SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
บทที่ ๒
กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
กรรมฐาน หมายถึงอะไร ???
 กรรมฐาน หมายถึง ที่ตั้งแห่งการงาน อารมณ์เป็นที่ตั้งของ
การงานทางใจ หลักการฝึกหัดอบรมใจให้หลุดพ้นจากอานาจ
ของความทุกข์ อุบายวิธีสาหรับฝึกหัดอบรมใจ แบ่งออกเป็น ๒
ชนิด คือ สมถกรรมฐาน และวิปัสสนากรรมฐาน
คาว่า “อารมณ์”
ในทางกรรมฐาน หมายถึง เครื่องยึดหน่วงของจิตใจ
ซึ่งได้แก่ รูปนาม ธรรมารมณ์ ฯลฯ
สมถกรรมฐาน คืออะไร
 สมถกรรมฐาน กรรมฐานเป็นอุบายทาใจให้สงบ เป็นวิธี
ฝึกจิตให้เกิดสมาธิ มีอารมณ์ ๔๐ อย่าง คือ กสิณ ๑๐ อสุภะ ๑๐
อนุสสติ ๑๐ พรหมวิหาร ๔ อรูป ๔ จตุธาตุววัตถาน ๑ อาหาเร
ปฏิกูลสัญญา ๑
 กสิณ ๑๐ เช่น ปฐวีกสิณ เอาดินเป็นอารมณ์ ภาวนาว่า
ปฐวี ปฐวี หรือ ดิน ดิน เป็นต้น
 กสิณ ๑๐ เช่น ปฐวีกสิณ เอาดินเป็นอารมณ์
ภาวนาว่า ปฐวี ปฐวี หรือ ดิน ดิน เป็นต้น
วิปัสสนากรรมฐาน
 วิปัสสนากรรมฐาน แปลว่า กรรมฐานเป็นอุบายทาใจให้
เกิดปัญญารู้แจ้ง เห็นจริง ตามความเป็นจริง คือเห็นปัจจุบัน รูป
นาม พระไตรลักษณ์ มรรค ผล นิพพาน
 อารมณ์ของวิปัสสนา ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ๑๒ ธาตุ๑๘
อินทรีย์๒๒ อริยสัจจ์๔ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒ ย่อให้สั้น ได้แก่
รูป กับ นาม คือ กาย กับ ใจ นี้เอง
ทางไปสู่พระนิพพานมีอยู่ ๒ ทาง
ทางโดยอ้อม
• สมถยานิกะ
ทางโดยตรง
• วิปัสสนายานิกะ
สมถยานิกะ
คือ การเจริญสมถะกรรมฐาน ก่อน แล้วก็น้อมมาสู่วิปัสสนาทีหลัง
วิปัสสนายานิก
เป็นการมุ่งเข้าไปสู่นิพพานโดยตรงไม่ต้องอ้อมมาเจริญสมถะก่อน
บุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ตั้งตนอยู่ในศีล
ตัดปลิโพธ
แสวงหากัลยาณมิตร
หาสัปปายะ
 ผู้ปฏิบัติกรรมฐานต้องชาระศีลให้บริสุทธิ์เสียก่อน เพราะ
ศีลเป็นพื้นฐานของสมาธิ ได้แก่ ศีล ๕, ศีล ๘, ศีล ๑๐ หรือ
ปาฏิโมกขสังวรศีล (ศีล ๒๒๗) เป็นศีลของพระภิกษุ และ ศีล
๓๑๑ เป็นศีลของภิกษุณี
 การตัดปลิโพธ ความกังวลที่ทาให้จิตใจไม่สงบ มีดังนี้
อาวาโส จ กุล ลาโภ คโณ กมฺมญฺจ ปญฺจม
อทฺธาน าติ อาพาโธ คนฺโถ อิทฺธีติ เต ทส
๑. อาวาสปลิโพธ เครื่องกังวลคือที่อยู่
๒. กุลปลิโพธ เครื่องกังวลคือตระกูล
๓. ลาภปลิโพธิ เครื่องกังวลคือลาภสักการะ
๔. คณปลิโพธ เครื่องกังวลคือหมู่คณะ
๕. กัมมปลิโพธ เครื่องกังวลคือนวกรรม
๖. อัทธานปลิโพธ เครื่องกังวลคือการเดินทาง
๗. ญาติปลิโพธ เครื่องกังวลคือญาติ
๘. อาพาธปลิโพธ เครื่องกังวลคือโรคภัยไข้เจ็บ
๙. คันถปลิโพธ เครื่องกังวลคือการเล่าเรียน
๑๐. อิทธิปลิโพธ เครื่องกังวล คือการแสดงอิทธิฤทธิ์
ลืมปิ ดเตาแก๊สรึเปล่า ?
ลืมล็อคประตูรึเปล่า
ลูกๆ อยู่ที่บ้านจะซนรึเปล่า
 กัลยาณมิตร คือ มิตรที่ดีงาม เป็นบุคคลที่มีความสาคัญ
มากในการปฏิบัติกรรมฐาน เพราะจะเป็นผู้เกื้อกูลชี้ทางผิดและ
ทางถูก ให้แก่ผู้ปฏิบัติกรรมฐานได้เป็นอย่างดี ในคัมภีร์วิสุทธิ
มรรคกล่าวถึงคุณธรรมของกัลยาณมิตรไว้ว่า
ปิ โย ครุ ภาวนีโย วตฺตา จ วจนกฺขโม
คมฺภีรญฺจ กถ กตฺตา โน จฏฺฐาเน นิ โยชเย.
 ๑. ปิ โย เป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก
 ๒. ครุ เป็นผู้มีใจหนักแน่นน่าเคารพ
 ๓. ภาวนีโย เป็นผู้ควรแก่การสรรเสริญเจริญใจ
 ๔. วตฺตา จ เป็นผู้ฉลาดในการพูดชี้แจงแสดงแนวทางแห่งการปฏิบัติ
 ๕. วจนกฺขโม เป็นผู้มีความอดทนต่อการสอนศิษย์ไม่เข้าใจก็พยายาม
ชี้แจงให้เข้าใจแนวทางแห่งการปฏิบัติและยอมให้พูดให้ว่าได้
 ๖. คมฺภีรญฺจ กถ กตฺตา เป็นผู้สามารถกล่าวถ้อยคาที่ลึกซึ้งได้
 ๗. โน จฏฺ าเน นิโยชเย เป็นผู้แนะนาทางที่ถูกต้องให้
วัดที่ไม่สมควรแก่การทาสมาธิภาวนา
เป็นโทษแก่การปฏิบัติธรรม ๑๘ ประการ มีดังนี้
 วัดใหญ่
 วัดสร้างใหม่
 วัดที่อิงทางหลวง
 วัดมีสระน้า
 วัดที่มีใบไม้ใช้เป็นผัก
 วัดที่หาอาจารย์ผู้กัลยาณมิตรไม่ได้ ฯลฯ
 สัปปายะ แปลว่า สิ่งเป็นที่สบายสาหรับบุคคลผู้ปฏิบัติธรรม ในวิ
สุทธิมรรคได้แสดงสัปปายะไว้ ๗ ประการ คือ
 ๑) อาวาสสัปปายะ ที่อยู่สบาย
 ๒) โคจรสัปปายะ ที่เที่ยวบิณฑบาตที่เหมาะดี
 ๓) ภัสสสัปปายะ การพูดคุยที่เหมาะกัน
 ๔) ปุคคลสัปปายะ บุคคลที่ถูกกันเหมาะกัน
 ๕) อาหารสัปปายะ มีอาหารที่ดี
 ๖) อุตุสัปปายะ ฤดูกาลเป็นที่สบาย
 ๗) อิริยาบถสัปปายะ อิริยาบถสบาย
หาสัปปายะ
จริต (อารมณ์ที่ชอบท่องเที่ยวของจิต)
 ๑. ราคจริต จิตท่องเที่ยวไปในอารมณ์ที่รักสวยรักงาม
 ๒. โทสจริต มีอารมณ์มักโกรธ เป็นคนขี้โมโหโทโส
 ๓. โมหจริต มีอารมณ์จิตลุ่มหลง หนักไปทางเขลา เหงาซึม งมงาย
 ๔. สัทธาจริต มีจิตน้อมไปในความเชื่อเป็นอารมณ์ประจาใจ
 ๕. พุทธิจริต เป็นคนเจ้าปัญญา มีความฉลาด ชอบคิดพิจารณา
 ๖. วิตกจริต มีอารมณ์หนักไปทางนึกคิดจับจด ฟุ้งซ่านง่าย
อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต
 คนราคจริต ย่อมเหมาะสมแก่ กัมมัฏฐาน ๑๑
 คือ อสุภะ ๑๐, กายคตาสติ ๑
อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต
 คนโทสจริต เหมาะสมแก่กรรมฐาน ๘
 ได้แก่ พรหมวิหาร ๔, วรรณกสิณ ๔
อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต
 คนโมหจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม ได้แก่
 อานาปานสติกรรมฐาน คือ กรรมฐานประเภทกาหนดลมหายใจ
เข้าออก
อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต
 คนสัทธาจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม คือ อนุสสติ ๖
ได้แก่
 พุทธานุสสติ ๑
ธัมมานุสสติ ๑
สังฆานุสสติ ๑
สีลานุสสติ ๑
จาคานุสสติ ๑
เทวตานุสสติ ๑
อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต
 คนพุทธิจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม คือ กรรมฐาน ๔
ได้แก่
 มรณสติ ๑
อุปสมานุสสติ ๑
จตุธาตุววัตถาน ๑
อาหาเรปฏิกูลสัญญา ๑
อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะกับจริต
 คนวิตกจริต อารมณ์กรรมฐานที่เหมาะสม คือ อานาปานสติ
กาหนดลมหายใจเข้าออก จิตใจก็จะสงบ หายฟุ้งซ่าน
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
พัน พัน
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
Anchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
Anchalee BuddhaBucha
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน pptพรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
พรหมวิหาร 4 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อนุสสติ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making06 costs and revenue for decision making
06 costs and revenue for decision making
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
02 abc
02 abc02 abc
02 abc
 
04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
09 pricing decision
09 pricing decision09 pricing decision
09 pricing decision
 
08 accounting for jit
08 accounting for jit08 accounting for jit
08 accounting for jit
 
10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing10evaluation & transfer pricing
10evaluation & transfer pricing
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 
01cost concept
01cost concept01cost concept
01cost concept
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
 
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-105. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย  (1 57) wk 9-10
5. พัฒนาการด้านการเคลื่อนไหวในแต่ละวัย (1 57) wk 9-10
 

Similar to บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน

หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
New Nan
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
Tongsamut vorasan
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
primpatcha
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
Tongsamut vorasan
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
tippaya6563
 

Similar to บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน (20)

บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นโท (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรมธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
ธรรมะสำหรับนักศึกษา : การประยุกต์ใช้หลักพุทธธรรม
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
pop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน