การทั้งด่ าน กายภาพและด้ านจิตใจ ถ้ าองค์ การได้ มีการจัดการด้ านสุ ขภาพและความปลอดภัย ในการท างานกั บ พนั ก งานที่ ดี ก็ จ ะส่ งผลต่ อ ขวั ญ และก าลั ง ใจในการท างาน เนื่องจากพนักงานจะรู้ สึกถึงความมั่นคงและปลอดภัย
  • 13. 1. ค่ านิยมดี ของสั งคม แสดงให้ เห็นถึงความรู้ ความเอาใจใส่ และการให้ ความสาคัญเกียวกับความมันคง ความปลอดภัยและสุ ขภาพ ่ 2. สภาพเศรษฐกิจกล่ าวคือ ถ้ าภาวะเศรษฐกิจดี คนมีเงินใช้ จ่ายในการ ป้ องกันอันตรายได้ มาก โอกาสเกิดอันตรายก็เกิดขึนได้ น้อย แต่ ถ้าเศรษฐกิจดีคนมี ้ เงินน้ อยที่จะจ่ ายลงทุนให้ กับการป้ องกันอันจรตายโอกาสที่จะเกิดอุบัติเหตุก็มี มาก
  • 14. 3. กฎหมายและกฎเกณฑ์ ของรั ฐบาล ความจาเป็ นที่ต้องมีกฎหมาย เกี่ยวกับความปลอดภัยในการทางาน เพื่อบังคับให้ ผู้ประกอบการจัดให้ มีระบบ หรื อมาตรการที่จ าเป็ นในการป้ องกัน ปฏิบัติงานไม่ ใ ห้ ไ ด้ รับอัน ตรายจากการ ปฏิบติงาน ั 4. ลักษณะของงาน ผลทีเ่ กิดต่ อสุ ขภาพและความปลอดภัยในการทางาน มี 2 ลักษณะ คือ สภาพการทางานทางด้ านเทคโนโลยีและสภาพการทางานที่ สกปรกและเสี่ ยงอันตราย สภาพการทางานทางด้ านเทคโนโลยีมีผลต่ อสุ ขภาพ และความปลอดภัยในการทางานเนื่องจากอยู่ใกล้ เครื่องจักร มีเสี ยงดัง ฝุ่ นละออง อากาศร้ อน เป็ นต้ น
  • 15. 5. ทัศนคติของพนักงาน คือ ทัศนคติและความเห็นที่ไม่ ถูกต้ องต่ อระบบ ความปลอดภัยเป็ นสาเหตุหนึ่งทีทาให้ เกิดอุบตเิ หตุในการทางาน ่ ั 6. ทัศนคติของฝ่ ายบริ หาร เพราะฝ่ ายบริ หารมีบทบาทสาคัญต่ อ โครงการสุ ขภาพและความปลอดภัยขององค์ การ ผู้บริหารมีความรั บผิดชอบต่ อ ส่ วนรวมและเห็นความสาคัญของการรักษาความปลอดภัย สานึกในความสู ญเสี ย ทีเ่ กิดขึนแก่ พนักงานเป็ นความสู ญเสี ยขององค์ การด้ วย ้
  • 16. 7. สหภาพแรงงาน อานาจของสหภาพแรงงานเกี่ยวกับความ ปลอดภัยและสุ ขภาพของพนักงานมีอยู่ 2 ทางคือ ทางแรกใช้ วิธีกดดัน โดยตรงต่ อองค์ การหรื อผู้บริ หารให้ สนใจและจัดให้ มีโครงการสุ ขภาพและ ความปลอดภัยในการทางาน ทางที่สองสหภาพแรงงานจะใช้ อานาจทาง การเมืองโดยผ่ านรั ฐสภาพหรื อรั ฐบาลให้ ออกกฎหมายแบะข้ อบังคับให้ กับ องค์ การ
  • 17. แรงงานสั มพันธ์ (labor relation) หมายถึง ความสั มพันธ์ ระหว่ าง นายจ้ างกับลูกจ้ าง ระหว่ างนายจ้ างกับองค์ การของลูกจ้ าง ระหว่ างองค์ กรของ นายจ้ างกับองค์ กรของลูกจ้ าง ดังนั้นถ้ าองค์ การมีการบริหารแรงงานสั มพันธ์ ที่ดี จะเป็ นการสร้ างความเข้ าใจอันดีระหว่ างนายจ้ างและลูกจ้ าง จะทาให้ ท้งสองฝ่ าย ั มีความเข้ าใจอันดีต่อกัน และเคารพสิ ทธิซึ่งกันและกัน อีกทั้งช่ วยป้ องกันและ ระงับข้ อขัดแย้ งหรือข้ อพิพาทที่จะเกิดขึนอีกด้ วย ้
  • 18. การวิจั ย (research) หมายถึง กระบวนการค้ น หาความจริ ง (reliable knowledge) การหาความรู้ ใหม่ ๆโดยใช้ กระบวนการที่เป็ นระบบ มีหลักเกณฑ์ เพื่อที่จะนาคาตอบที่ได้ จากการวิจัยมาช่ วยแก้ ปัญหาหรื อการตัดสิ นใจอย่ างมี ประสิ ทธิภาพ
  • 19. 1. การกาหนดปัญหาและขอบเขตของปัญหา 2. การศึกษาเอกสารทีเ่ กียวข้ องกับงานวิจัย ่ 3. การกาหนดการอบแนวคิด 4. การกาหนดตัวแปร 5. การตั้งสมมติฐาน 6. การออกแบบการวิจัย 7. ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง
  • 20. 8. การสร้ างเครื่องมือทีใช้ ในการวิจัย ่ 9. การเก็บรวบรวมข้ อมูล 10. การประมวลผลข้ อมูลและการวิเคราะห์ ข้อมูล 11. การตีความผงการวิเคราะห์ ข้อมูล 12. การเขียนรายงานการวิจัย 13. การเผยแพร่ งานวิจัยหรือการนาไปใช้ ประโยชน์
  • 21.
  • 22. สรุป องค์ กรต่ าง ๆ จะประสบความสาเร็จได้ น้ันสิ่ งสาคัญที่สุด คือ การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management : HRM) ดังนั้น การบริหาร ทรัพยากรมนุษย์ จึงเป็ นกระบวนการจัดการในเรื่องการวางแผน การวางนโยบาย การวิเ คราะห์ การสรรหา การคัดเลือ ก การปฐมนิ เ ทศ การพัฒนาและการ ฝึ กอบรม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การบริหารค่ าตอบแทน สวัสดิการและ ผลประโยชน์ ตลอดจนการวิจัยด้ านทรัพยากรมนุษย์ เพือนาข้ อมูลต่ าง ๆ เหล่ านี้ ่ มาเป็ นแนวทางในการจั ด การและการตั ด สิ น ใจเกี่ ย วกั บ ทรั พ ยากรมนุ ษ ย์ ใ น องค์ การต่ อไป