SlideShare a Scribd company logo
1 of 41
Download to read offline
1
มูลปริยายสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
พราหมณ์ ๕๐๐ คนผู้เรียนจบไตรเพท ออกบวชอยู่ในสานักของพระผู้มีพระภาคเจ้า ต่อกาลไม่
นานเลยก็เรียนเอาพระพุทธพจน์ทั้งหมด เพราะอาศัยการศึกษาเล่าเรียน จึงเกิดมานะขึ้นว่า พวกเรารู้พระ
พุทธพจน์ที่พระผู้มีภาคเจ้าตรัสไว้พลันทีเดียว พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบวารจิตนั้นของภิกษุเหล่านั้น
ทรงดาริว่า ภิกษุเหล่านี้ ยังถอนตะปูคือมานะไม่ได้ ก็ไม่ควรเพื่อทาให้แจ้งมรรคหรือผล จึงเริ่มการแสดง
ธรรมว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ฉลาดในการแสดงมูลปริยายสูตรแห่งธรรมทั้งปวง เพื่อจะหักเสียซึ่งมานะ
(ของภิกษุเหล่านั้น)
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
พระสุตตันตปิฎก
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์
____________
๑. มูลปริยายวรรค
หมวดว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรม
๑. มูลปริยายสูตร
ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรม
[๑] ข้าพเจ้า (ข้าพเจ้า ในตอนเริ่มต้นของพระสูตรนี้ และพระสูตรอื่นๆ ในเล่มนี้ หมายถึงพระ
อานนท์) ได้สดับมาอย่างนี้
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ โคนไม้รังใหญ่ในสุภควัน เขตเมืองอุกกัฏฐา ณ ที่นั้นแล
พระผู้มีพระภาคได้รับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย" ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัส
แล้ว พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสว่า
“ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง (มูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง หมายถึงเทศนาว่า
ด้วยเหตุให้เกิดสภาวะทั้งปวง) แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว”
ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเรื่องนี้ ว่า
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๑ ว่าด้วยปุถุชน
[๒] “ภิกษุทั้งหลาย ปุถุชน (ปุถุชน หมายถึงคนที่ยังมีกิเลสหนา ที่เรียกเช่นนี้ เพราะบุคคล
ประเภทนี้ ยังมีเหตุก่อให้เกิดกิเลสอย่างหนานานัปการ ปุถุชนมี ๒ ประเภท คือ (๑) อันธปุถุชน คนที่ไม่ได้
2
รับการศึกษาอบรมทางจิต (๒) กัลยาณปุถุชน คนที่ได้รับการศึกษาอบรมทางจิตแล้ว) ในโลกนี้ ผู้ยังไม่ได้
สดับ ไม่ได้พบพระอริยะทั้งหลาย (พระอริยะ หมายถึงพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระพุทธ
สาวก ที่ชื่อว่าพระอริยะเพราะเป็นผู้ไกลจากกิเลส ไม่ดาเนินไปในทางเสื่อม ดาเนินไปแต่ในทางเจริญ เป็นผู้
ที่ชาวโลกและเทวโลกควรดาเนินตาม) ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับคาแนะนาในธรรมของ
พระอริยะ ไม่ได้พบสัตบุรุษทั้งหลาย (สัตบุรุษ โดยทั่วไป หมายถึงคนกตัญญูกตเวที เป็นนักปราชญ์ เป็น
กัลยาณมิตร เป็นผู้มีความภักดีมั่นคง กระทาการช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก ด้วยความเต็มใจ แต่ในที่นี้
หมายถึงพระพุทธเจ้าพระปัจเจกพุทธเจ้า และพระพุทธสาวก) ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้รับ
คาแนะนาในธรรมของสัตบุรุษ หมายรู้ปฐวี (ดิน) (ปฐวี มี ๔ ชนิด คือ (๑) ลักขณปฐวี เป็นสิ่งที่แข็ง
กระด้าง หยาบเฉพาะตนในตัวมันเอง (๒) สสัมภารปฐวี เป็นส่วนแห่งอวัยวะมีผมเป็นต้น และวัตถุภายนอก
มีโลหะเป็นต้น พร้อมทั้งคุณสมบัติมีสีเป็นต้น (๓) อารัมมณปฐวี เป็นปฐวีธาตุที่นามากาหนดเป็นอารมณ์
ของปฐวีกสิณ นิมิตตปฐวี ก็เรียก (๔) สัมมติปฐวี เป็นปฐวีธาตุที่ปฐวีเทวดามาเกิดในเทวโลกด้วยอานาจ
ปฐวีกสิณและฌานในที่นี้ ปฐวี หมายถึงทั้ง ๔ ชนิด) โดยความเป็นปฐวี ครั้นหมายรู้ปฐวีโดยความเป็น
ปฐวีแล้ว (หมายรู้ปฐวีโดยความเป็นปฐวี ในที่นี้ หมายถึงหมายรู้แผ่นดินนั้นด้วยสัญญาที่วิปริตคือกาหนดให้
ต่างออกไปจากความเป็นจริงโดยประการต่างๆ ด้วยกิเลสเป็นเหตุเนิ่นช้า คือ ตัณหา มานะและทิฏฐิ ที่มี
กาลัง) กาหนดหมายซึ่งปฐวี (กาหนดหมายซึ่งปฐวี หมายถึงกาหนดหมายด้วยตัณหา มานะ และทิฏฐิว่า
'เราเป็นดิน ดินเป็นของเรา, คนอื่นเป็นดิน ดินเป็นของคนอื่น หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึงกาหนดหมายด้วย
อานาจตัณหาให้เกิดฉันทราคะ ติดใจในผมเป็นต้นจนถึงตั้งความปรารถนาว่า 'ด้วยศีลหรือพรหมจรรย์นี้
ขอให้เรามีผมนุ่มดาสนิทดี, กาหนดหมายด้วยอานาจมานะว่า 'เราดีกว่า เราเสมอกัน หรือเราด้อยกว่า'
และกาหนดหมายด้วยอานาจทิฏฐิ คือ ยึดมั่นว่าผมเป็นชีวะ โดยนัยว่า 'ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น')
กาหนดหมายในปฐวี กาหนดหมายนอกปฐวี (กาหนดหมายในปฐวี หมายถึงกาหนดหมายด้วยอานาจ
ทิฏฐิว่า "มีเราอยู่ในดิน หรือเรามีปลิโพธิในดิน มีผู้อื่นอยู่ในดิน หรือผู้อื่นมีปลิโพธในดิน" ตามนัยที่ว่า
'พิจารณาเห็นอัตตาในรูปเป็นต้น กาหนดหมายนอกปฐวี หมายถึงกาหนดหมายด้วยอานาจทิฏฐิว่า ตนหรือ
คนอื่นพร้อมทั้งสรรพสิ่งล้วนแต่เกิดจากดินแต่มิใช่ดินตามลัทธิพรหมัณฑวาท (ลัทธิที่เชื่อว่าโลกเกิดจาก
พรหม) ลัทธิอณุกวาท (ลัทธิที่เชื่อว่าโลกประกอบด้วยอณู) หรือลัทธิอิสสรวาท (ลัทธิที่เชื่อว่าพระอิศวรเป็น
ผู้สร้างโลก) แล้วเกิดตัณหา มานะในตน และบุคคลอื่นตลอดถึงสรรพสิ่งนั้น) กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของ
เรา ยินดีปฐวี (ยินดีปฐวี หมายถึงเพลิดเพลินยินดีติดใจปฐวีด้วยอานาจตัณหาและทิฏฐิ ความยินดีปฐวี
นั่นเองชื่อว่ายินดีทุกข์ สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า 'ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า 'ผู้ใดยินดีปฐวีธาตุ
ผู้นั้นยินดีทุกข์ ผู้ใดยินดีทุกข์ ผู้นั้นไม่พ้นไปจากทุกข์')
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้ (ไม่ได้กาหนดรู้ หมายถึงไม่ได้กาหนดรู้ด้วยปริญญา ๓
ประการ คือ (๑) ญาตปริญญา ได้แก่ รู้ว่า ‘นี้ เป็นปฐวีธาตุภายใน นี้ เป็นปฐวีธาตุภายนอก นี้ เป็นลักษณะ
กิจ เหตุเกิด และที่เกิดแห่งปฐวีธาตุ’ หรือได้แก่กาหนดนามและรูป (๒) ตีรณปริญญา ได้แก่ พิจารณาเห็น
3
ว่า ‘ปฐวีธาตุมีอาการ ๔๐ คือ อาการไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค’ เป็นต้น หรือได้แก่ พิจารณากลาปะ (ความ
เป็นกลุ่มก้อน) เป็นต้น พิจารณาอนุโลมญาณเป็นที่สุด (๓) ปหานปริญญา ได้แก่ เมื่อพิจารณาเห็นอย่าง
นั้นแล้ว จึงละฉันทราคะ (ความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ) ในปฐวีธาตุด้วยอรหัตตผล หรือได้แก่ ญาณ
ในอริยมรรค เพราะปริญญา ๓ ประการนี้ ไม่มีแก่ปุถุชน เขาจึงกาหนดหมายและยินดีปฐวีธาตุ อาโปธาตุ
เตโชธาตุ และวาโยธาตุ)’
หมายรู้อาโป(น้า)โดยความเป็นอาโป ครั้นหมายรู้อาโปโดยความเป็นอาโปแล้วกาหนดหมายซึ่ง
อาโป กาหนดหมายในอาโป กาหนดหมายนอกอาโป กาหนดหมายอาโปว่าเป็นของเรา ยินดีอาโป
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้เตโช(ไฟ)โดยความเป็นเตโช ครั้นหมายรู้เตโชโดยความเป็นเตโชแล้ว กาหนดหมายซึ่ง
เตโช กาหนดหมายในเตโช กาหนดหมายนอกเตโช กาหนดหมายเตโชว่าเป็นของเรา ยินดีเตโช
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้วาโย(ลม)โดยความเป็นวาโย ครั้นหมายรู้วาโยโดยความเป็นวาโยแล้ว กาหนดหมายซึ่ง
วาโย กาหนดหมายในวาโย กาหนดหมายนอกวาโย กาหนดหมายวาโยว่าเป็นของเรา ยินดีวาโย
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
[๓] หมายรู้ภูต (ภูต หมายถึงขันธ์ ๕ อมนุษย์ ธาตุ สิ่งที่มีอยู่ พระขีณาสพ สัตว์ และต้นไม้เป็นต้น
แต่ในที่นี้ หมายถึงสัตว์ทั้งหลายผู้อยู่ต่ากว่าชั้นจาตุมหาราช) โดยความเป็นภูต ครั้นหมายรู้ภูตโดยความเป็น
ภูตแล้ว กาหนดหมายซึ่งภูต กาหนดหมายในภูต กาหนดหมายนอกภูต กาหนดหมายภูตว่าเป็นของเรา
ยินดีภูต
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้เทวดาโดยความเป็นเทวดา ครั้นหมายรู้เทวดาโดยความเป็นเทวดาแล้ว กาหนดหมายซึ่ง
เทวดา กาหนดหมายในเทวดา กาหนดหมายนอกเทวดา กาหนดหมายเทวดาว่าเป็นของเรา ยินดีเทวดา
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้ปชาบดี (ปชาบดี หมายถึงผู้ยิ่งใหญ่กว่าปชาคือหมู่สัตว์ ได้แก่ มารชื่อว่า ปชาบดี เพราะ
ปกครองเทวโลกชั้นปรนิมมิตวสวัตดี) โดยความเป็นปชาบดี ครั้นหมายรู้ปชาบดีโดยความเป็นปชาบดีแล้ว
กาหนดหมายซึ่งปชาบดี กาหนดหมายในปชาบดี กาหนดหมายนอกปชาบดี กาหนดหมายปชาบดีว่าเป็น
ของเรา ยินดีปชาบดี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
4
หมายรู้พรหมโดยความเป็นพรหม ครั้นหมายรู้พรหมโดยความเป็นพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่ง
พรหม กาหนดหมายในพรหม กาหนดหมายนอกพรหม กาหนดหมายพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้อาภัสสรพรหมโดยความเป็นอาภัสสรพรหม ครั้นหมายรู้อาภัสสรพรหมโดยความเป็นอา
ภัสสรพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งอาภัสสรพรหม กาหนดหมายในอาภัสสรพรหม กาหนดหมายนอกอา
ภัสสรพรหม กาหนดหมายอาภัสสรพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีอาภัสสรพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้สุภกิณหพรหมโดยความเป็นสุภกิณหพรหม ครั้นหมายรู้สุภกิณหพรหมโดยความเป็นสุภ
กิณหพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งสุภกิณหพรหม กาหนดหมายในสุภกิณหพรหม กาหนดหมายนอกสุภ
กิณหพรหม กาหนดหมายสุภกิณหพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีสุภกิณหพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้เวหัปผลพรหมโดยความเป็นเวหัปผลพรหม ครั้นหมายรู้เวหัปผลพรหมโดยความเป็น
เวหัปผลพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งเวหัปผลพรหม กาหนดหมายในเวหัปผลพรหม กาหนดหมายนอกเวหัป
ผลพรหม กาหนดหมายเวหัปผลพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีเวหัปผลพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้อภิภูสัตว์ (อภิภูสัตว์ กับ อสัญญีสัตว์ เป็นไวพจน์ของกันและกัน หมายถึงสัตว์ผู้ไม่มีสัญญา
สถิตอยู่ในชั้นเดียวกับเวหัปผลพรหม บังเกิดด้วยอิริยาบถใดก็สถิตอยู่ด้วยอิริยาบถนั้นตราบสิ้นอายุขัย) โดย
ความเป็นอภิภูสัตว์ ครั้นหมายรู้อภิภูสัตว์โดยความเป็นอภิภูสัตว์แล้ว กาหนดหมายซึ่งอภิภูสัตว์ กาหนด
หมายในอภิภูสัตว์ กาหนดหมายนอกอภิภูสัตว์ กาหนดหมายอภิภูสัตว์ว่าเป็นของเรา ยินดีอภิภูสัตว์
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้
[๔] หมายรู้อากาสานัญจายตนพรหมโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหม ครั้นหมายรู้อา
กาสานัญจายตนพรหมโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งอากาสานัญจายตน
พรหม กาหนดหมายในอากาสานัญจายตนพรหม กาหนดหมายนอกอากาสานัญจายตนพรหม กาหนด
หมายอากาสานัญจายตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีอากาสานัญจายตนพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า 'เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้'
หมายรู้วิญญาณัญจายตนพรหมโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ครั้นหมายรู้วิญญาณัญ
จายตนพรหมโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งวิญญาณัญจายตนพรหม กาหนด
5
หมายในวิญญาณัญจายตนพรหม กาหนดหมายนอกวิญญาณัญจายตนพรหม กาหนดหมายวิญญาณัญจาย
ตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีวิญญาณัญจายตนพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า 'เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้'
หมายรู้อากิญจัญญายตนพรหมโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหม ครั้นหมายรู้อา
กิญจัญญายตนพรหมโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งอากิญจัญญายตนพรหม
กาหนดหมายในอากิญจัญญายตนพรหม กาหนดหมายนอกอากิญจัญญายตนพรหม กาหนดหมายอา
กิญจัญญายตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีอากิญจัญญายตนพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า 'เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้'
หมายรู้เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดยความเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ครั้นหมายรู้
เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดยความเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งเนว
สัญญานาสัญญายตนพรหม กาหนดหมายในเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม กาหนดหมายนอกเนวสัญญา
นาสัญญายตนพรหม กาหนดหมายเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีเนวสัญญานา
สัญญายตนพรหม
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
[๕] หมายรู้รูปที่ตนเห็น (รูปที่ตนเห็น หมายถึงสิ่งที่ตนเห็นทางมังสจักขุ หรือทิพพจักขุ คานี้ เป็น
ชื่อแห่งรูปายตนะ) โดยความเป็นรูปที่ตนเห็น ครั้นหมายรู้รูปที่ตนเห็นโดยความเป็นรูปที่ตนเห็นแล้ว
กาหนดหมายซึ่งรูปที่ตนเห็น กาหนดหมายในรูปที่ตนเห็น กาหนดหมายนอกรูปที่ตนเห็น กาหนดหมายรูป
ที่ตนเห็นว่าเป็นของเรายินดีรูปที่ตนเห็น
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้เสียงที่ตนได้ยิน (เสียงที่ตนได้ยิน หมายถึงสิ่งที่ตนฟังทางมังสโสตะ หรือทิพพโสตะ คานี้
เป็นชื่อแห่งสัททายตนะ) โดยความเป็นเสียงที่ตนได้ยิน ครั้นหมายรู้เสียงที่ตนได้ยินโดยความเป็นเสียงที่ตน
ได้ยินแล้ว กาหนดหมายซึ่งเสียงที่ตนได้ยิน กาหนดหมายในเสียงที่ตนได้ยิน กาหนดหมายนอกเสียงที่ตนได้
ยิน กาหนดหมายเสียงที่ตนได้ยินว่าเป็นของเรา ยินดีเสียงที่ตนได้ยิน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้อารมณ์ที่ตนทราบ (อารมณ์ที่ตนทราบ หมายถึงอารมณ์ที่ตนทราบแล้ว และรู้แล้วจึงรับ
เอา คือ เข้าไปกระทบรับเอา มีคาอธิบายว่า ที่ตนรู้แจ้งแล้วเพราะการกระทบกันและกันระหว่างอินทรีย์กับ
อารมณ์ทั้งหลาย คานี้ เป็นชื่อแห่งคันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะ) โดยความเป็นอารมณ์ที่ตน
ทราบ ครั้นหมายรู้อารมณ์ที่ตนทราบโดยความเป็นอารมณ์ที่ตนทราบแล้ว กาหนดหมายซึ่งอารมณ์ที่ตน
6
ทราบ กาหนดหมายในอารมณ์ที่ตนทราบ กาหนดหมายนอกอารมณ์ที่ตนทราบ กาหนดหมายอารมณ์ที่ตน
ทราบว่าเป็นของเรา ยินดีอารมณ์ที่ตนทราบ
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง (อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง หมายถึงอารมณ์ที่ตนรู้แจ้งทางใจ คานี้ เป็นชื่อแห่ง
อายตนะที่เหลือ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อแห่งธรรมารมณ์ แต่ในที่นี้ ได้เฉพาะอารมณ์ที่นับเนื่องในกายของตน)
โดยความเป็นอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ครั้นหมายรู้อารมณ์ที่ตนรู้แจ้งโดยความเป็นอารมณ์ที่ตนรู้แจ้งแล้ว กาหนด
หมายซึ่งอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง กาหนดหมายในอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง กาหนดหมายนอกอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง กาหนด
หมายอารมณ์ที่ตนรู้แจ้งว่าเป็นของเรา ยินดีอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
[๖] หมายรู้ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกันโดยความเป็นอันเดียวกัน ครั้นหมายรู้
ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกันโดยความเป็นอันเดียวกันแล้ว กาหนดหมายซึ่งความที่จิตที่เป็น
ฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน กาหนดหมายในความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน กาหนดหมาย
นอกความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน กาหนดหมายความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอัน
เดียวกันว่าเป็นของเรา ยินดีความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้ความที่กามจิตต่างกันโดยความเป็นของต่างกัน ครั้นหมายรู้ความที่กามจิตต่างกันโดย
ความเป็นของต่างกันแล้ว กาหนดหมายซึ่งความที่กามจิตต่างกัน กาหนดหมายในความที่กามจิตต่างกัน
กาหนดหมายนอกความที่กามจิตต่างกัน กาหนดหมายความที่กามจิตต่างกันว่าเป็นของเรา ยินดีความที่
กามจิตต่างกัน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้สักกายะ (สักกายะ หมายถึงอุปาทานขันธ์ ๕ (คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ))
ทั้งปวงโดยความเป็นสักกายะทั้งปวง ครั้นหมายรู้สักกายะทั้งปวงโดยความเป็นสักกายะทั้งปวงแล้ว กาหนด
หมายซึ่งสักกายะทั้งปวง กาหนดหมายในสักกายะทั้งปวง กาหนดหมายนอกสักกายะทั้งปวง กาหนดหมาย
สักกายะทั้งปวงว่าเป็นของเรา ยินดีสักกายะทั้งปวง
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
หมายรู้นิพพาน (นิพพาน ในที่นี้ หมายถึงนิพพานที่ปุถุชนเข้าใจผิด ด้วยอานาจตัณหา มานะ
และทิฏฐิ คือ เข้าใจว่า‘อัตตาที่พรั่งพร้อม เพียบพร้อม บาเรอด้วยกามคุณ ๕ เป็นนิพพานในปัจจุบัน,
นิพพานเป็นอัตตา อัตตาเป็นอย่างอื่นจากนิพพาน ความสุขเป็นนิพพาน หรือนิพพานเป็นของเรา’) โดย
7
ความเป็นนิพพาน ครั้นหมายรู้นิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว กาหนดหมายซึ่งนิพพาน กาหนดหมาย
ในนิพพาน กาหนดหมายนอกนิพพาน กาหนดหมายนิพพานว่าเป็นของเรา ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๑ ว่าด้วยปุถุชน จบ
-----------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๒ ว่าด้วยเสขบุคคล
[๗] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดยังเป็นเสขบุคคล (เสขบุคคล หมายถึงบุคคลผู้ที่ยังต้องศึกษา ๓
จาพวก ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามีผู้ยังต้องฝึกอบรมในไตรสิกขา คือ (๑) อธิสี
ลสิกขา ฝึกอบรมในเรื่องศีล (๒) อธิจิตตสิกขาฝึกอบรมในเรื่องจิต (สมาธิ) (๓) อธิปัญญาสิกขา ฝึกอบรม
ในเรื่องปัญญา) ไม่ได้บรรลุอรหัตตผล ปรารถนาธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยมอยู่ แม้
ภิกษุนั้นก็รู้ยิ่งปฐวี โดยความเป็นปฐวี (รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี หมายถึงรู้ด้วยสัญญาที่แตกต่างจาก
ปุถุชน หรือรู้ด้วยญาณอันพิเศษยิ่ง กล่าวคือญาตปริญญา ตีรณปริญญา และปหานปริญญา มีคาอธิบายว่า
เมื่อปล่อยวางความเป็นปฐวีอย่างนี้ ย่อมรู้ยิ่งปฐวีนั้นว่า ‘ไม่เที่ยง’ บ้าง ว่า ‘เป็นทุกข์’ บ้าง ว่า ‘เป็นอนัตตา’
บ้าง) ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว อย่ากาหนดหมายซึ่งปฐวี อย่ากาหนดหมายในปฐวี อย่า
กาหนดหมายนอกปฐวี อย่ากาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา อย่ายินดีปฐวี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาควรกาหนดรู้’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ...พรหม ... อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ...ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว อย่ากาหนด
หมายซึ่งนิพพาน อย่ากาหนดหมายในนิพพาน อย่ากาหนดหมายนอกนิพพาน อย่ากาหนดหมายนิพพานว่า
เป็น ของเรา อย่ายินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาควรกาหนดรู้’
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๒ ว่าด้วยเสขบุคคล จบ
--------------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๓ ว่าด้วยพระขีณาสพ
8
[๘] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว (อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว
หมายถึงอยู่จบธรรมเป็นเครื่องอยู่ร่วมกับครูบ้าง ธรรมเป็นเครื่องอยู่ร่วมคืออริยมรรคบ้าง ธรรมเป็นเครื่อง
อยู่ของพระอริยะ ๑๐ ประการบ้าง) ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดย
ลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว (สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หมายถึงสังโยชน์ ๑๐ ประการ คือ (๑) กามราคะ (๒)
ปฏิฆะ (๓) มานะ (๔) ทิฏฐิ (๕) วิจิกิจฉา (๖) สีลัพพตปรามาส (๗) ภวราคะ (๘) อิสสา (๙) มัจฉริยะ
(๑๐) อวิชชา สังโยชน์เหล่านี้ เรียกว่า ภวสังโยชน์ เพราะผูกพันหมู่สัตว์ไว้ในภพน้อยภพใหญ่) หลุดพ้น
เพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้นก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็ นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่
กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมายในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีปฐวี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขากาหนดรู้แล้ว’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม ...อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ...ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด
หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขากาหนดรู้แล้ว’
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๓ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ
-------------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๔ ว่าด้วยพระขีณาสพ
[๙] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว
ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดยลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หลุดพ้นเพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้น
ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมาย
ในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากราคะ เนื่องจากราคะสิ้นไป’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม ...อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม ...เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
9
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ...ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด
หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากราคะ เนื่องจากราคะสิ้นไป’
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๔ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ
---------------------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๕ ว่าด้วยพระขีณาสพ
[๑๐] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว
ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดยลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หลุดพ้นเพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้น
ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมาย
ในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโทสะ เนื่องจากโทสะสิ้นไป’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม... อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน... ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด
หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโทสะ เนื่องจากโทสะสิ้นไป’
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๕ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ
----------------------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๖ ว่าด้วยพระขีณาสพ
[๑๑] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว
ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดยลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หลุดพ้นเพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้น
ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมาย
ในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี
10
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโมหะ เนื่องจากโมหะสิ้นไป’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม... อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน... ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด
หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโมหะ เนื่องจากโมหะสิ้นไป’
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๖ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ
--------------------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๗ ว่าด้วยพระตถาคต
(ตถาคต ในที่นี้ หมายถึงพระผู้มีพระภาค บัณฑิตเรียกว่า ‘ตถาคต’ เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ (๑) เพราะ
เสด็จมาแล้วอย่างนั้น (๒) เพราะเสด็จไปแล้วอย่างนั้น (๓) เพราะเสด็จมาสู่ลักษณะอันแท้จริง (๔) เพราะ
ตรัสรู้ธรรมที่แท้ตามความเป็นจริง (๕) เพราะทรงเห็นจริง (๖) เพราะตรัสวาจาจริง (๗) เพราะทรงทาจริง
(๘) เพราะทรงครอบงา (ผู้ที่ยึดถือลัทธิอื่นทั้งหมดในโลกพร้อมทั้งเทวโลก))
[๑๒] ภิกษุทั้งหลาย แม้ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้
ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมายในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอก
ปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะตถาคตกาหนดรู้ปฐวีนั้นแล้ว’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม… อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม… เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน… ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด
หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เรากล่าวว่า ‘เพราะตถาคตกาหนดรู้นิพพานนั้นแล้ว’
11
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๗ ว่าด้วยพระตถาคต จบ
--------------------
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๘ ว่าด้วยพระตถาคต
[๑๓] ภิกษุทั้งหลาย แม้ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่ง
ปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมายในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่
กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เพราะรู้ว่า ‘ความเพลิดเพลินเป็นมูลเหตุแห่งทุกข์ เพราะมีภพ ชาติจึงมี สัตว์ผู้เกิดแล้วต้องแก่
ต้องตาย’ เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวว่า ‘ตถาคตตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา คลาย
ตัณหา ดับตัณหา สละตัณหา สลัดทิ้งตัณหาโดยประการทั้งปวง’
ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม... อาภัสสรพรหม ... สุภ
กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา
กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน... ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก
กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด
หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น
ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน
ข้อนั้นเพราะเหตุไร
เพราะรู้ว่า ‘ความเพลิดเพลินเป็นมูลเหตุแห่งทุกข์ เพราะมีภพ ชาติจึงมีสัตว์ผู้เกิดแล้วต้องแก่ ต้อง
ตาย’ เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวว่า ‘ตถาคตตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา คลายตัณหา
ดับตัณหา สละตัณหา สลัดทิ้งตัณหาโดยประการทั้งปวง”
กาหนดภูมิตามนัยที่ ๘ ว่าด้วยพระตถาคต จบ
พระผู้มีพระภาคได้ตรัสภาษิตนี้ แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมิได้มีใจยินดีชื่นชม (มิได้มีใจยินดีชื่นชม
หมายถึงภิกษุเหล่านั้นไม่รู้คือไม่เข้าใจเนื้ อความของพระสูตรนี้ เหตุยังมีมานะทิฏฐิมาก เพราะมัวเมาใน
ปริยัติ และเพราะพระภาษิตนั้นลึกซึ้งด้วยนัยที่ ๑ คือ ปุถุชน จนถึงนัยที่ ๘ คือพระตถาคต ท่านเหล่านั้นจึง
ไม่รู้แจ้งอรรถแห่งพระพุทธพจน์ จึงมิได้มีใจยินดีชื่นชมพระภาษิตนั้น ภายหลังได้สดับโคตมกสูตร ซึ่งพระผู้มี
พระภาคตรัสที่โคตมกเจดีย์แล้ว จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์พร้อมทั้งปฏิสัมภิทาทั้งหลาย) พระภาษิตของ
พระผู้มีพระภาค ดังนี้ แล
มูลปริยายสูตรที่ ๑ จบ
---------------------------------
12
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา
มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค
มูลปริยายสูตร ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง
อรรถกถามูลปริยายสูตร
------------------------------
ที่มาของชื่อเมืองอุกกัฏฐา
เมืองนั้นเขาเรียกว่า อุกกัฏฐา เพราะชาวเมืองพากันชูคบเพลิง สร้างแม้ในเวลากลางคืนด้วยหวัง
ว่า วันมงคล ขณะดี ฤกษ์ดี อย่าเลยไปเสีย. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า เพราะเมืองนั้นพวกชาวเมืองจุดประทีปมี
ด้ามส่องให้สร้าง. ใกล้เมืองชื่ออุกกัฏฐานั้น.
พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนก็ดี เสด็จดาเนินก็ดี ประทับนั่งก็ดี บรรทมก็ดี ก็พึงทราบว่า
ประทับอยู่ ทั้งนั้น.
ที่มาของป่าสุภควัน
ป่าชื่อว่าสุภคะ เพราะถึงความงาม. อธิบายว่า เพราะสง่างาม และเพราะมีสิ่งที่พึงประสงค์
สวยงาม.
ก็เพราะความสวยงามของป่านั้น ผู้คนทั้งหลายจึงพากันถือเอาข้าวและน้าเป็นต้น ไปดื่มกินเที่ยว
เล่นสนุกสนานอยู่ในป่านั้นนั่นแลตลอดทั้งวัน และปรารถนาสิ่งที่เขาปรารถนาดีๆ ในที่นั้นว่า ขอเรา
ทั้งหลายจงได้ลูกชายลูกหญิงเถิด และสิ่งที่พึงปรารถนานั้นเขาก็ได้สมปรารถนาทีเดียว ป่านั้นชื่อว่า สุภคะ
เพราะสง่างาม และเพราะมีสิ่งที่พึงประสงค์สวยงามดังพรรณนามานี้ .
อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า สุภคะ แม้เพราะคนส่วนมากติดใจ. ชื่อว่า วนะ (ป่า) เพราะอรรถว่าสัตว์
ทั้งหลายชอบใจ คือทาให้สัตว์ทั้งหลายรักใคร่ด้วยคุณสมบัติของตัวมันเอง. อธิบายว่า ให้เกิดความน่ารักใน
ตัวเอง ดังนี้ .
อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า วนะ (ป่า) เพราะเรียกหา. อธิบายว่า เหมือนเรียกร้องปวงสัตว์ด้วยเสียงร้อง
ของนกมีนกโกกิลาเป็นต้น ที่เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่นดอกไม้นานาพรรณ และด้วยกิ่งก้านค่าคบใบแก่ใบอ่อน
ของต้นไม้ที่สั่นไหว เพราะต้องลมอ่อนว่า มาเถิด มากินมาใช้ฉันเถิด.
ป่านั้นด้วย ถึงความงามด้วย ฉะนั้นจึงชื่อว่า สุภควัน. ในป่าสุภควันนั้น.
13
มานะเกิดเพราะปริยัติ
ดังได้สดับมา พราหมณ์ ๕๐๐ คนเรียนจบไตรเพท ภายหลังได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระผู้มี
พระภาคเจ้า เมื่อเห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นอานิสงส์ในการออกบวช จึงออกบวชอยู่ในสานักของพระผู้มี
พระภาคเจ้า ต่อกาลไม่นานเลยก็เรียนเอาพระพุทธพจน์ทั้งหมด เพราะอาศัยการศึกษาเล่าเรียน จึงเกิด
มานะขึ้นว่า พวกเรารู้พระพุทธพจน์ที่พระผู้มีภาคเจ้าตรัสไว้พลันทีเดียว เพราะว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจะไม่
ตรัสเรื่องอะไรๆ นอกเหนือจากลิงค์ ๓ บท ๔ และวิภัตติ ๗ ก็เมื่อพระองค์ตรัสอย่างนี้ ขึ้นชื่อว่าบทที่เป็น
เงื่อนงา (ไม่เข้าใจ) สาหรับพวกเราย่อมไม่มี ดังนี้ .
ภิกษุเหล่านั้นไม่มีความเคารพในพระผู้มีพระภาคเจ้า จาเดิมแต่นั้น ก็ไม่ไปอุปัฏฐากพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าบ้าง ไม่ไปฟังธรรมเป็นประจาบ้าง.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบวารจิตนั้นของภิกษุเหล่านั้น ทรงดาริว่า ภิกษุเหล่านี้ ยังถอนตะปู
คือมานะไม่ได้ ก็ไม่ควรเพื่อทาให้แจ้งมรรคหรือผล ทรงกระทามานะที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการเล่าเรียนสุตะ
ของภิกษุเหล่านั้นให้เป็นต้นเหตุเกิดเรื่อง จึงเริ่มการแสดงธรรมว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ฉลาดในการ
แสดงมูลปริยายสูตรแห่งธรรมทั้งปวง เพื่อจะหักเสียซึ่งมานะ (ของภิกษุเหล่านั้น) ดังนี้ .
ความหมายของปุถุชน
ปุถุชน ชื่อว่าเญยยะ เพราะไม่มีอาคม ชื่อว่าอัสสุตวา เพราะไม่มีอธิคม.
อธิบายว่า ปุถุชนใด ชื่อว่าไม่มีอาคมที่ขจัดความไม่รู้ เพราะไม่รู้เหตุที่เว้นจากการเรียน การ
สอบถามและการวินิจฉัยในขันธ์ ธาตุ อายตนะ สัจจะ ปัจจยาการและสติปัฏฐานเป็นต้น. ชื่อว่าไม่มีอธิคม
เพราะไม่ได้บรรลุธรรมที่จะพึงบรรลุด้วยการปฏิบัติ. ปุถุชนนั้นจึงชื่อว่าเญยยะ เพราะไม่มีอาคม ชื่อว่าอัสสุ
ตวา เพราะไม่มีอธิคม.
ชนนี้ นั้น ชื่อว่า ปุถุชน เพราะเหตุทั้งหลายมีการ
ยังกิเลสหนาให้เกิดเป็นต้น อีกอย่างหนึ่ง ชนนี้
ชื่อว่า หนา (ปุถุ) เพราะหยั่งลงภายในกิเลสที่หนา.
จริงอยู่ ชนนั้น ชื่อว่าปุถุชน เพราะเหตุทั้งหลายมีอาทิคือ ยังกิเลสเป็นต้นที่หนามีประการต่างๆ
ให้เกิด. สมดังพระธรรมสังคาหกาจารย์กล่าวไว้ว่า ชนทั้งหลาย ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่ายังกิเลสหนาให้
เกิด, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าถูกสักกายทิฏฐิเบียดเบียนมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าต้องคอยมองดู
ศาสดาบ่อยๆ, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่ายังไม่หลุดพ้นไปจากคติทั้งปวงที่หนาแน่น, ชื่อว่าปุถุชน เพราะ
อรรถว่าปรุงแต่งเครื่องปรุงแต่งต่างๆ เป็นอันมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าถูกโอฆะต่างๆ เป็นอันมากพัด
พาไป, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าเดือดร้อนด้วยความเดือดร้อนต่างๆ เป็นอันมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะ
อรรถว่าเร่าร้อนด้วยความเร่าร้อนต่างๆ เป็นอันมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่ากาหนัด ติดใจ สยบ ลุ่ม
หลง ติดขัด ขัดข้อง พัวพันในกามคุณ ๕ เป็นอันมาก. ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าถูกนิวรณ์ ๕ ร้อยรัดไว้ ปก
คลุม ปิดบัง ครอบงาไว้เป็นอันมาก. อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปุถุชน เพราะอยู่ในหมู่ชนผู้มีธรรมจริยาต่า ผู้หัน
หลังให้กับอริยธรรม. จานวนมาก คือนับไม่ถ้วน ซึ่งหันหลังให้อริยธรรม.
14
อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่า ชนนี้ ถึงการนับว่าแยกอยู่ต่างหาก คือไม่เกี่ยวข้องกับ
พระอริยเจ้าทั้งหลายผู้ประกอบด้วยคุณมีศีลและสุตะเป็นต้น.
อริยะ-สัตบุรุษ
คาว่า อริยะ ท่านกล่าวหมายเอาพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระพุทธสาวก เพราะ
เป็นผู้ไกลจากกิเลส ไม่ดาเนินไปในทางเสื่อม ดาเนินไปในทางเจริญ และอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก พึง
ดาเนินตาม.
อีกอย่างหนึ่ง พระอริยะในที่นี้ ก็คือพระพุทธเจ้านั่นเอง. สมดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย พระตถาคต ท่านเรียกว่า อริยะ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ฯลฯ.
อนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระสาวกของพระตถาคตเจ้า พึงทราบว่า สัตบุรุษ ในคาว่า สปฺปุริ
สา นี้ จริงอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเป็นต้นเหล่านั้น ชื่อว่า โสภณบุรุษ. เพราะประกอบด้วยคุณอันเป็นโลกุต
ตระ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าสัตบุรุษ.
อีกอย่างหนึ่ง สัตบุรุษเหล่านั้นทั้งหมดเทียว ท่านกล่าวแยกออกเป็น ๒ พวก. จริงอยู่
พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ดี พระปัจเจกพุทธเจ้าและพุทธสาวกก็ดี เป็นทั้งพระอริยะและสัตบุรุษ.
สมดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า
บุคคลใดแล เป็นนักปราชญ์ ผู้กตัญญูกตเวที เป็น
กัลยาณมิตร มีความภักดีมั่น กระทาการช่วยเหลือ
ผู้ตกทุกข์ได้ยาก โดยความเต็มใจ บัณฑิตทั้งหลาย
กล่าวผู้เช่นนั้นว่า สัตบุรุษ ดังนี้ .
ปฐวี ๔ อย่าง
ปฐวีมี ๔ อย่าง คือ ลักขณปฐวี ๑ สสัมภารปฐวี ๑ อารัมมณปฐวี ๑ และสัมมติปฐวี ๑.
ในปฐวี ๔ อย่างนั้น ปฐวีธาตุที่ท่านกล่าวไว้ในประโยคเป็นต้นว่า ดูก่อนผู้มีอายุ ก็ปฐวีธาตุ
ภายในเป็นไฉน? ได้แก่สิ่งที่แข้นแข็ง (เป็นลักษณะ) เฉพาะตนอยู่ในตัวมันเอง ชื่อว่าลักขณปฐวี.
ปฐวีธาตุที่ท่านกล่าวไว้ในประโยคเป็นต้นว่า ภิกษุขุดเองก็ดี ให้คนอื่นขุดก็ดีซึ่งแผ่นดิน ดังนี้ ชื่อ
ว่าสสัมภารปฐวี. อนึ่ง ปฐวีธาตุ คือโกฏฐาสะ (ส่วน) ๒๐ มีผมเป็นต้น และวัตถุภายนอกมีเหล็กและโลหะ
เป็นต้น พร้อมทั้งคุณสมบัติมีสีเป็นต้น รวมเรียกว่าสสัมภารปฐวี.
ส่วนปฐวีธาตุ มาในประโยคเป็นต้นว่า คนหนึ่งรู้ชัดปฐวีกสิณ เรียกว่าอารัมมณปฐวี. บางท่าน
เรียกว่านิมิตตปฐวี.
ปฐวีธาตุที่ว่า บุคคลได้ฌานมีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เกิดในเทวโลก ย่อมได้นามว่า ปฐวีเทวดา
ด้วยอานาจปฐวีกสิณเป็นเหตุให้มา (เกิด) นี้ พึงทราบว่า สัมมติปฐวี.
ในอธิการนี้ ย่อมได้ปฐวีแม้ทั้งหมดนั้น. ปุถุชนนี้ ย่อมหมายรู้ปฐวีอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดา
15
ปฐวีเหล่านั้นโดยเป็นปฐวี ย่อมหมายรู้ว่าเป็นปฐวี ย่อมรู้โดยส่วนแห่งปฐวี ครั้นถือเอาตามโวหารโลกแล้ว
ย่อมหมายเอาด้วยสัญญาวิปัลลาสว่า เป็นปฐวี เมื่อปล่อยวางส่วนแห่งปฐวีไม่ได้อย่างนี้ แหละ ย่อมหมายรู้
เอาส่วนแห่งปฐวีนั่นโดยนัยเป็นต้นว่า สัตว์หรือว่าของสัตว์. เพราะเหตุไร ท่านจึงไม่ควรกล่าวไว้ว่า เอว สญฺ
ชานาติ เพราะว่าปุถุชนเป็นเหมือนคนบ้า เขาย่อมยึดถือสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง.
อีกอย่างหนึ่ง เหตุอันต่างด้วยความเป็นผู้ไม่เห็นพระอริยเจ้าทั้งหลายเป็นต้นนั่นแหละ จัดเป็น
ตัวการในการกาหนดหมายนี้ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะตรัสว่า อปริญฺญาต ตสฺส ข้างหน้าก็เป็นอันตรัส
ไว้แล้ว.
ปุถุชนนั้นกาหนดหมายแผ่นดินนั้นด้วยสัญญาที่วิปริตอย่างนี้ แล้ว ต่อมาย่อมสาคัญ คือ
กาหนดให้ต่างออกไป ได้แก่ยึดถือโดยประการต่างๆ คือโดยประการอื่นด้วยกิเลสเครื่องเนิ่นช้า คือตัณหา
มานะและทิฏฐิที่มีกาลัง ซึ่งท่านกล่าวไว้ด้วยนาม (รวม) ว่ามัญญนาในที่นี้ ตามพระบาลีว่า ก็ส่วนแห่งกิเลส
เครื่องเนิ่นช้า มีสัญญาเป็นต้นเหตุ ดังนี้ .
ก็เพื่อจะทรงแสดงความสาคัญเหล่านั้นของเขาผู้สาคัญอยู่เช่นนี้ โดยนัยอันพิสดาร พระผู้มีพระ
ภาคเจ้าจึงตรัสปฐวีในภายใน ๒๐ ประเภทโดยนัยเป็นต้นว่า เกสา โลมา.
ตรัสปฐวีในคัมภีร์วิภังค์อย่างนี้ ว่า บรรดาปฐวีธาตุ ๒ อย่างนั้น ปฐวีธาตุภายนอกเป็นไฉน? คือ
วัตถุภายนอกที่แข้นแข็งหยาบกระด้าง ไม่มีใจครอง เช่นเหล็ก โลหะ ดีบุกขาว ดีบุกดา แร่เงิน มุกดา แก้ว
มณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงินตรา ทองรูปพรรณ แก้วแดง (ทับทิม) เพชรตาแมว หญ้า ท่อน
ไม้ ก้อนกรวด ทราย กระเบื้อง แผ่นดิน หิน ภูเขา,
และตรัสนิมิตแผ่นดินในวัตถุอารมณ์ภายใน ท่านหมายเอาปฐวีนั้นๆ กล่าวการประกอบความนี้
ไว้.
ปุถุชนย่อมสาคัญว่าเราเป็นดิน ว่าดินเป็นของเรา ว่าคนอื่นเป็นดิน ว่าดินของคนอื่น ดังนี้ ด้วย
ความสาคัญ ๓ อย่าง.
อีกอย่างหนึ่ง ย่อมสาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายในด้วยความสาคัญ ด้วยอานาจตัณหา มานะ
และทิฏฐิ.
สาคัญอย่างไร?
จริงอยู่ ปุถุชนนี้ ยังฉันทราคะให้เกิดในผมเป็นต้น คือยินดีเพลิดเพลิน พร่าเพ้อ หลงใหล ผม ขน
เล็บ ฟัน หนัง ก็หรือวัตถุซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความกาหนัดอย่างใดอย่างหนึ่ง, ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวีภายในด้วย
ความสาคัญอันเกิดจากอานาจแห่งตัณหาอย่างนี้ .
ก็หรือว่า เกิดความทะยานอยากในผมเป็นต้นนั้น โดยนัยเป็นต้นว่า ผมของเราพึงเป็นเช่นนี้
ตลอดไป ขอขนของเราพึงเป็นเช่นนี้ ตลอดไป ก็หรือว่า ตั้งจิตไว้เพื่อจะได้สิ่งที่ตนยังไม่ได้โดยนัยเป็นต้น ด้วย
ศีลหรือพรหมจรรย์อันนี้ เราจักมีผมดาสนิทอ่อนนุ่ม ดังนี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายใน ด้วย
ความสาคัญด้วยอานาจตัณหา แม้ดังอธิบายมานี้ .
อนึ่ง ปุถุชนอาศัยสมบัติ (ความถึงพร้อม) หรือวิบัติของผมเป็นต้นแห่งตน แล้วยังมานะให้
เกิดขึ้นว่า เราดีกว่า เราเสมอกัน หรือว่าเราเลวกว่า ดังกล่าวมานี้ ชื่อว่า สาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายในด้วย
16
ความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจมานะ.
อนึ่ง ย่อมยึดมั่นผมว่าเป็น ชีวะ โดยนัยที่มาแล้วว่า ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น ดังนี้ . (แม้) ใน
ขนเป็นต้นก็นัยนี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายในด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิ
ดังกล่าวมา.
อีกอย่างหนึ่ง ปุถุชนย่อมยึดมั่นซึ่งปฐวีอันต่างด้วยผมเป็นต้น โดยนัยอันเป็นข้าศึกต่อพฤติกรรม
นี้ ว่า ดูก่อนอาวุโส ก็ปฐวีธาตุภายในอันใดแล และปฐวีธาตุภายนอกอันใด ก็ปฐวีธาตุ (ทั้ง ๒) นั้น ชื่อว่าปฐวี
ธาตุเหมือนกัน อันนี้ นั่นไม่ใช่ของเราว่า ของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวี
ภายในด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิแม้อย่างนี้ .
ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวีภายในด้วยความสาคัญ ๓ อย่าง ดังพรรณนามานี้ ก่อน. พึงทราบว่า ย่อม
สาคัญปฐวีภายนอกเหมือนอย่างปฐวีภายใน.
อย่างไร?
จริงอยู่ ปุถุชนนี้ ยังฉันทราคะให้เกิดขึ้นในเหล็กและโลหะเป็นต้น เพลิดเพลิน พร่าเพ้อ หลงใหล
เหล็กและโลหะเป็นต้น ย่อมหวงแหนรักษา คุ้มครอง เหล็กเป็นต้นไว้โดยนัยเป็นต้นว่า เหล็กของเรา โลหะ
ของเรา ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญด้วยอานาจตัณหาด้วยประการฉะนี้ .
ก็หรือว่าปุถุชนย่อมทะยานอยากในปฐวีภายนอกนี้ ว่า ขอเหล็กและโลหะเป็นต้นของเรา พึงมีอยู่
อย่างนี้ ตลอดไป หรือตั้งจิตไว้ เพื่อจะได้สิ่งที่ยังไม่ได้ว่า ด้วยศีลหรือพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นผู้มีอุปกรณ์ มี
เหล็กและโลหะเป็นต้นที่ถึงพร้อมแล้วอย่างนี้ . ปุถุชน ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญอันเกิด
มาจากอานาจตัณหาแม้ด้วยประการฉะนี้ .
อนึ่ง ปุถุชนอาศัยสมบัติหรือวิบัติแห่งเหล็กและโลหะเป็นต้นของตนแล้ว เกิดมานะขึ้นว่า ด้วย
อุปกรณ์นี้ เราจึงดีกว่าเขา เสมอเขาหรือเลวกว่าเขา. ปุถุชน ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอกด้วยความสาคัญ
อันเกิดมาจากอานาจมานะอย่างนี้ .
ก็ปุถุชนเป็นผู้มีความสาคัญในเหล็กว่าชีวะ ย่อมยึดมั่นว่านี้ เป็นชีวะ. นัยในโลหะเป็นต้นก็มีนัยนี้ .
ปุถุชนชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิด้วยประการฉะนี้ .
อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นปฐวีกสิณโดยเป็นอัตตา คือว่าย่อมยึดมั่น
นิมิตปฐวีว่า อัตตา โดยนัยที่ท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์ปฏิสัมภิทานั่นแลว่า ปุถุชนย่อมพิจารณาเห็นเนื้ อความทั้ง
๒ คือ ปฐวีกสิณและองคาพยพว่า ปฐวีกสิณอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด ปฐวีกสิณก็อันนั้น ดังนี้ ชื่อว่าย่อม
สาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิด้วยประการฉะนี้ .
ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวีแม้ภายนอกด้วยความสาคัญ ๓ อย่างดังอธิบายมานี้ .
ปุถุชนย่อมสาคัญว่า เรามีอยู่ในปฐวี, ย่อมสาคัญว่า ความกังวลผูกพันของเรามีอยู่ในปฐวี, ย่อม
สาคัญว่า บุคคลอื่นมีอยู่ในปฐวี, ย่อมสาคัญว่า ความกังวลผูกพันของบุคคลอื่นในปฐวีมีอยู่ ดังนี้
อีกอย่างหนึ่ง นัยแห่งเนื้ อความของสัตตมีวิภัตตินั้น ที่ใดที่ท่านกล่าวไว้ว่า
ปุถุชนย่อมพิจารณาเห็นอัตตาในรูปอย่างไร? คือปุถุชนบางคนในโลกนี้ ย่อมพิจารณาเห็น
เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ว่าเป็นอัตตา เขาย่อมพิจารณาเห็นอัตตาในรูปอย่างนี้ ว่า ก็นี้ แหละเป็น
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf

More Related Content

Similar to ๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf

๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasatiTongsamut vorasan
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80Rose Banioki
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพรampy48
 

Similar to ๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf (20)

บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่บทที่ ๓ ใหม่
บทที่ ๓ ใหม่
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
๑๖ ปิงคิยปัญหา.pdf
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati4 อานาปานสติ anapanasati
4 อานาปานสติ anapanasati
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
7 61+ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล+ภาค+๓
 
บาลี 61 80
บาลี 61 80บาลี 61 80
บาลี 61 80
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล                โดย ครูอัมพรศาสนาสากล                โดย ครูอัมพร
ศาสนาสากล โดย ครูอัมพร
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 

More from maruay songtanin

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๗๘. สุวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 

๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มูลปริยายสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา พราหมณ์ ๕๐๐ คนผู้เรียนจบไตรเพท ออกบวชอยู่ในสานักของพระผู้มีพระภาคเจ้า ต่อกาลไม่ นานเลยก็เรียนเอาพระพุทธพจน์ทั้งหมด เพราะอาศัยการศึกษาเล่าเรียน จึงเกิดมานะขึ้นว่า พวกเรารู้พระ พุทธพจน์ที่พระผู้มีภาคเจ้าตรัสไว้พลันทีเดียว พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบวารจิตนั้นของภิกษุเหล่านั้น ทรงดาริว่า ภิกษุเหล่านี้ ยังถอนตะปูคือมานะไม่ได้ ก็ไม่ควรเพื่อทาให้แจ้งมรรคหรือผล จึงเริ่มการแสดง ธรรมว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ฉลาดในการแสดงมูลปริยายสูตรแห่งธรรมทั้งปวง เพื่อจะหักเสียซึ่งมานะ (ของภิกษุเหล่านั้น) พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๔ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ พระสุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ ____________ ๑. มูลปริยายวรรค หมวดว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรม ๑. มูลปริยายสูตร ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรม [๑] ข้าพเจ้า (ข้าพเจ้า ในตอนเริ่มต้นของพระสูตรนี้ และพระสูตรอื่นๆ ในเล่มนี้ หมายถึงพระ อานนท์) ได้สดับมาอย่างนี้ สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคประทับอยู่ ณ โคนไม้รังใหญ่ในสุภควัน เขตเมืองอุกกัฏฐา ณ ที่นั้นแล พระผู้มีพระภาคได้รับสั่งเรียกภิกษุทั้งหลายมาตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย" ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัส แล้ว พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสว่า “ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง (มูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง หมายถึงเทศนาว่า ด้วยเหตุให้เกิดสภาวะทั้งปวง) แก่เธอทั้งหลาย เธอทั้งหลายจงฟัง จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว” ภิกษุเหล่านั้นทูลรับสนองพระดารัสแล้ว พระผู้มีพระภาคจึงได้ตรัสเรื่องนี้ ว่า กาหนดภูมิตามนัยที่ ๑ ว่าด้วยปุถุชน [๒] “ภิกษุทั้งหลาย ปุถุชน (ปุถุชน หมายถึงคนที่ยังมีกิเลสหนา ที่เรียกเช่นนี้ เพราะบุคคล ประเภทนี้ ยังมีเหตุก่อให้เกิดกิเลสอย่างหนานานัปการ ปุถุชนมี ๒ ประเภท คือ (๑) อันธปุถุชน คนที่ไม่ได้
  • 2. 2 รับการศึกษาอบรมทางจิต (๒) กัลยาณปุถุชน คนที่ได้รับการศึกษาอบรมทางจิตแล้ว) ในโลกนี้ ผู้ยังไม่ได้ สดับ ไม่ได้พบพระอริยะทั้งหลาย (พระอริยะ หมายถึงพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระพุทธ สาวก ที่ชื่อว่าพระอริยะเพราะเป็นผู้ไกลจากกิเลส ไม่ดาเนินไปในทางเสื่อม ดาเนินไปแต่ในทางเจริญ เป็นผู้ ที่ชาวโลกและเทวโลกควรดาเนินตาม) ไม่ฉลาดในธรรมของพระอริยะ ไม่ได้รับคาแนะนาในธรรมของ พระอริยะ ไม่ได้พบสัตบุรุษทั้งหลาย (สัตบุรุษ โดยทั่วไป หมายถึงคนกตัญญูกตเวที เป็นนักปราชญ์ เป็น กัลยาณมิตร เป็นผู้มีความภักดีมั่นคง กระทาการช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก ด้วยความเต็มใจ แต่ในที่นี้ หมายถึงพระพุทธเจ้าพระปัจเจกพุทธเจ้า และพระพุทธสาวก) ไม่ฉลาดในธรรมของสัตบุรุษ ไม่ได้รับ คาแนะนาในธรรมของสัตบุรุษ หมายรู้ปฐวี (ดิน) (ปฐวี มี ๔ ชนิด คือ (๑) ลักขณปฐวี เป็นสิ่งที่แข็ง กระด้าง หยาบเฉพาะตนในตัวมันเอง (๒) สสัมภารปฐวี เป็นส่วนแห่งอวัยวะมีผมเป็นต้น และวัตถุภายนอก มีโลหะเป็นต้น พร้อมทั้งคุณสมบัติมีสีเป็นต้น (๓) อารัมมณปฐวี เป็นปฐวีธาตุที่นามากาหนดเป็นอารมณ์ ของปฐวีกสิณ นิมิตตปฐวี ก็เรียก (๔) สัมมติปฐวี เป็นปฐวีธาตุที่ปฐวีเทวดามาเกิดในเทวโลกด้วยอานาจ ปฐวีกสิณและฌานในที่นี้ ปฐวี หมายถึงทั้ง ๔ ชนิด) โดยความเป็นปฐวี ครั้นหมายรู้ปฐวีโดยความเป็น ปฐวีแล้ว (หมายรู้ปฐวีโดยความเป็นปฐวี ในที่นี้ หมายถึงหมายรู้แผ่นดินนั้นด้วยสัญญาที่วิปริตคือกาหนดให้ ต่างออกไปจากความเป็นจริงโดยประการต่างๆ ด้วยกิเลสเป็นเหตุเนิ่นช้า คือ ตัณหา มานะและทิฏฐิ ที่มี กาลัง) กาหนดหมายซึ่งปฐวี (กาหนดหมายซึ่งปฐวี หมายถึงกาหนดหมายด้วยตัณหา มานะ และทิฏฐิว่า 'เราเป็นดิน ดินเป็นของเรา, คนอื่นเป็นดิน ดินเป็นของคนอื่น หรืออีกนัยหนึ่ง หมายถึงกาหนดหมายด้วย อานาจตัณหาให้เกิดฉันทราคะ ติดใจในผมเป็นต้นจนถึงตั้งความปรารถนาว่า 'ด้วยศีลหรือพรหมจรรย์นี้ ขอให้เรามีผมนุ่มดาสนิทดี, กาหนดหมายด้วยอานาจมานะว่า 'เราดีกว่า เราเสมอกัน หรือเราด้อยกว่า' และกาหนดหมายด้วยอานาจทิฏฐิ คือ ยึดมั่นว่าผมเป็นชีวะ โดยนัยว่า 'ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น') กาหนดหมายในปฐวี กาหนดหมายนอกปฐวี (กาหนดหมายในปฐวี หมายถึงกาหนดหมายด้วยอานาจ ทิฏฐิว่า "มีเราอยู่ในดิน หรือเรามีปลิโพธิในดิน มีผู้อื่นอยู่ในดิน หรือผู้อื่นมีปลิโพธในดิน" ตามนัยที่ว่า 'พิจารณาเห็นอัตตาในรูปเป็นต้น กาหนดหมายนอกปฐวี หมายถึงกาหนดหมายด้วยอานาจทิฏฐิว่า ตนหรือ คนอื่นพร้อมทั้งสรรพสิ่งล้วนแต่เกิดจากดินแต่มิใช่ดินตามลัทธิพรหมัณฑวาท (ลัทธิที่เชื่อว่าโลกเกิดจาก พรหม) ลัทธิอณุกวาท (ลัทธิที่เชื่อว่าโลกประกอบด้วยอณู) หรือลัทธิอิสสรวาท (ลัทธิที่เชื่อว่าพระอิศวรเป็น ผู้สร้างโลก) แล้วเกิดตัณหา มานะในตน และบุคคลอื่นตลอดถึงสรรพสิ่งนั้น) กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของ เรา ยินดีปฐวี (ยินดีปฐวี หมายถึงเพลิดเพลินยินดีติดใจปฐวีด้วยอานาจตัณหาและทิฏฐิ ความยินดีปฐวี นั่นเองชื่อว่ายินดีทุกข์ สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้ว่า 'ภิกษุทั้งหลาย เรากล่าวว่า 'ผู้ใดยินดีปฐวีธาตุ ผู้นั้นยินดีทุกข์ ผู้ใดยินดีทุกข์ ผู้นั้นไม่พ้นไปจากทุกข์') ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้ (ไม่ได้กาหนดรู้ หมายถึงไม่ได้กาหนดรู้ด้วยปริญญา ๓ ประการ คือ (๑) ญาตปริญญา ได้แก่ รู้ว่า ‘นี้ เป็นปฐวีธาตุภายใน นี้ เป็นปฐวีธาตุภายนอก นี้ เป็นลักษณะ กิจ เหตุเกิด และที่เกิดแห่งปฐวีธาตุ’ หรือได้แก่กาหนดนามและรูป (๒) ตีรณปริญญา ได้แก่ พิจารณาเห็น
  • 3. 3 ว่า ‘ปฐวีธาตุมีอาการ ๔๐ คือ อาการไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นโรค’ เป็นต้น หรือได้แก่ พิจารณากลาปะ (ความ เป็นกลุ่มก้อน) เป็นต้น พิจารณาอนุโลมญาณเป็นที่สุด (๓) ปหานปริญญา ได้แก่ เมื่อพิจารณาเห็นอย่าง นั้นแล้ว จึงละฉันทราคะ (ความกาหนัดด้วยอานาจความพอใจ) ในปฐวีธาตุด้วยอรหัตตผล หรือได้แก่ ญาณ ในอริยมรรค เพราะปริญญา ๓ ประการนี้ ไม่มีแก่ปุถุชน เขาจึงกาหนดหมายและยินดีปฐวีธาตุ อาโปธาตุ เตโชธาตุ และวาโยธาตุ)’ หมายรู้อาโป(น้า)โดยความเป็นอาโป ครั้นหมายรู้อาโปโดยความเป็นอาโปแล้วกาหนดหมายซึ่ง อาโป กาหนดหมายในอาโป กาหนดหมายนอกอาโป กาหนดหมายอาโปว่าเป็นของเรา ยินดีอาโป ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้เตโช(ไฟ)โดยความเป็นเตโช ครั้นหมายรู้เตโชโดยความเป็นเตโชแล้ว กาหนดหมายซึ่ง เตโช กาหนดหมายในเตโช กาหนดหมายนอกเตโช กาหนดหมายเตโชว่าเป็นของเรา ยินดีเตโช ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้วาโย(ลม)โดยความเป็นวาโย ครั้นหมายรู้วาโยโดยความเป็นวาโยแล้ว กาหนดหมายซึ่ง วาโย กาหนดหมายในวาโย กาหนดหมายนอกวาโย กาหนดหมายวาโยว่าเป็นของเรา ยินดีวาโย ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ [๓] หมายรู้ภูต (ภูต หมายถึงขันธ์ ๕ อมนุษย์ ธาตุ สิ่งที่มีอยู่ พระขีณาสพ สัตว์ และต้นไม้เป็นต้น แต่ในที่นี้ หมายถึงสัตว์ทั้งหลายผู้อยู่ต่ากว่าชั้นจาตุมหาราช) โดยความเป็นภูต ครั้นหมายรู้ภูตโดยความเป็น ภูตแล้ว กาหนดหมายซึ่งภูต กาหนดหมายในภูต กาหนดหมายนอกภูต กาหนดหมายภูตว่าเป็นของเรา ยินดีภูต ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้เทวดาโดยความเป็นเทวดา ครั้นหมายรู้เทวดาโดยความเป็นเทวดาแล้ว กาหนดหมายซึ่ง เทวดา กาหนดหมายในเทวดา กาหนดหมายนอกเทวดา กาหนดหมายเทวดาว่าเป็นของเรา ยินดีเทวดา ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้ปชาบดี (ปชาบดี หมายถึงผู้ยิ่งใหญ่กว่าปชาคือหมู่สัตว์ ได้แก่ มารชื่อว่า ปชาบดี เพราะ ปกครองเทวโลกชั้นปรนิมมิตวสวัตดี) โดยความเป็นปชาบดี ครั้นหมายรู้ปชาบดีโดยความเป็นปชาบดีแล้ว กาหนดหมายซึ่งปชาบดี กาหนดหมายในปชาบดี กาหนดหมายนอกปชาบดี กาหนดหมายปชาบดีว่าเป็น ของเรา ยินดีปชาบดี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’
  • 4. 4 หมายรู้พรหมโดยความเป็นพรหม ครั้นหมายรู้พรหมโดยความเป็นพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่ง พรหม กาหนดหมายในพรหม กาหนดหมายนอกพรหม กาหนดหมายพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้อาภัสสรพรหมโดยความเป็นอาภัสสรพรหม ครั้นหมายรู้อาภัสสรพรหมโดยความเป็นอา ภัสสรพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งอาภัสสรพรหม กาหนดหมายในอาภัสสรพรหม กาหนดหมายนอกอา ภัสสรพรหม กาหนดหมายอาภัสสรพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีอาภัสสรพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้สุภกิณหพรหมโดยความเป็นสุภกิณหพรหม ครั้นหมายรู้สุภกิณหพรหมโดยความเป็นสุภ กิณหพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งสุภกิณหพรหม กาหนดหมายในสุภกิณหพรหม กาหนดหมายนอกสุภ กิณหพรหม กาหนดหมายสุภกิณหพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีสุภกิณหพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้เวหัปผลพรหมโดยความเป็นเวหัปผลพรหม ครั้นหมายรู้เวหัปผลพรหมโดยความเป็น เวหัปผลพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งเวหัปผลพรหม กาหนดหมายในเวหัปผลพรหม กาหนดหมายนอกเวหัป ผลพรหม กาหนดหมายเวหัปผลพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีเวหัปผลพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้อภิภูสัตว์ (อภิภูสัตว์ กับ อสัญญีสัตว์ เป็นไวพจน์ของกันและกัน หมายถึงสัตว์ผู้ไม่มีสัญญา สถิตอยู่ในชั้นเดียวกับเวหัปผลพรหม บังเกิดด้วยอิริยาบถใดก็สถิตอยู่ด้วยอิริยาบถนั้นตราบสิ้นอายุขัย) โดย ความเป็นอภิภูสัตว์ ครั้นหมายรู้อภิภูสัตว์โดยความเป็นอภิภูสัตว์แล้ว กาหนดหมายซึ่งอภิภูสัตว์ กาหนด หมายในอภิภูสัตว์ กาหนดหมายนอกอภิภูสัตว์ กาหนดหมายอภิภูสัตว์ว่าเป็นของเรา ยินดีอภิภูสัตว์ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้ [๔] หมายรู้อากาสานัญจายตนพรหมโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหม ครั้นหมายรู้อา กาสานัญจายตนพรหมโดยความเป็นอากาสานัญจายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งอากาสานัญจายตน พรหม กาหนดหมายในอากาสานัญจายตนพรหม กาหนดหมายนอกอากาสานัญจายตนพรหม กาหนด หมายอากาสานัญจายตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีอากาสานัญจายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า 'เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้' หมายรู้วิญญาณัญจายตนพรหมโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหม ครั้นหมายรู้วิญญาณัญ จายตนพรหมโดยความเป็นวิญญาณัญจายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งวิญญาณัญจายตนพรหม กาหนด
  • 5. 5 หมายในวิญญาณัญจายตนพรหม กาหนดหมายนอกวิญญาณัญจายตนพรหม กาหนดหมายวิญญาณัญจาย ตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีวิญญาณัญจายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า 'เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้' หมายรู้อากิญจัญญายตนพรหมโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหม ครั้นหมายรู้อา กิญจัญญายตนพรหมโดยความเป็นอากิญจัญญายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งอากิญจัญญายตนพรหม กาหนดหมายในอากิญจัญญายตนพรหม กาหนดหมายนอกอากิญจัญญายตนพรหม กาหนดหมายอา กิญจัญญายตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีอากิญจัญญายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า 'เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้' หมายรู้เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดยความเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ครั้นหมายรู้ เนวสัญญานาสัญญายตนพรหมโดยความเป็นเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมแล้ว กาหนดหมายซึ่งเนว สัญญานาสัญญายตนพรหม กาหนดหมายในเนวสัญญานาสัญญายตนพรหม กาหนดหมายนอกเนวสัญญา นาสัญญายตนพรหม กาหนดหมายเนวสัญญานาสัญญายตนพรหมว่าเป็นของเรา ยินดีเนวสัญญานา สัญญายตนพรหม ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ [๕] หมายรู้รูปที่ตนเห็น (รูปที่ตนเห็น หมายถึงสิ่งที่ตนเห็นทางมังสจักขุ หรือทิพพจักขุ คานี้ เป็น ชื่อแห่งรูปายตนะ) โดยความเป็นรูปที่ตนเห็น ครั้นหมายรู้รูปที่ตนเห็นโดยความเป็นรูปที่ตนเห็นแล้ว กาหนดหมายซึ่งรูปที่ตนเห็น กาหนดหมายในรูปที่ตนเห็น กาหนดหมายนอกรูปที่ตนเห็น กาหนดหมายรูป ที่ตนเห็นว่าเป็นของเรายินดีรูปที่ตนเห็น ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้เสียงที่ตนได้ยิน (เสียงที่ตนได้ยิน หมายถึงสิ่งที่ตนฟังทางมังสโสตะ หรือทิพพโสตะ คานี้ เป็นชื่อแห่งสัททายตนะ) โดยความเป็นเสียงที่ตนได้ยิน ครั้นหมายรู้เสียงที่ตนได้ยินโดยความเป็นเสียงที่ตน ได้ยินแล้ว กาหนดหมายซึ่งเสียงที่ตนได้ยิน กาหนดหมายในเสียงที่ตนได้ยิน กาหนดหมายนอกเสียงที่ตนได้ ยิน กาหนดหมายเสียงที่ตนได้ยินว่าเป็นของเรา ยินดีเสียงที่ตนได้ยิน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้อารมณ์ที่ตนทราบ (อารมณ์ที่ตนทราบ หมายถึงอารมณ์ที่ตนทราบแล้ว และรู้แล้วจึงรับ เอา คือ เข้าไปกระทบรับเอา มีคาอธิบายว่า ที่ตนรู้แจ้งแล้วเพราะการกระทบกันและกันระหว่างอินทรีย์กับ อารมณ์ทั้งหลาย คานี้ เป็นชื่อแห่งคันธายตนะ รสายตนะ และโผฏฐัพพายตนะ) โดยความเป็นอารมณ์ที่ตน ทราบ ครั้นหมายรู้อารมณ์ที่ตนทราบโดยความเป็นอารมณ์ที่ตนทราบแล้ว กาหนดหมายซึ่งอารมณ์ที่ตน
  • 6. 6 ทราบ กาหนดหมายในอารมณ์ที่ตนทราบ กาหนดหมายนอกอารมณ์ที่ตนทราบ กาหนดหมายอารมณ์ที่ตน ทราบว่าเป็นของเรา ยินดีอารมณ์ที่ตนทราบ ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง (อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง หมายถึงอารมณ์ที่ตนรู้แจ้งทางใจ คานี้ เป็นชื่อแห่ง อายตนะที่เหลือ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อแห่งธรรมารมณ์ แต่ในที่นี้ ได้เฉพาะอารมณ์ที่นับเนื่องในกายของตน) โดยความเป็นอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ครั้นหมายรู้อารมณ์ที่ตนรู้แจ้งโดยความเป็นอารมณ์ที่ตนรู้แจ้งแล้ว กาหนด หมายซึ่งอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง กาหนดหมายในอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง กาหนดหมายนอกอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง กาหนด หมายอารมณ์ที่ตนรู้แจ้งว่าเป็นของเรา ยินดีอารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ [๖] หมายรู้ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกันโดยความเป็นอันเดียวกัน ครั้นหมายรู้ ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกันโดยความเป็นอันเดียวกันแล้ว กาหนดหมายซึ่งความที่จิตที่เป็น ฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน กาหนดหมายในความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน กาหนดหมาย นอกความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน กาหนดหมายความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอัน เดียวกันว่าเป็นของเรา ยินดีความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้ความที่กามจิตต่างกันโดยความเป็นของต่างกัน ครั้นหมายรู้ความที่กามจิตต่างกันโดย ความเป็นของต่างกันแล้ว กาหนดหมายซึ่งความที่กามจิตต่างกัน กาหนดหมายในความที่กามจิตต่างกัน กาหนดหมายนอกความที่กามจิตต่างกัน กาหนดหมายความที่กามจิตต่างกันว่าเป็นของเรา ยินดีความที่ กามจิตต่างกัน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้สักกายะ (สักกายะ หมายถึงอุปาทานขันธ์ ๕ (คือ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ)) ทั้งปวงโดยความเป็นสักกายะทั้งปวง ครั้นหมายรู้สักกายะทั้งปวงโดยความเป็นสักกายะทั้งปวงแล้ว กาหนด หมายซึ่งสักกายะทั้งปวง กาหนดหมายในสักกายะทั้งปวง กาหนดหมายนอกสักกายะทั้งปวง กาหนดหมาย สักกายะทั้งปวงว่าเป็นของเรา ยินดีสักกายะทั้งปวง ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ หมายรู้นิพพาน (นิพพาน ในที่นี้ หมายถึงนิพพานที่ปุถุชนเข้าใจผิด ด้วยอานาจตัณหา มานะ และทิฏฐิ คือ เข้าใจว่า‘อัตตาที่พรั่งพร้อม เพียบพร้อม บาเรอด้วยกามคุณ ๕ เป็นนิพพานในปัจจุบัน, นิพพานเป็นอัตตา อัตตาเป็นอย่างอื่นจากนิพพาน ความสุขเป็นนิพพาน หรือนิพพานเป็นของเรา’) โดย
  • 7. 7 ความเป็นนิพพาน ครั้นหมายรู้นิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว กาหนดหมายซึ่งนิพพาน กาหนดหมาย ในนิพพาน กาหนดหมายนอกนิพพาน กาหนดหมายนิพพานว่าเป็นของเรา ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาไม่ได้กาหนดรู้’ กาหนดภูมิตามนัยที่ ๑ ว่าด้วยปุถุชน จบ ----------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๒ ว่าด้วยเสขบุคคล [๗] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดยังเป็นเสขบุคคล (เสขบุคคล หมายถึงบุคคลผู้ที่ยังต้องศึกษา ๓ จาพวก ได้แก่ พระโสดาบัน พระสกทาคามี และพระอนาคามีผู้ยังต้องฝึกอบรมในไตรสิกขา คือ (๑) อธิสี ลสิกขา ฝึกอบรมในเรื่องศีล (๒) อธิจิตตสิกขาฝึกอบรมในเรื่องจิต (สมาธิ) (๓) อธิปัญญาสิกขา ฝึกอบรม ในเรื่องปัญญา) ไม่ได้บรรลุอรหัตตผล ปรารถนาธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะอันยอดเยี่ยมอยู่ แม้ ภิกษุนั้นก็รู้ยิ่งปฐวี โดยความเป็นปฐวี (รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี หมายถึงรู้ด้วยสัญญาที่แตกต่างจาก ปุถุชน หรือรู้ด้วยญาณอันพิเศษยิ่ง กล่าวคือญาตปริญญา ตีรณปริญญา และปหานปริญญา มีคาอธิบายว่า เมื่อปล่อยวางความเป็นปฐวีอย่างนี้ ย่อมรู้ยิ่งปฐวีนั้นว่า ‘ไม่เที่ยง’ บ้าง ว่า ‘เป็นทุกข์’ บ้าง ว่า ‘เป็นอนัตตา’ บ้าง) ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว อย่ากาหนดหมายซึ่งปฐวี อย่ากาหนดหมายในปฐวี อย่า กาหนดหมายนอกปฐวี อย่ากาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา อย่ายินดีปฐวี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาควรกาหนดรู้’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ...พรหม ... อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ... อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ...ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว อย่ากาหนด หมายซึ่งนิพพาน อย่ากาหนดหมายในนิพพาน อย่ากาหนดหมายนอกนิพพาน อย่ากาหนดหมายนิพพานว่า เป็น ของเรา อย่ายินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาควรกาหนดรู้’ กาหนดภูมิตามนัยที่ ๒ ว่าด้วยเสขบุคคล จบ -------------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๓ ว่าด้วยพระขีณาสพ
  • 8. 8 [๘] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว (อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว หมายถึงอยู่จบธรรมเป็นเครื่องอยู่ร่วมกับครูบ้าง ธรรมเป็นเครื่องอยู่ร่วมคืออริยมรรคบ้าง ธรรมเป็นเครื่อง อยู่ของพระอริยะ ๑๐ ประการบ้าง) ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดย ลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว (สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หมายถึงสังโยชน์ ๑๐ ประการ คือ (๑) กามราคะ (๒) ปฏิฆะ (๓) มานะ (๔) ทิฏฐิ (๕) วิจิกิจฉา (๖) สีลัพพตปรามาส (๗) ภวราคะ (๘) อิสสา (๙) มัจฉริยะ (๑๐) อวิชชา สังโยชน์เหล่านี้ เรียกว่า ภวสังโยชน์ เพราะผูกพันหมู่สัตว์ไว้ในภพน้อยภพใหญ่) หลุดพ้น เพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้นก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็ นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่ กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมายในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีปฐวี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขากาหนดรู้แล้ว’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม ...อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ...ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขากาหนดรู้แล้ว’ กาหนดภูมิตามนัยที่ ๓ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ ------------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๔ ว่าด้วยพระขีณาสพ [๙] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดยลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หลุดพ้นเพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้น ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมาย ในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากราคะ เนื่องจากราคะสิ้นไป’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม ...อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม ...เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน
  • 9. 9 ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน ...ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากราคะ เนื่องจากราคะสิ้นไป’ กาหนดภูมิตามนัยที่ ๔ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ --------------------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๕ ว่าด้วยพระขีณาสพ [๑๐] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดยลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หลุดพ้นเพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้น ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมาย ในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโทสะ เนื่องจากโทสะสิ้นไป’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม... อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน... ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโทสะ เนื่องจากโทสะสิ้นไป’ กาหนดภูมิตามนัยที่ ๕ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ ---------------------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๖ ว่าด้วยพระขีณาสพ [๑๑] ภิกษุทั้งหลาย ภิกษุใดเป็นอรหันตขีณาสพ อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว ทากิจที่ควรทาเสร็จแล้ว ปลงภาระได้แล้ว บรรลุประโยชน์ตนโดยลาดับแล้ว สิ้นภวสังโยชน์แล้ว หลุดพ้นเพราะรู้โดยชอบ แม้ภิกษุนั้น ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมาย ในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี
  • 10. 10 ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโมหะ เนื่องจากโมหะสิ้นไป’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม... อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน... ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะเขาปราศจากโมหะ เนื่องจากโมหะสิ้นไป’ กาหนดภูมิตามนัยที่ ๖ ว่าด้วยพระขีณาสพ จบ -------------------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๗ ว่าด้วยพระตถาคต (ตถาคต ในที่นี้ หมายถึงพระผู้มีพระภาค บัณฑิตเรียกว่า ‘ตถาคต’ เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ (๑) เพราะ เสด็จมาแล้วอย่างนั้น (๒) เพราะเสด็จไปแล้วอย่างนั้น (๓) เพราะเสด็จมาสู่ลักษณะอันแท้จริง (๔) เพราะ ตรัสรู้ธรรมที่แท้ตามความเป็นจริง (๕) เพราะทรงเห็นจริง (๖) เพราะตรัสวาจาจริง (๗) เพราะทรงทาจริง (๘) เพราะทรงครอบงา (ผู้ที่ยึดถือลัทธิอื่นทั้งหมดในโลกพร้อมทั้งเทวโลก)) [๑๒] ภิกษุทั้งหลาย แม้ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมายในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอก ปฐวี ไม่กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะตถาคตกาหนดรู้ปฐวีนั้นแล้ว’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม… อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม… เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน… ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เรากล่าวว่า ‘เพราะตถาคตกาหนดรู้นิพพานนั้นแล้ว’
  • 11. 11 กาหนดภูมิตามนัยที่ ๗ ว่าด้วยพระตถาคต จบ -------------------- กาหนดภูมิตามนัยที่ ๘ ว่าด้วยพระตถาคต [๑๓] ภิกษุทั้งหลาย แม้ตถาคตอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ก็รู้ยิ่งปฐวีโดยความเป็นปฐวี ครั้นรู้ยิ่ง ปฐวีโดยความเป็นปฐวีแล้ว ไม่กาหนดหมายซึ่งปฐวี ไม่กาหนดหมายในปฐวี ไม่กาหนดหมายนอกปฐวี ไม่ กาหนดหมายปฐวีว่าเป็นของเรา ไม่ยินดีปฐวี ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะรู้ว่า ‘ความเพลิดเพลินเป็นมูลเหตุแห่งทุกข์ เพราะมีภพ ชาติจึงมี สัตว์ผู้เกิดแล้วต้องแก่ ต้องตาย’ เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวว่า ‘ตถาคตตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา คลาย ตัณหา ดับตัณหา สละตัณหา สลัดทิ้งตัณหาโดยประการทั้งปวง’ ฯลฯ รู้ยิ่งอาโป ... เตโช ... วาโย ... ภูต ... เทวดา ... ปชาบดี ... พรหม... อาภัสสรพรหม ... สุภ กิณหพรหม ... เวหัปผลพรหม ... อภิภูสัตว์ ...อากาสานัญจายตนพรหม ... วิญญาณัญจายตนพรหม ... อา กิญจัญญายตนพรหม... เนวสัญญานาสัญญายตนพรหม ... รูปที่ตนเห็น ... เสียงที่ตนได้ยิน ... อารมณ์ที่ตน ทราบ ... อารมณ์ที่ตนรู้แจ้ง ... ความที่จิตที่เป็นฌานสมาบัติเป็นอันเดียวกัน... ความที่กามจิตต่างกัน ... สัก กายะทั้งปวง ... รู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพาน ครั้นรู้ยิ่งนิพพานโดยความเป็นนิพพานแล้ว ไม่กาหนด หมายซึ่งนิพพาน ไม่กาหนดหมายในนิพพาน ไม่กาหนดหมายนอกนิพพาน ไม่กาหนดหมายนิพพานว่าเป็น ของเรา ไม่ยินดีนิพพาน ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะรู้ว่า ‘ความเพลิดเพลินเป็นมูลเหตุแห่งทุกข์ เพราะมีภพ ชาติจึงมีสัตว์ผู้เกิดแล้วต้องแก่ ต้อง ตาย’ เพราะเหตุนั้น เราจึงกล่าวว่า ‘ตถาคตตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ เพราะสิ้นตัณหา คลายตัณหา ดับตัณหา สละตัณหา สลัดทิ้งตัณหาโดยประการทั้งปวง” กาหนดภูมิตามนัยที่ ๘ ว่าด้วยพระตถาคต จบ พระผู้มีพระภาคได้ตรัสภาษิตนี้ แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมิได้มีใจยินดีชื่นชม (มิได้มีใจยินดีชื่นชม หมายถึงภิกษุเหล่านั้นไม่รู้คือไม่เข้าใจเนื้ อความของพระสูตรนี้ เหตุยังมีมานะทิฏฐิมาก เพราะมัวเมาใน ปริยัติ และเพราะพระภาษิตนั้นลึกซึ้งด้วยนัยที่ ๑ คือ ปุถุชน จนถึงนัยที่ ๘ คือพระตถาคต ท่านเหล่านั้นจึง ไม่รู้แจ้งอรรถแห่งพระพุทธพจน์ จึงมิได้มีใจยินดีชื่นชมพระภาษิตนั้น ภายหลังได้สดับโคตมกสูตร ซึ่งพระผู้มี พระภาคตรัสที่โคตมกเจดีย์แล้ว จึงได้บรรลุเป็นพระอรหันต์พร้อมทั้งปฏิสัมภิทาทั้งหลาย) พระภาษิตของ พระผู้มีพระภาค ดังนี้ แล มูลปริยายสูตรที่ ๑ จบ ---------------------------------
  • 12. 12 คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ มูลปริยายวรรค มูลปริยายสูตร ว่าด้วยมูลเหตุแห่งธรรมทั้งปวง อรรถกถามูลปริยายสูตร ------------------------------ ที่มาของชื่อเมืองอุกกัฏฐา เมืองนั้นเขาเรียกว่า อุกกัฏฐา เพราะชาวเมืองพากันชูคบเพลิง สร้างแม้ในเวลากลางคืนด้วยหวัง ว่า วันมงคล ขณะดี ฤกษ์ดี อย่าเลยไปเสีย. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า เพราะเมืองนั้นพวกชาวเมืองจุดประทีปมี ด้ามส่องให้สร้าง. ใกล้เมืองชื่ออุกกัฏฐานั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับยืนก็ดี เสด็จดาเนินก็ดี ประทับนั่งก็ดี บรรทมก็ดี ก็พึงทราบว่า ประทับอยู่ ทั้งนั้น. ที่มาของป่าสุภควัน ป่าชื่อว่าสุภคะ เพราะถึงความงาม. อธิบายว่า เพราะสง่างาม และเพราะมีสิ่งที่พึงประสงค์ สวยงาม. ก็เพราะความสวยงามของป่านั้น ผู้คนทั้งหลายจึงพากันถือเอาข้าวและน้าเป็นต้น ไปดื่มกินเที่ยว เล่นสนุกสนานอยู่ในป่านั้นนั่นแลตลอดทั้งวัน และปรารถนาสิ่งที่เขาปรารถนาดีๆ ในที่นั้นว่า ขอเรา ทั้งหลายจงได้ลูกชายลูกหญิงเถิด และสิ่งที่พึงปรารถนานั้นเขาก็ได้สมปรารถนาทีเดียว ป่านั้นชื่อว่า สุภคะ เพราะสง่างาม และเพราะมีสิ่งที่พึงประสงค์สวยงามดังพรรณนามานี้ . อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า สุภคะ แม้เพราะคนส่วนมากติดใจ. ชื่อว่า วนะ (ป่า) เพราะอรรถว่าสัตว์ ทั้งหลายชอบใจ คือทาให้สัตว์ทั้งหลายรักใคร่ด้วยคุณสมบัติของตัวมันเอง. อธิบายว่า ให้เกิดความน่ารักใน ตัวเอง ดังนี้ . อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า วนะ (ป่า) เพราะเรียกหา. อธิบายว่า เหมือนเรียกร้องปวงสัตว์ด้วยเสียงร้อง ของนกมีนกโกกิลาเป็นต้น ที่เพลิดเพลินอยู่กับกลิ่นดอกไม้นานาพรรณ และด้วยกิ่งก้านค่าคบใบแก่ใบอ่อน ของต้นไม้ที่สั่นไหว เพราะต้องลมอ่อนว่า มาเถิด มากินมาใช้ฉันเถิด. ป่านั้นด้วย ถึงความงามด้วย ฉะนั้นจึงชื่อว่า สุภควัน. ในป่าสุภควันนั้น.
  • 13. 13 มานะเกิดเพราะปริยัติ ดังได้สดับมา พราหมณ์ ๕๐๐ คนเรียนจบไตรเพท ภายหลังได้ฟังพระธรรมเทศนาของพระผู้มี พระภาคเจ้า เมื่อเห็นโทษในกามทั้งหลาย เห็นอานิสงส์ในการออกบวช จึงออกบวชอยู่ในสานักของพระผู้มี พระภาคเจ้า ต่อกาลไม่นานเลยก็เรียนเอาพระพุทธพจน์ทั้งหมด เพราะอาศัยการศึกษาเล่าเรียน จึงเกิด มานะขึ้นว่า พวกเรารู้พระพุทธพจน์ที่พระผู้มีภาคเจ้าตรัสไว้พลันทีเดียว เพราะว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าจะไม่ ตรัสเรื่องอะไรๆ นอกเหนือจากลิงค์ ๓ บท ๔ และวิภัตติ ๗ ก็เมื่อพระองค์ตรัสอย่างนี้ ขึ้นชื่อว่าบทที่เป็น เงื่อนงา (ไม่เข้าใจ) สาหรับพวกเราย่อมไม่มี ดังนี้ . ภิกษุเหล่านั้นไม่มีความเคารพในพระผู้มีพระภาคเจ้า จาเดิมแต่นั้น ก็ไม่ไปอุปัฏฐากพระผู้มีพระ ภาคเจ้าบ้าง ไม่ไปฟังธรรมเป็นประจาบ้าง. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบวารจิตนั้นของภิกษุเหล่านั้น ทรงดาริว่า ภิกษุเหล่านี้ ยังถอนตะปู คือมานะไม่ได้ ก็ไม่ควรเพื่อทาให้แจ้งมรรคหรือผล ทรงกระทามานะที่เกิดขึ้น เพราะอาศัยการเล่าเรียนสุตะ ของภิกษุเหล่านั้นให้เป็นต้นเหตุเกิดเรื่อง จึงเริ่มการแสดงธรรมว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นผู้ฉลาดในการ แสดงมูลปริยายสูตรแห่งธรรมทั้งปวง เพื่อจะหักเสียซึ่งมานะ (ของภิกษุเหล่านั้น) ดังนี้ . ความหมายของปุถุชน ปุถุชน ชื่อว่าเญยยะ เพราะไม่มีอาคม ชื่อว่าอัสสุตวา เพราะไม่มีอธิคม. อธิบายว่า ปุถุชนใด ชื่อว่าไม่มีอาคมที่ขจัดความไม่รู้ เพราะไม่รู้เหตุที่เว้นจากการเรียน การ สอบถามและการวินิจฉัยในขันธ์ ธาตุ อายตนะ สัจจะ ปัจจยาการและสติปัฏฐานเป็นต้น. ชื่อว่าไม่มีอธิคม เพราะไม่ได้บรรลุธรรมที่จะพึงบรรลุด้วยการปฏิบัติ. ปุถุชนนั้นจึงชื่อว่าเญยยะ เพราะไม่มีอาคม ชื่อว่าอัสสุ ตวา เพราะไม่มีอธิคม. ชนนี้ นั้น ชื่อว่า ปุถุชน เพราะเหตุทั้งหลายมีการ ยังกิเลสหนาให้เกิดเป็นต้น อีกอย่างหนึ่ง ชนนี้ ชื่อว่า หนา (ปุถุ) เพราะหยั่งลงภายในกิเลสที่หนา. จริงอยู่ ชนนั้น ชื่อว่าปุถุชน เพราะเหตุทั้งหลายมีอาทิคือ ยังกิเลสเป็นต้นที่หนามีประการต่างๆ ให้เกิด. สมดังพระธรรมสังคาหกาจารย์กล่าวไว้ว่า ชนทั้งหลาย ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่ายังกิเลสหนาให้ เกิด, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าถูกสักกายทิฏฐิเบียดเบียนมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าต้องคอยมองดู ศาสดาบ่อยๆ, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่ายังไม่หลุดพ้นไปจากคติทั้งปวงที่หนาแน่น, ชื่อว่าปุถุชน เพราะ อรรถว่าปรุงแต่งเครื่องปรุงแต่งต่างๆ เป็นอันมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าถูกโอฆะต่างๆ เป็นอันมากพัด พาไป, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าเดือดร้อนด้วยความเดือดร้อนต่างๆ เป็นอันมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะ อรรถว่าเร่าร้อนด้วยความเร่าร้อนต่างๆ เป็นอันมาก, ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่ากาหนัด ติดใจ สยบ ลุ่ม หลง ติดขัด ขัดข้อง พัวพันในกามคุณ ๕ เป็นอันมาก. ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่าถูกนิวรณ์ ๕ ร้อยรัดไว้ ปก คลุม ปิดบัง ครอบงาไว้เป็นอันมาก. อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปุถุชน เพราะอยู่ในหมู่ชนผู้มีธรรมจริยาต่า ผู้หัน หลังให้กับอริยธรรม. จานวนมาก คือนับไม่ถ้วน ซึ่งหันหลังให้อริยธรรม.
  • 14. 14 อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่าปุถุชน เพราะอรรถว่า ชนนี้ ถึงการนับว่าแยกอยู่ต่างหาก คือไม่เกี่ยวข้องกับ พระอริยเจ้าทั้งหลายผู้ประกอบด้วยคุณมีศีลและสุตะเป็นต้น. อริยะ-สัตบุรุษ คาว่า อริยะ ท่านกล่าวหมายเอาพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และพระพุทธสาวก เพราะ เป็นผู้ไกลจากกิเลส ไม่ดาเนินไปในทางเสื่อม ดาเนินไปในทางเจริญ และอันชาวโลกพร้อมทั้งเทวโลก พึง ดาเนินตาม. อีกอย่างหนึ่ง พระอริยะในที่นี้ ก็คือพระพุทธเจ้านั่นเอง. สมดังที่พระพุทธองค์ตรัสไว้ว่า ดูก่อน ภิกษุทั้งหลาย พระตถาคต ท่านเรียกว่า อริยะ ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ฯลฯ. อนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าและพระสาวกของพระตถาคตเจ้า พึงทราบว่า สัตบุรุษ ในคาว่า สปฺปุริ สา นี้ จริงอยู่ พระปัจเจกพุทธเจ้าเป็นต้นเหล่านั้น ชื่อว่า โสภณบุรุษ. เพราะประกอบด้วยคุณอันเป็นโลกุต ตระ เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่าสัตบุรุษ. อีกอย่างหนึ่ง สัตบุรุษเหล่านั้นทั้งหมดเทียว ท่านกล่าวแยกออกเป็น ๒ พวก. จริงอยู่ พระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ดี พระปัจเจกพุทธเจ้าและพุทธสาวกก็ดี เป็นทั้งพระอริยะและสัตบุรุษ. สมดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า บุคคลใดแล เป็นนักปราชญ์ ผู้กตัญญูกตเวที เป็น กัลยาณมิตร มีความภักดีมั่น กระทาการช่วยเหลือ ผู้ตกทุกข์ได้ยาก โดยความเต็มใจ บัณฑิตทั้งหลาย กล่าวผู้เช่นนั้นว่า สัตบุรุษ ดังนี้ . ปฐวี ๔ อย่าง ปฐวีมี ๔ อย่าง คือ ลักขณปฐวี ๑ สสัมภารปฐวี ๑ อารัมมณปฐวี ๑ และสัมมติปฐวี ๑. ในปฐวี ๔ อย่างนั้น ปฐวีธาตุที่ท่านกล่าวไว้ในประโยคเป็นต้นว่า ดูก่อนผู้มีอายุ ก็ปฐวีธาตุ ภายในเป็นไฉน? ได้แก่สิ่งที่แข้นแข็ง (เป็นลักษณะ) เฉพาะตนอยู่ในตัวมันเอง ชื่อว่าลักขณปฐวี. ปฐวีธาตุที่ท่านกล่าวไว้ในประโยคเป็นต้นว่า ภิกษุขุดเองก็ดี ให้คนอื่นขุดก็ดีซึ่งแผ่นดิน ดังนี้ ชื่อ ว่าสสัมภารปฐวี. อนึ่ง ปฐวีธาตุ คือโกฏฐาสะ (ส่วน) ๒๐ มีผมเป็นต้น และวัตถุภายนอกมีเหล็กและโลหะ เป็นต้น พร้อมทั้งคุณสมบัติมีสีเป็นต้น รวมเรียกว่าสสัมภารปฐวี. ส่วนปฐวีธาตุ มาในประโยคเป็นต้นว่า คนหนึ่งรู้ชัดปฐวีกสิณ เรียกว่าอารัมมณปฐวี. บางท่าน เรียกว่านิมิตตปฐวี. ปฐวีธาตุที่ว่า บุคคลได้ฌานมีปฐวีกสิณเป็นอารมณ์ เกิดในเทวโลก ย่อมได้นามว่า ปฐวีเทวดา ด้วยอานาจปฐวีกสิณเป็นเหตุให้มา (เกิด) นี้ พึงทราบว่า สัมมติปฐวี. ในอธิการนี้ ย่อมได้ปฐวีแม้ทั้งหมดนั้น. ปุถุชนนี้ ย่อมหมายรู้ปฐวีอย่างใดอย่างหนึ่งในบรรดา
  • 15. 15 ปฐวีเหล่านั้นโดยเป็นปฐวี ย่อมหมายรู้ว่าเป็นปฐวี ย่อมรู้โดยส่วนแห่งปฐวี ครั้นถือเอาตามโวหารโลกแล้ว ย่อมหมายเอาด้วยสัญญาวิปัลลาสว่า เป็นปฐวี เมื่อปล่อยวางส่วนแห่งปฐวีไม่ได้อย่างนี้ แหละ ย่อมหมายรู้ เอาส่วนแห่งปฐวีนั่นโดยนัยเป็นต้นว่า สัตว์หรือว่าของสัตว์. เพราะเหตุไร ท่านจึงไม่ควรกล่าวไว้ว่า เอว สญฺ ชานาติ เพราะว่าปุถุชนเป็นเหมือนคนบ้า เขาย่อมยึดถือสิ่งใดสิ่งหนึ่งด้วยอาการอย่างใดอย่างหนึ่ง. อีกอย่างหนึ่ง เหตุอันต่างด้วยความเป็นผู้ไม่เห็นพระอริยเจ้าทั้งหลายเป็นต้นนั่นแหละ จัดเป็น ตัวการในการกาหนดหมายนี้ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะตรัสว่า อปริญฺญาต ตสฺส ข้างหน้าก็เป็นอันตรัส ไว้แล้ว. ปุถุชนนั้นกาหนดหมายแผ่นดินนั้นด้วยสัญญาที่วิปริตอย่างนี้ แล้ว ต่อมาย่อมสาคัญ คือ กาหนดให้ต่างออกไป ได้แก่ยึดถือโดยประการต่างๆ คือโดยประการอื่นด้วยกิเลสเครื่องเนิ่นช้า คือตัณหา มานะและทิฏฐิที่มีกาลัง ซึ่งท่านกล่าวไว้ด้วยนาม (รวม) ว่ามัญญนาในที่นี้ ตามพระบาลีว่า ก็ส่วนแห่งกิเลส เครื่องเนิ่นช้า มีสัญญาเป็นต้นเหตุ ดังนี้ . ก็เพื่อจะทรงแสดงความสาคัญเหล่านั้นของเขาผู้สาคัญอยู่เช่นนี้ โดยนัยอันพิสดาร พระผู้มีพระ ภาคเจ้าจึงตรัสปฐวีในภายใน ๒๐ ประเภทโดยนัยเป็นต้นว่า เกสา โลมา. ตรัสปฐวีในคัมภีร์วิภังค์อย่างนี้ ว่า บรรดาปฐวีธาตุ ๒ อย่างนั้น ปฐวีธาตุภายนอกเป็นไฉน? คือ วัตถุภายนอกที่แข้นแข็งหยาบกระด้าง ไม่มีใจครอง เช่นเหล็ก โลหะ ดีบุกขาว ดีบุกดา แร่เงิน มุกดา แก้ว มณี แก้วไพฑูรย์ สังข์ ศิลา แก้วประพาฬ เงินตรา ทองรูปพรรณ แก้วแดง (ทับทิม) เพชรตาแมว หญ้า ท่อน ไม้ ก้อนกรวด ทราย กระเบื้อง แผ่นดิน หิน ภูเขา, และตรัสนิมิตแผ่นดินในวัตถุอารมณ์ภายใน ท่านหมายเอาปฐวีนั้นๆ กล่าวการประกอบความนี้ ไว้. ปุถุชนย่อมสาคัญว่าเราเป็นดิน ว่าดินเป็นของเรา ว่าคนอื่นเป็นดิน ว่าดินของคนอื่น ดังนี้ ด้วย ความสาคัญ ๓ อย่าง. อีกอย่างหนึ่ง ย่อมสาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายในด้วยความสาคัญ ด้วยอานาจตัณหา มานะ และทิฏฐิ. สาคัญอย่างไร? จริงอยู่ ปุถุชนนี้ ยังฉันทราคะให้เกิดในผมเป็นต้น คือยินดีเพลิดเพลิน พร่าเพ้อ หลงใหล ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง ก็หรือวัตถุซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความกาหนัดอย่างใดอย่างหนึ่ง, ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวีภายในด้วย ความสาคัญอันเกิดจากอานาจแห่งตัณหาอย่างนี้ . ก็หรือว่า เกิดความทะยานอยากในผมเป็นต้นนั้น โดยนัยเป็นต้นว่า ผมของเราพึงเป็นเช่นนี้ ตลอดไป ขอขนของเราพึงเป็นเช่นนี้ ตลอดไป ก็หรือว่า ตั้งจิตไว้เพื่อจะได้สิ่งที่ตนยังไม่ได้โดยนัยเป็นต้น ด้วย ศีลหรือพรหมจรรย์อันนี้ เราจักมีผมดาสนิทอ่อนนุ่ม ดังนี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายใน ด้วย ความสาคัญด้วยอานาจตัณหา แม้ดังอธิบายมานี้ . อนึ่ง ปุถุชนอาศัยสมบัติ (ความถึงพร้อม) หรือวิบัติของผมเป็นต้นแห่งตน แล้วยังมานะให้ เกิดขึ้นว่า เราดีกว่า เราเสมอกัน หรือว่าเราเลวกว่า ดังกล่าวมานี้ ชื่อว่า สาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายในด้วย
  • 16. 16 ความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจมานะ. อนึ่ง ย่อมยึดมั่นผมว่าเป็น ชีวะ โดยนัยที่มาแล้วว่า ชีวะก็อันนั้น สรีระก็อันนั้น ดังนี้ . (แม้) ใน ขนเป็นต้นก็นัยนี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวี (แผ่นดิน) ภายในด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิ ดังกล่าวมา. อีกอย่างหนึ่ง ปุถุชนย่อมยึดมั่นซึ่งปฐวีอันต่างด้วยผมเป็นต้น โดยนัยอันเป็นข้าศึกต่อพฤติกรรม นี้ ว่า ดูก่อนอาวุโส ก็ปฐวีธาตุภายในอันใดแล และปฐวีธาตุภายนอกอันใด ก็ปฐวีธาตุ (ทั้ง ๒) นั้น ชื่อว่าปฐวี ธาตุเหมือนกัน อันนี้ นั่นไม่ใช่ของเราว่า ของเรา เราเป็นนั่น นั่นเป็นอัตตาของเรา ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวี ภายในด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิแม้อย่างนี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวีภายในด้วยความสาคัญ ๓ อย่าง ดังพรรณนามานี้ ก่อน. พึงทราบว่า ย่อม สาคัญปฐวีภายนอกเหมือนอย่างปฐวีภายใน. อย่างไร? จริงอยู่ ปุถุชนนี้ ยังฉันทราคะให้เกิดขึ้นในเหล็กและโลหะเป็นต้น เพลิดเพลิน พร่าเพ้อ หลงใหล เหล็กและโลหะเป็นต้น ย่อมหวงแหนรักษา คุ้มครอง เหล็กเป็นต้นไว้โดยนัยเป็นต้นว่า เหล็กของเรา โลหะ ของเรา ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญด้วยอานาจตัณหาด้วยประการฉะนี้ . ก็หรือว่าปุถุชนย่อมทะยานอยากในปฐวีภายนอกนี้ ว่า ขอเหล็กและโลหะเป็นต้นของเรา พึงมีอยู่ อย่างนี้ ตลอดไป หรือตั้งจิตไว้ เพื่อจะได้สิ่งที่ยังไม่ได้ว่า ด้วยศีลหรือพรหมจรรย์นี้ เราจักเป็นผู้มีอุปกรณ์ มี เหล็กและโลหะเป็นต้นที่ถึงพร้อมแล้วอย่างนี้ . ปุถุชน ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญอันเกิด มาจากอานาจตัณหาแม้ด้วยประการฉะนี้ . อนึ่ง ปุถุชนอาศัยสมบัติหรือวิบัติแห่งเหล็กและโลหะเป็นต้นของตนแล้ว เกิดมานะขึ้นว่า ด้วย อุปกรณ์นี้ เราจึงดีกว่าเขา เสมอเขาหรือเลวกว่าเขา. ปุถุชน ชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอกด้วยความสาคัญ อันเกิดมาจากอานาจมานะอย่างนี้ . ก็ปุถุชนเป็นผู้มีความสาคัญในเหล็กว่าชีวะ ย่อมยึดมั่นว่านี้ เป็นชีวะ. นัยในโลหะเป็นต้นก็มีนัยนี้ . ปุถุชนชื่อว่าย่อมสาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิด้วยประการฉะนี้ . อีกประการหนึ่ง บุคคลบางคนในโลกนี้ พิจารณาเห็นปฐวีกสิณโดยเป็นอัตตา คือว่าย่อมยึดมั่น นิมิตปฐวีว่า อัตตา โดยนัยที่ท่านกล่าวไว้ในคัมภีร์ปฏิสัมภิทานั่นแลว่า ปุถุชนย่อมพิจารณาเห็นเนื้ อความทั้ง ๒ คือ ปฐวีกสิณและองคาพยพว่า ปฐวีกสิณอันใด เราก็อันนั้น เราอันใด ปฐวีกสิณก็อันนั้น ดังนี้ ชื่อว่าย่อม สาคัญปฐวีภายนอก ด้วยความสาคัญอันเกิดมาจากอานาจทิฏฐิด้วยประการฉะนี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญปฐวีแม้ภายนอกด้วยความสาคัญ ๓ อย่างดังอธิบายมานี้ . ปุถุชนย่อมสาคัญว่า เรามีอยู่ในปฐวี, ย่อมสาคัญว่า ความกังวลผูกพันของเรามีอยู่ในปฐวี, ย่อม สาคัญว่า บุคคลอื่นมีอยู่ในปฐวี, ย่อมสาคัญว่า ความกังวลผูกพันของบุคคลอื่นในปฐวีมีอยู่ ดังนี้ อีกอย่างหนึ่ง นัยแห่งเนื้ อความของสัตตมีวิภัตตินั้น ที่ใดที่ท่านกล่าวไว้ว่า ปุถุชนย่อมพิจารณาเห็นอัตตาในรูปอย่างไร? คือปุถุชนบางคนในโลกนี้ ย่อมพิจารณาเห็น เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ว่าเป็นอัตตา เขาย่อมพิจารณาเห็นอัตตาในรูปอย่างนี้ ว่า ก็นี้ แหละเป็น