SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
46

บทที่ 3
ธรณีกาล
47

บทที่ 3
ลําดับชั้นหิน ซากดึกดําบรรพ และธรณีกาล
* ดร. จงพันธ จงลักษมณี

1. ลําดับชั้นหิน
บนพืนผิวโลกของเรา มีหินทีเ่ กิดเปนชัน ๆ คลุมพื้นทีประมาณสามในสี่ของพืนที่ทั้งหมด
้
้
่
้
ดังนั้นหินชั้นและการจัดเรียงลําดับของมันจึงมีความสําคัญเปนอยางมากและเปนขอมูลพื้นฐานแกวชา
ิ
ธรณีวิทยาสาขาอื่น ๆ เนื่องจากปรากฏการณตาง ๆ ในอดีตจะถูกบันทึกไวในชั้นหิน การศึกษาลําดับชั้น
หินจึงสามารถทําใหเราเขาใจเกี่ยวกับธรณีวทยาประวัติในบริเวณนั้น ๆ และนําไปสูการคนพบแหลงแร
ิ

เศรษฐกิจและแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติ เชน น้ํามันดิบและกาซธรรมชาติได
เมื่อเราสามารถอานปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตตามลําดับการเกิดกอน-หลังแลว
เราก็ไดลําดับเวลา (time sequence) ของปรากฏการณนน ๆ ซึ่งเปนตารางเวลาเปรียบเทียบ (relative time
ั้
scale) แสดงใหเห็นวาปรากฏการณหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นกอนหรือหลังปรากฏการณอื่น ๆ อยางไร
ในการคํานวณหาวาปรากฏการณในอดีตไดเกิดขึ้นมาแลวนานเทาใดนั้น เราตองวัดถอย
หลัง
ไปจากปรากฏการณหนึ่งๆ ที่ทราบอายุแนนอนกอน เชน เราอาจจะหาอายุปรากฏการณในอดีตโดยเทียบ
กับยุคปจจุบัน เราเรียกวิธีการนี้วาการหาเวลาหรืออายุที่วดได (Measured time scale) ซึ่งเวลาที่วัดไดนี้จะ
ั
บอกเราวาปรากฏการณในอดีตนั้น ๆ ไดเกิดขึ้นมานานเทาใดแลวจากยุคปจจุบัน
หลักการเบื้องตนของการเรียงลําดับชั้นหิน
การศึกษาวิจยเกี่ยวกับลําดับชั้นหิน อาศัยหลักพื้นฐานใหญ ๆ 3 ประการดังนี้
ั
หลักการวางตัวซอนทับ (Law of Superposition)
นายเจมส ฮัตตัน (James Hutton) เปนบุคคลแรกที่เสนอความคิดเกียวกับหลักการวางตัว
่
ซอนทับ โดยเขาไดศกษากระบวนการตกทับถมของตะกอนตามชายหาดและพบวาชั้นตะกอนที่ตกทับถม
ึ
ในตอนแรกจะถูกปดทับโดยชั้นตะกอนทีตกทับถมในเวลาถัดมา และความคิดนีใชไดกับชั้นหินที่วางตัว
่
้
ซอนๆ กัน หินแตละชั้นเกิดจากการสะสมตัวในชวงเวลาหนึ่ง อาจเปนชวงเวลาที่ยาวหรือสั้น ชวงเวลาตาง ๆ
เหลานี้จะถูกบันทึกไวในรูปของชั้นหินที่เรียงซอนกันเปนลําดับจากลางไปบน ลําดับชั้นหินอาจตอเนื่อง
หรือการสะสมตัวของตะกอนอาจมีการหยุดชะงัก หลักการวางตัวซอนทับ สรุปไดวา ในลําดับชั้นหินที่ไม
ถูกรบกวนจากกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดภายหลังนั้นชันหินทีวางตัวอยูบนจะมีอายุออนกวา และชั้นหินที่
้
่
วางตัวอยูลางจะมีอายุแกกวา
* สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
48

หลักความเปนเอกภาพ (law of Uniformitarianism)
นอกจากหลักการเกี่ยวกับการวางตัวซอนทับแลวนายเจมส ฮัตตัน ยังไดกลาวถึงหลักการ
พื้นฐานอันสําคัญอีกขอหนึ่ง โดยเขาไดสังเกตการกัดกรอนของธารน้ําในหุบเขา และตามชายฝงและสรุปวา
หินชันชนิดตาง ๆ เกิดจากการสะสมตัวของวัสดุทไดมาจากการสึกกรอนและการผุพังทะลายของหินเกาดั้งเดิม
้
ี่
จากการสังเกตนี้ เขาสรุปเปนหลักพืนฐานขอหนึงของวิชาธรณีวทยาวา การเกิดหินชนิดตาง ๆ นั้นเราสามารถ
้
่
ิ
อธิบายโดยอาศัยหลักของกระบวนการตาง ๆ ที่กําลังเกิดอยูในปจจุบันได หลักการนี้อาจจะพูดไดวา

ปจจุบันสามารถจะใชเปนกุญแจอธิบายถึงอดีตกาลได และความคิดอันนี้ไดกลายมาเปนหลักพืนฐานที่รูจัก
้
กันในนามของหลักความเปนเอกภาพ
หลักการใชซากดึกดําบรรพในการหาความสัมพันธ (fossil correlation)
หลักการพื้นฐานขอที่สามเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพที่พบในชั้นหินตาง ๆ โดยไดมีการ
คนพบวา ซากดึกดําบรรพที่เกิดในชั้นหินตาง ๆ นั้น มีรูปรางและเผาพันธุแตกตางกันไป ทั้งๆ ที่ชั้นหิน
อาจจะวางซอนอยูใกลๆ กัน ดังนั้น จึงมีการใชซากดึกดําบรรพที่แตกตางกันนี้มาตรวจสอบและแยกแยะชั้น
หินที่มีซากเหลานี้ ความคิดนี้จึงทําใหเกิดหลักการพืนฐานที่เรียกวา การหาความสัมพันธของชั้นหินโดย
้
อาศัยซากดึกดําบรรพ หลักการนี้คนพบโดย นายวิลเลียม สมิธ (William Smith) นักสํารวจและวิศวกรชาว
อังกฤษ เขาแสดงใหเห็นวา การที่จะหาความสัมพันธทางเวลาของปรากฏการณตาง ๆ ไดก็โดยอาศัยการพบ
ซากดึกดําบรรพที่คลายคลึงกันในสถานทีตาง ๆ กัน ปจจุบันไดมการนําวิธีการนี้มาใชประโยชนในการ
่
ี
คนหาแหลงถานหินและเชื้อเพลิงธรรมชาติตลอดจนแรที่มีคาทางเศรษฐกิจอืน ๆ
่
ผลงานของ นายฮัตตัน นายสมิธ และนักธรณีวิทยาชาวยุโรปอื่น ๆ ในชวงพุทธศตวรรษที่
22 และ 23 ไดทําใหมีการคนพบเกี่ยวกับอายุเปรียบเทียบ (relative ages) ของชั้นหินที่เกิดขึ้นบนพื้นโลก ซึ่ง
งานตาง ๆ เหลานี้ไดเริ่มทําโดยการศึกษาถึงอายุสัมพันธของหินในที่ตาง ๆ กันหลายแหง แลวนํามา
เทียบเคียงปะติดปะตอกันใหสมบูรณขึ้น และพัฒนาเปนมาตรธรณีกาลที่ใชกันอยูในปจจุบัน


2. ซากดึกดําบรรพ
โลกของเราในปจจุบันมีสิ่งมีชีวิตนับจํานวนเปนพัน ๆ ลานตัวอาศัยอยู บางก็มีชีวิตอยูบนดิน

บางก็มีชีวิตอยูในน้ํา แมอากาศที่เราสูดหายใจเขาไปก็มสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากหลายชนิดอาศัยอยู ขนาด

ี
ของสิ่งมีชีวิตก็แตกตางกันไปเปนอยางมาก นับตั้งแตพชที่มีขนาดเล็กจนตองมองดูดวยกลองจุลทรรศนไป
ื
จนกระทั่งปลาวาฬขนาดใหญที่อาศัยอยูในมหาสมุทร
สิ่งมีชีวิต เมื่อตายลงซากของสิ่งมีชีวิตนั้นจะถูกทับถมดวยตะกอนและฝงตัวอยูในชั้นตะกอน
ซึ่งภายหลังเปลี่ยนสภาพกลายเปนหินตะกอนหรือหินชันไปในที่สุด คําวา “ซากดึกดําบรรพ” ใน
้
ภาษาอังกฤษมีรากศัพทมาจากภาษาลาติน คําวา fossilis (ฟอสซิลิส) ซึ่งแปลวา “ขุดขึ้นมา” แตซากดึกดํา
บรรพสวนใหญ
มิไดมาจากการขุดขึนมาจากพืนดินเสมอไป สวนใหญมักจะโผลใหเห็นหลังจากที่หิน
้
้
49

ตะกอนเกิดการผุสลายหรือถูกกัดเซาะออกไปบางสวน ซากดึกดําบรรพมีทั้งพืชและสัตวมากมายหลายชนิด
ซากสัตวดึกดําบรรพมีขนาดแตกตางกันมากนับตั้งแตกระดูกไดโนเสาร ซึ่งมีความยาวมากกวา 2 เมตร และ
หนักหลายรอยกิโลกรัม ไปจนกระทั่งถึงซากสัตวดึกดําบรรพขนาดเล็กมากเทาหัวเข็มหมุด ซากสัตวที่มี
ขนาดเล็กเหลานี้เรารวมเรียกวา ซากจุลชีวนดึกดําบรรพ ทั้งนี้ เพราะการศึกษาซากดึกดําบรรพเหลานี้จะตอง
ิ
ใชกลองจุลทรรศนชวย
การเกิดซากดึกดําบรรพ
พืชและสัตวเมือตายไปแลวจะผุพังเนาเปอยเร็วมาก แตเปลือกแข็งของพืชและสัตวเหลานี้
่
เชน ฟน เปลือกนอก และเนื้อไม จะคงสภาพอยูไดและกลายเปนซากดึกดําบรรพไปในที่สุด แตภายใต
สภาวะพิเศษบางอยาง สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ไมมีเปลือกแข็ง อาทิ แมงกะพรุน อาจเหลือซากและคงสภาพอยูได
อยางไรก็ดี สิ่งมีชีวิตแมวาจะมีเปลือกแข็งก็อาจจะไมมีซากเหลือทิ้งไวใหเห็นเลยได ซาก
สิ่งมีชีวิตจะถูกทําลายไปไดหลายวิธี ภายหลังจากที่สัตวตายลง สวนที่เปนเนื้อจะถูกสัตวอื่น ๆ มากมาย
หลายชนิดกัดกิน เชน แรง หมาปา แมลง และแบคทีเรีย นอกจากนี้ แสงแดด ลม และฝนก็มีสวนชวยกระตุน

็
กระบวนการผุพังเนาเปอย เนื้อของสัตวกจะสลายตัวไปในไมชาก็เหลือแตเพียงกระดูก ฟน และเปลือกแข็ง
ไว แตสวนประกอบที่มีลักษณะแข็งดังกลาวนี้อาจจะถูกทําลายลงไดเชนกัน กระดูกอาจจะผุสลายตัวไปหาก
ไมถูกฝงจมดิน เปลือกแข็งและกระดูกอาจถูกบดใหแตกหักจนละเอียดโดยน้ําหนักของตะกอนทีสะสมตัว
่
ทับอยูเบื้องบน สวนอื่น ๆ อาจแตกหักและถูกกัดเซาะไปขณะถูกน้ําพัดพาครูดถูไปกับทองน้ํา หรือถูกคลื่น
ซัดใหโยนตัวไปมา
แมวามีองคประกอบหลายประการที่มีผลตอกระบวนการเกิดซากดึกดําบรรพ แตองคประกอบ
ที่สําคัญมีอยูเพียง 2 อยาง คือ องคประกอบแรก ถาสิ่งมีชีวิตนั้นมีสวนประกอบที่เปนของแข็งก็มีโอกาสที่

กลายเปนซากดึกดําบรรพไดมากขึ้น องคประกอบที่สอง ซากพืชและซากสัตวจะตองถูกฝงตัวอยางรวดเร็ว
ภายหลังจากทีตายลงไปโดยวัสดุที่สามารถเก็บรักษาซากสัตวหรือพืชเหลานี้ สภาพแวดลอมที่สิ่งมีชีวิตนั้น
่
อาศัยอยูจะเปนตัวชี้บงวาวัสดุชนิดใดจะมีสวนในการทับถมซากสิ่งมีชีวิต และกระบวนการเกิดเปนซาก
ดึกดําบรรพชนิดใดจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงนั้น ตัวอยางเชน ซากของสัตวทะเลจะถูกเก็บรักษาไว เพราะ
มีการตกจมลงไปสูทองทะเลโดยรวดเร็วหลังจากที่สัตวนั้นตายลง และถูกโคลนออนรวมทั้งทรายทับถมอยู
เบื้องบน โดยทั่วๆ ไป ยิ่งตะกอนที่มีขนาดอนุภาคยิ่งเล็กทับถมตัวเหนือซากสิ่งมีชีวิตโอกาสที่ซากสิ่งมีชีวิต
จะถูกเก็บรักษาไวเปนซากดึกดําบรรพยิ่งจะเพิ่มมากขึน
้
สิ่งมีชีวิตเกือบทั้งหมดมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากมายในระหวางกระบวนการเกิดซาก
ดึกดําบรรพ แตถาสภาพแวดลอมมีความเหมาะสมพอดีแลวลักษณะอันละเอียดออนของพืชและสัตวก็จะ
ไดรับการถนอมรักษาโดยคงสภาพเดิมไวได ชางแมมมอธเปนตัวอยางที่ดีสําหรับกรณีที่สัตวทั้งตัวไดรับ
แมลงและแมงปองไดรับการรักษาสภาพไวในยางไมที่
การรักษาสภาพไวคงเดิมโดยการแชเย็นจนแข็ง
กลายเปนหินซึ่งมีชื่อเรียกวา อําพัน
50

สารอินทรียที่ประกอบขึ้นเปนเปลือกแข็งมักจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นภายหลังจากที่ถูก
ทับถมตัวดวยตะกอน น้ําที่แรบางชนิดละลายปนอยูและซึมผานตะกอนไปจะคอยๆละลายเอาสารที่เปนแร

เชน แคลเซียมคารบอเนต (แคลไซค) จากเปลือกแข็ง แคลเซียมคารบอเนตตอมาอาจถูกแทนทีดวยซิลิกา
่
หรือแรชนิดอืน ๆ ในน้ํา ดวยกรรมวิธีดังกลาวมาแลว ซากสิ่งมีชีวิตก็จะกลายสภาพเปนหินไปในที่สุด
่
ภายใตสภาวะแวดลอมแบบอื่น ๆ สารละลายที่เขามาแทนที่อาจจะมีสารประกอบบางอยางละลายปนอยูใน

ั้
ปริมาณที่มาก เชน สารประกอบของเหล็ก แมกนีเซียมและแคลเซียม ซากดึกดําบรรพเกิดจากการแทนที่นน
ลักษณะรายละเอียดของเปลือกแข็งจะถูกถนอมรักษาไวเปนอยางดี และมีลักษณะสวยงามมาก
ซากดึกดําบรรพหลายชนิดเกิดขึ้นมาจากการสลายตัวเนาเปอยอยางเชื่องชาของสารอินทรีย
ภายหลังจากทีถูกฝงจมลงดวยตะกอน ในขณะที่เกิดกระบวนการสลายตัวเนาเปอยอยูนั้น สารอินทรียจะทิ้ง
่

รองรอยของคารบอนไวเปนฟลมบาง ๆ ซึ่งแสดงลักษณะรายละเอียดภายนอกของสิ่งมีชีวิตนั้น ซากชีวิต
ดึกดําบรรพชนิดนี้เกิดจากกระบวนการเพิมคารบอน (carbonization)
่
ซากชีวิตดึกดําบรรพจํานวนมากเกิดขึนมาในลักษณะของ รอยพิมพ (mold) และ รูปพิมพ
้
(cast) เพื่อทีจะเขาใจวาสิ่งเหลานี้เกิดขึนมาไดอยางไรนั้น ลองนึกถึงสภาพของเปลือกหอยที่ฝงตัวอยูกับ
่
้


ตะกอนในมหาสมุทร ภายหลังจากที่ตะกอนแข็งตัวกลายเปนหินแลว น้ําบาดาลจะคอยละลายเปลือกหอย
ออกไปเหลือที่วางซึ่งเคยเปนเปลือกหอยทิ้งไวในหิน ที่วางดังกลาวนี้เรียกวา แบบพิมพ ซึ่งถูกถนอมรักษา
ไวและแสดงใหเห็นถึงรองรอยของเปลือกหอย
เมื่อเวลาลวงเลยไปแบบพิมพอาจจะมีแรชนิดอื่นเขาไป
บรรจุอยูทั้งนี้แรเหลานี้เกิดจากน้ําบาดาลพามาสะสมตัว แรเหลานีอาจจะเกิดเปนตัวหลอของเปลือกหอย
้
ดั้งเดิม
การศึกษาซากดึกดําบรรพเพือใชในการหาความสัมพันธของชันหิน
่
้
ซากดึกดําบรรพสามารถนําไปใชหาความสัมพันธหรือเปรียบเทียบชั้นหินตาง ๆ ได ซาก
ดึกดําบรรพบางชนิดอาจเปนพืชหรือสัตว ไดเกิดขึ้นในชวงเวลาสั้น ๆ ของธรณีกาล และในขณะที่ซากดึก
ดําบรรพเหลานี้มีชีวิตอยูนั้นอาจจะมีการเจริญแพรพันธุไปไดกวางขวางมาก ซากดึกดําบรรพบางพวกมี
ลักษณะเฉพาะเดนชัดและสามารถนําไปใชกําหนดอายุของยุคใดยุคหนึ่งในธรณีกาลไดดี
ซึ่งซากดึกดํา
บรรพเหลานี้เราเรียกวาเปนซากดึกดําบรรพบงชี้หรือซากดึกดําบรรพดัชนี (guide or index fossils) ซึ่งจะมี
ประโยชนอยางมากในการบอกถึงอายุของชั้นหินที่มีซากดึกดําบรรพพวกนี้อยู เราทราบวาไดโนเสารเปน
สัตวที่เกิดขึนมาในมหายุคมีโซโซอิก หลังจากมหายุคนี้แลว ไดโนเสารก็สูญพันธุไป ดังนั้น ถาเราไปสํารวจ
้
พบซากไดโนเสารในชั้นหินใด ๆ ก็เปนการแนนอนวาชันหินนีเ้ กิดในมหายุคมีโซโซอิกดวยเชนกัน อยางไร
้
ก็ตามนักธรณีวิทยาหรือนักบรรพชีวินวิทยา มักจะใชกลุมของซากดึกดําบรรพมากกวาจะใชซากดึกดําบรรพ
ชนิดใดชนิดหนึ่งในการนํามากําหนดอายุของชั้นหินหรือในการตรวจสอบชั้นหินวาเปนชั้นเดียวกันหรือไม
51

3. ตารางธรณีกาล (Geologic time scale)
จากรองรอยและซากดึกดําบรรพของพืชและสัตวที่ไดมีการคนพบในชั้นหินของเปลือกโลก
ในที่ตาง ๆ เราสามารถนํามารวบรวมและอธิบายประวัติความเปนมาของโลกได ทําใหทราบถึงลําดับและ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจากชีวิตแรกเริ่มในบรมยุคโพรเทอโรโซอิกจนถึงยุคปจจุบัน
หนวยเวลาที่ใหญสุดตามมาตราธรณีกาลเรียกวา บรมยุค (Eon) โลกของเราประกอบดวย 3
บรมยุค ไดแก บรมยุคคริปโทโซอิก (Cryptozoic) หรือ อารดีโอโซอิก (Archaeozoic) หรืออะโซอิก (Azoic)
เปนบรมยุคทีมีหินเกาสุด บรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic) เปนบรมยุคของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม และบรม
่
ยุคฟาเนอโรโซอิก (Phanerozoic) เปนบรมยุคของสิ่งมีชีวิตที่มองเห็นไดซึ่งเปนชวงเวลาที่มีซากดึกดําบรรพ
แพรหลาย
นักธรณีวิทยาไดจําแนกบรมยุคฟาเนอโรโซอิกออกเปน 3 มหายุค (Era) ไดแก มหายุคพาลี
โอโซอิก (Paleozoic)เปนชวงของชีวิตเกา มหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic) เปนชวงของชีวิตกลาง (หรือเรียก
ยุคของไดโนเสาร) และมหายุคซีโนโซอิก (Cenozoic) เปนชวงเวลาของชีวิตใหม
ในแตละมหายุคจะถูกแบงออกเปนยุค (Periods) ตาง ๆ และแตละยุคจะแบงยอยออกเปน
หนวยเล็ก ๆ เรียกวา สมัย (Epochs) เสนแบงมหายุค ยุค และสมัยออกจากกันนั้นขึ้นอยูกับการเปลียนแปลง
่
ของเหตุการณตาง ๆ ในอดีต เชนการเปลี่ยนแปลงของชนิดหรือเผาพันธุของพืชหรือสัตว และการเกิด
กระบวนการเกิดเทือกเขา ตัวอยางเชน การสูญพันธุของไดโนเสารถกใชเปนตัวแยกมหายุคมีโซโซอิกออกจาก
ู
มหายุคซีโนโซอิก และยุคควอเทอรนารี (Quaternary Period) จะถูกแบงออกเปนชวงตนคือ สมัยไพลสโตซีน
(Pleistocene Epoch) และชวงปลายคือสมัย โฮโลซีน (Holocene Epoch) ซึ่งก็คือยุคปจจุบันที่เรากําลังอาศัย
อยูนี้เอง การเริ่มตนของสมัยไพลสโตซีนจะเริ่มตั้งแตการเกิดของธารน้ําแข็งขนาดใหญที่เคลื่อนตัวลงมา
จากขัวโลกเหนือลงมาปกคลุมทวีปอเมริกาและทวีปยุโรป ซึ่งจะกลายเปนยุคน้ําแข็ง (Great Ice Age) ในชวง
้
สมัยไพลสโตซีน สวนสมัยโฮโลซีนจะเริ่มขึ้นเมื่อธารน้าแข็งตาง ๆ เหลานี้ถดถอยไปจากทวีปอเมริกาและ
ํ
ยุโรป ซึ่งเริ่มเมื่อ 10,000 ปมาแลว
52

อายุที่วัดไดของหินยุคตาง ๆ ตามที่ปรากฏในมาตราธรณีกาลไดมาจากการคํานวณโดยวิธี
ตาง ๆ กัน แรบางชนิดในหินอัคนีมีธาตุกัมมันตรังสียูเรเนียมและธอเรียม ซึ่งจะแตกตัวตามธรรมชาติดวย
อัตราที่คงที่จนไดตะกัวในขั้นสุดทาย ถาเราทราบอัตราการสลายตัวก็สามารถหาอายุของชั้นหินนี้ได โดย
่
การหาอัตราสวนของปริมาณยูเรเนียมและปริมาณตะกัวที่มีอยูในหินนั้น
่
มหายุคพรีแคมเบรียม
มหายุคพรีแคมเบรียน มีอายุตั้งแตโลกเกิดจนถึงเมื่อ 545 ลานปมาแลว คลุมชวงเวลา
ประมาณ 4,000 ลานป หินทีมีอายุแกสุดนีมักอยูในสภาพที่โดนบีบอัดและเปลี่ยนแปรไปโดยความรอนและ
่
้
ความดันอยางรุนแรงจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก สวนใหญเปนหินพวกหินไนส หินชนวน หินชิสต
หินออนและหิน ควอรตไซต
สภาพภูมิประเทศในมหายุคพรีแคมเบรียน มีลักษณะโลงเตียน เปนภูเขา ทะเลทราย มีภูเขา
ํ
ไฟประทุรุนแรงเกิดธารลาวามากมาย ไอน้าในบรรยากาศเริ่มกลั่นตัวเปนน้ําฝน ทําใหเกิดแมน้ําและทะเล
ในตอนตนยุคพรีแคมเบรียน
บางแหงมีแกรไฟต
ซึ่งคงจะเกิดการแปรสภาพของ
หินดินดานเนือปนถาน (ถานคงเกิดจากสิงมีชีวิตแรกเริ่มที่อาศัยอยูในน้ํา) หินปูนบางแหงมีกอนกลม ๆ เกิด
้
่
จากการพอกตัวดวยชั้นบาง ๆ ของสาหรายหรือแบคทีเรีย รองรอยของสิ่งมีชีวิตในยุคนี้มีนอยเนื่องจากสัตว
สวนใหญในทะเลยุคตนนี้ไมมีเปลือกหรือฝาหุม

ภาพ 3.1 แบคทีเรียชนิด Cyanobacteria
53

ยุคแคมเบรียน
ชื่อยุคมาจากคําวา แคมเบรีย (Cambria) ซึ่งเปนชื่อโรมันของแควนเวลส (Wales) มี
ชวงเวลายาวประมาณ 4 ลานป (จาก 454 ถึง 505 ลานปมาแลว) ในยุคนีทะเลน้ําตื้นไดคอยๆ รุกล้ําเขาไปใน
้
ผืนแผนดินสวนใหญ หินที่พบเปนพวกหินทราย หินดินดาน หินชนวนและหินปูน
ยุคแคมเบรียนเปนยุคที่พบซากดึกดําบรรพที่รักษาสภาพไวดี ประกอบดวยทังพืชและสัตว
้
พืชเปนพวกสาหรายทะเล แตมักไมเหลือรองรอยไวในหิน สวนสัตวพบมากมายหลายพวกเนื่องจากมี
เปลือกหรือฝาหุมที่พบมากเปนพวกไทรโลไบต มีมากกวา 1,000 ชนิด แกรพโทไลทมีเฉพาะพวกเปน
รางแห (Dictyonema) หอยตะเกียงมีมากพอควร สวนใหญเปนพวก horny inarticulate พวกหอยมีนอยเปน

พวกหอยโขงทะเล และหอยสองฝา

ภาพ 3.2 ไทรโลไบทชนิด Nevadella

ภาพ 3.3 ไทรโลไบทชนิด Cambropallas

ยุคออรโดวิเชียน
ชื่อยุคมาจากคําวา ออรโดวิเชส (Ordovices) ซึ่งเปนชาวเผาเซลทิคอาศัยอยูในแควนเวลส
ยุคออรโดวิเชียนมีชวงเวลายาว 60 ลานป (จาก 505 ถึง 438 ลานปมาแลว) หินที่พบเปนพวกหินปูน โดโล
ไมต หินทรายและหินดินดาน
พืชที่พบในยุคนี้ยังเปนพวกสาหรายทะเล (สีเขียว สีแดง และสาหรายชนิดตาง ๆ) พวก
สัตวไรกระดูกสันหลังประกอบดวยไทรโลไบต ซึ่งมีความเจริญสูงสุด ทั้งชนิดและจํานวน แกรพโทไลท
เปนพวกรูปกิ่ง (Didymograptus) หอยตะเกียงพบมากเริ่มมีพวกที่ฝาเปนสารปูนและมีสภาพ articulate สวน
พวก horny inarticulates มีจานวนลดนอยลง ไบรโอซัวเปนสัตวตัวเล็ก ๆ มีหนวดคลายแขนและอยูเ ปนกลุม
ํ
พบมากในหินยุคนี้ พวกหอยมีพวกเซฟาโลพอด (จําพวกปลาหมึก) พบมากพอควร ที่สําคัญมีพวกฝาตรง
ยาวเรียว เชน ออรโธเซอราส (Orthoceras) หอยโขงทะเลพบทั่วไปในทะเลน้ําตืน แตหอยสองฝาพบไม
้
แพรหลาย สวนสัตวมีกระดูกสันหลังเริ่มพบพวกตัวคลายปลา ซึ่งเปนตนตระกูลปลา ออสทราโคเดิรม
54

ภาพ 3.4 แกรพโทไลทรูปกิ่ง

ยุคไซลูเรียน
ชื่อยุคมาจากคําวา ไซลูเรส (Silures) เปนชาวเผาเซลทิค อาศัยอยูในแควนเวลส มีชวงเวลา
ยาว 30 ลานป (จาก 438 ถึง 408 ลานปมาแลว) หินที่พบในยุคนี้สวนใหญเปนหินปูน หินทรายและ
หินดินดานสีดา
ํ
พืชในยุคนี้มีทงพืชทะลและพืชบก สาหรายทะเลพบแพรหลายมาก มีพวกสีเขียว และสี
ั้
แดง ในตอนปลายยุคเริ่มพบพืชบกเปนครังแรกที่ประเทศออสเตรเลีย สัตวไรกระดูกสันหลังที่พบมากไดแก
้
พวกไบรโอซัว หอยตะเกียงเจริญสูงสุด พวกไทรไลไบทและแกรพโทไลทยังพบมากอยู แกรพโทไลทเปน
พวกรูปกิ่ง (Monograptus) ออสทราดอดเริ่มพบมาก นอกจากนี้สัตวที่พบบอยก็มีปะการัง (rugose และ
tabulate) และไครนอยด สัตวจําพวกหอย (หอยสองฝา, หอยโขง, และเซฟาโลพอด) พบนอย ในจําพวก
สัตวมีกระดูกสันหลัง เริ่มพบตนตระกูลปลาไรขากรรไกรเปนครั้งแรก

ภาพ 3.6 ไครนอยด
ภาพ 3.5 ครัสเทเชียนชนิด Eurypterus
55

ยุคดีโวเนียน
ชื่อยุคมาจากชือเมืองดีวอนเชียร มีชวงเวลายาว 48 ลานป (จาก 408 ถึง 360 ลานปมาแลว)
่
หินสวนใหญที่พบในยุคดีโวเนียนเปนหินดินดาน หินปูน และหินทรายแดง
ตอนใกลสิ้นยุคไซลูเรียนมีการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกและการประทุของภูเขาไฟ ทําให
ทองทะเลเดิมบางสวนยกตัวขึ้นเปนผืนแผนดิน และปกคลุมดวยพืชบก นอกจากนี้บนบกเริ่มพบสัตวที่
หายใจทางอากาศได โดยมีการปรับตัวใหเขากับการดํารงชีพบนผืนแผนดิน เชน กิ้งกือ แมลงมุม และแมลง
ไรปก ในจําพวกสัตวมีกระดูกสันหลัง พบปลาน้ําจืดหลายชนิด (จนทําใหไดชื่อวาเปนยุคของปลา) เชน
ปลาไรขากรรไกร ปลาออสทราโคเดิรม ปลาครอสสออฟเทอริเกียน และปลาดิฟนอย (ปลามีปอด) และ
ในปลายยุคนีพบสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกเปนครั้งแรก
้
ในจําพวกสัตวไรกระดูกสันหลังที่อาศัยอยูในทะเล หอยตะเกียง ปะการัง และสโทรมาโท

พอรอยด ยังพบอยูโดยทัวไป แกรฟโทไลทคงพบแตพวกรูปรางแห นอกนั้นสูญพันธุไปหมด ไครนอยด
่
และปลาดาวก็พบมากในยุคนี้

ภาพ 3.7 ปลา Placodermi

ภาพ 3.8 ปะการังชนิด Pleurodictyum

ยุคคารบอนิเฟอรัส
ที่เรียกชื่อยุคนีวา คารบอนิเฟอรัส เนื่องจากมีชั้นถานหินทีมีความหนาและแผไปกวางขวาง
้
่
มาก มีชวงเวลายาวประมาณ 34 ลานป (จาก 360 ถึง 286 ลานปมาแลว) หินสวนใหญประกอบดวยหินปูน
หินทราย หินดินดาน และถานหิน ชั้นถานหินพบมากในชวงหลังของยุคนี้
พืชที่อาศัยอยูบนผืนแผนดินเกิดแพรหลายมากสวนใหญเปนพวก ไลโดพอด (Scale-trees)

และเฟรนมีเมล็ด ในทะเลมีสาหรายที่สรางสารปูน สัตวที่อาศัยอยูบนบกมีพวกหอยสองฝา หอยขม และ
สัตวพวกขาเปนปลอง สวนสัตวมกระดูกสันหลังพวกสะเทินน้ําสะเทินบกมีการพัฒนามากจนเรียกไดวา
ี
เปนยุคของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก และเริ่มมีสัตวเลื้อนคลาน ปลาน้ําจืดพบแพรหลายมาก ในทองทะเล
หอยตะเกียง
ไดรนอยดและปะการังพบอยูจํานวนมาก
ไบรโอซัวก็มีอยูแพรหลายเปนพวกรูปพัด
56

(Fenestella) สัตวพวกหอยพบอยูพอสมควรที่สําคัญก็มีพวกหอยสองฝา หอยโขง และ เซฟาโลพอด อีไค
นอยดพบมากพอสมควร สวนพลาสตอยตมีความเจริญสูงสุดในยุคนี้ ที่นาสังเกต พวกแกรพโทไลท รูป
รางแหสูญพันธุไปหมดสิ้น และในปลายยุคเริ่มมีพวก ฟอแรมมินิเฟอราตัวใหญ (Fusulina) สวนสัตวมี
กระดูกสันหลังที่อาศัยอยูในทะเล สวนใหญเปนพวกปลาฉลาม

ภาพ 3.9 ใบไมไลโคพอดชนิด
Lepidodendron sternbergii

ภาพ 3.10 แสดงสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกชนิด
Amphibiamus lyelli
57

ยุคเพอรเมียน
ชื่อยุคมาจากคําวา เพอรม (Perm) เปนชื่อจังหวัดหนึ่งในเทือกเขาอูราล มีชวงเวลายาว
ประมาณ 41 ลานป (จาก 286 ถึง 245 ลานปมาแลว) หินสวนใหญประกอบดวย หินปูน หินดินดาน หิน
เกลือและหินทรายสีแดง
การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ซึ่งเริ่มมาตั้งแตยุคคารบอนิเฟอรัสมีความรุนแรงสูงสุดในยุค
เพอรเมียนนี้ ทําใหเกิดเทือกเขาสูงและมีการระเบิดของภูเขาไฟมาก บนผืนแผนดินพืชที่ปกคลุมอยูสวน
ใหญเปนพวก เฟรนและเฟรนมีเมล็ด ในซีกโลกใต (กอนดวานาแลนด) มีพวกพืชกลอสซอฟเทอริส เริ่มพบ

แมลงชนิดใหม ๆ ในยุคนี้ เชน แมลงปกแข็งและจักจั่น สวนสัตวมีกระดูกสันหลังที่อยูบนบกก็มีสัตว
๊
สะเทินน้ําสะเทินบกขนาดใหญ สัตวเลื้อยคลานหลายชนิด รวมทั้งสัตวเลื้อยคลายคลายพวกเลี้ยงลูกดวยนม
ปลาน้ําจืดมีพวกปลาพาลีโอนิสติด และปลาฉลาม เปนตน
ในทองทะเล ฟอเแรมมินิเซอราตัวใหญหรือฟูซูลินิด พบอยูแพรหลายมาก เชนเดียวกับ
ไบรโอซัว และหอยตะเกียง ปะการังพบไมมากนัก แตสัตวพวกหอย (หอยสองฝาและแอมโมนอยด) เริ่มพบ
มาก และเริ่มมีพวกเบเล็มนอยด เปนที่นาสังเกตวา หลังยุคเพอรเมียน พวกฟูซูลินิด ปะการังพวกรูโกส ไบร
โอซัว ฟเน็สเท็ลลิด หอยตะเกียงโพรดักทิด และไทรโลไบท ไดสูญพันธุไปหมดสิ้น

ภาพ 3.11 แมลงชนิด Dunbaria fasciipennis
58

ภาพ 3.12 (ก) ฟอแรมมินิเฟอราชนิด
Fusulinid

ภาพ 3.12 (ข) ฟอแรมมินิเฟอราชนิด Fusulinid
ในภาพตัดขวาง

ยุคไทรแอสสิก
ชื่อยุคมาจากคําวา ไทรแอส (Trias) เนื่องจากที่ภาคใตของประเทศเยอรมนีสามารถจําแนก
หินยุคนี้ออกไดเปนสามสวน แตในประเทศอังกฤษเรียกหินยุคนีวา หินทรายแดงใหม ยุคไทรแอสสิกมี
้
ชวงเวลายาว 37 ลานป (จาก 245 ถึง 208 ลานปมาแลว) หินสวนใหญประกอบดวยหินสีแดงและหินเกลือที่
เกิดในสภาวะที่รอนและแหงแลง เชน ในเขตทะเลทราย และหินปูนและหินดินดานที่เกิดในทะเลตื้นและ
น้ําอุน
ยุคไทรแอสสิกเปนการเริ่มตนยุคใหมของสิ่งมีชีวิต มีสัตวพวกใหมๆ ปรากฏตัวขึ้น
มากมาย ทั้งบนบกและในทะเล บนผืนแผนดินมีสภาวะที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชมากมาย
นัก จนกระทังปลายยุคมีตนปรง และเฟรน เจริญเติบโตดี สัตวมีขาเปนปลอง พวกครัสเทเชียนหลายชนิด
่
ปรับตัวอาศัยอยูในสระน้ํา เชน พวกหมัดที่เรียกวา แอสเธอเรีย (Estheria) พวกแมลงปอง พบในทะเลทราย
และแมลงตาง ๆ พบในชั้นถานหิน สวนสัตวมกระดูกสันหลังที่อาศัยอยูบนบก มีพวกปลามีปอด
ี
(Ceratodus) ปลาพวกนี้มดตัวอยูในโคลน และยังคงมีชีวิตอยูไดแมน้ําในแมน้ําหรือทะเลสาปแหงขอดลง
ุ

สัตวเลื้อยคลานมีทั้งชนิดและจํานวนเพิ่มมากขึ้น และในตอนปลายยุค สัตวเลื้อยคลายคลายพวกเลียงลูกดวย
้
นม ซึ่งมีมากในตนยุค จะถูกแทนที่ดวยพวกไดโนเสาร นอกจากนียังพบเตา จระเข และริงโคเซฟาเลียน

้
(rhynchocephalian) กอนสินยุคไทรแอสสิก นี้สัตวเลี้ยงลูกดวยนมเริมปรากฏตัว
้
่
ในทองทะเล หอยตะเกียงและไครนอยด (Encrinus) ยังพบมากพอควร ปะการัง มีพวกใหม
ที่เรียกวา ปะการังหกเหลี่ยม (Hexacorals) ซึ่งยังพบอยูในปจจุบัน หอยสองฝาและหอยโขง เริ่มพบมากขึ้น
ในทะเลน้ําตื้น สวนเซฟาโลพอด มีพวกเซอราไททิส (Ceratites) มาก (เปนแอมโมนอยดที่มี Ceratitic
suture-line) พวกสัตวมีขาเปนปลองเริ่มมีครัสเทเชียนตัวคลายกุง สวนสัตวมีกระดูกสันหลัง พบพวกตน
59

ภาพ 3.13 สัตวเลื้อยคลานชนิด Icthyosaurs

ตระกูลปลากระดูกแข็ง (bony fishes) รวมทั้งปลาที่บินไดจํานวนมาก แตปลาฉลามมีนอยลง เริ่มพบ
สัตวเลื้อยคลานกินเนื้อรูปรางคลายปลา (icthyosaurs)

ยุคจูแรสซิก
ชื่อยุคมากจากคําวา จูรา (Jura) เปนชื่อเทือกเขาซึ่งกั้นเขตประเทศฝรั่งเศสและสวิตเซอร
แลนด
มีชวงยาวประมาณ 64 ลานป (จาก 208 ถึง 144 ลานปมาแลว) หินยุคนีสวนใหญประกอบดวย
้
หินปูนเม็ด ไขปลา หินดินดานและหินทราย
ลักษณะภูมิประเทศในยุคจูแรสซิก เปนเนินเตี้ย ๆ มีทะเลน้ําตื้นคลุมพื้นที่สวนใหญ บนผืน
แผนดินมีพืชมากมาย หลายชนิดเชน ตนสน ปรง เฟรน และตนกิงโก (Ginkgo) ยุคนี้บางทีก็เรียกวาเปนยุค
ของตนปรง พืชดอกที่แทจริงยังไมปรากฏ พวกแมลงมีพวกแมลงปอ ตั๊กแตน แมลงปกแข็ง และปลวก เปน
ตน พวกหอยโขง (Viviparus) มีมากในสระหรือทะเลสาบบางแหง สวนพวกสัตวมีกระดูกสันหลังนัน เริ่มมี
้
พวกกบและอึงอาง สัตวเลื้อยคลานเจริญสูงสุดและมีจํานวนมาก เชน ไดโนเสาร เทอโรซอรที่บินได จระเข
่
และเตา นกตัวแรก (Archaeopteryx) ไดพฒนามาจากสัตวเลื้อยคลานในยุคนี้ สัตวเลื้อยคลานคลายพวกเลี้ยง
ั
ลูกดวยนม มีแตตัวขนาดเล็ก สัตวเลี้ยงลูกดวยนมมีตัวขนาดเล็กเชนกันและมีจํานวนนอย

่
ในทองทะเลพบพวกพืชมีสาหรายทะเลเนื้อปูน(สาหรายสีแดง)มากในทะเลน้ําตื้นทีใสและ
อุน สัตวจาพวกสัตวไรกระดูกสันหลังพวกปะการังหกเหลี่ยมมีมากและมักเกิดเปนเทือกปะการัง และมี
ํ
สัตวจําพวกหอย ไบรโอซัว และฟองน้าเนื้อปูน เกิดรวมดวย หอยตะเกียงทีพบมากมีอยู 2 พวก ไดแก
ํ
่
ทีเรบราทูลิด (terebratulids) พวกมีฝาเรียบ และ ริงโคเนลลิด (rhynchonellids) พวกที่ฝามีซี่ หอยสองฝาที่
เปนพวกใหมไดแก หอยพวกไทรโกเนีย (trigonias) และหอยนางรม แอมโมไนทในยุคจูแรสสิกนี้พบ
แพรหลายมาก มีววัฒนาการที่รวดเร็วจึงใชเปนตัวบงอายุของหินในที่ตาง ๆ กันได แอมโมไนทบางชนิด
ิ

60

อาศัยคืบคลานอยูตามพื้นทะเล บางชนิดก็วายไปมาอยูใกลผิวน้ํา พวกเบเล็มไนท (จําพวกปลาหมึก) ก็พบ


มากเหมือนกันในยุคนี้ สัตวพวกไดรนอยดและเอคินอยดพบมากพอสมควรในทะเลน้ําตื้น สวนพวกโอฟอู
รอยดพบมากเปนบางแหง ปูพบเปนครั้งแรกในยุคนีนอกจากนี้ ครัสเทเชียน ตัวคลายกุงก็พบมาก สัตวมี
้
กระดูกสันหลังที่อาศัยอยูในทะเล
สวนใหญเปนพวกสัตวเลื้อยคลานที่สําคัญมีพวกอิคไธโอซอร
(Ichthyosaurs) และเพลซิโอซอร (Plesiosaurs) นอกจากนันก็มพวกปลาที่พบมากเปนปลากระดูกแข็ง
้ ี
โบราณ ปลาฉลาม และปลากระเบน เปนตน
ภาพ 3.15 ไดโนเสาร Sauropod
ชนิด Brachiosaurus

ภาพ 3.16 ใบไมชนิด
Pterophyllum

ภาพ 3.17 ปลาชนิด
Sinamia
61

ยุคครีเทเซียส
ชื่อยุคมาจากคําละติน ครีทา (Creta) แปลวา หินชอลก ซึ่งเปนหินทีพบมากในชวงปลายยุค
่
มีชวงยาว 78 ลานป (จาก 144 ถึง 66 ลานปมาแลว) หินชอลคสวนใหญประกอบดวยสารปูน (แคลเซียม
คารบอเนต) ไดจากเศษชิ้นของพืชขนาดเล็ก (พวกสาหราย) ที่เรียกวา คอคโคลิธ ปะปนอยูกับเศษเปลือก

หอยและฟอแรมมินิเฟอรา เชน โกลบิเจอรินา (Globigerina) เปนตน
ชีวิตบนผืนแผนดิน ตอนตนยุคพืชยังคงคลายคลึงกับพวกที่พบในยุคจูแรสสิก คือมีพวก
ปรง สน และเฟรน เปนตน กลางยุคเริ่มมีพืชดอก (แองกิโอสเปรม) และในชวงปลายยุคมีพืชกลุมปจจุบัน
ปกคลุมอยูทั่วไป พวกสัตวมีกระดูกสันหลัง ไดโนเสารยังคงมีความสําคัญอยู แตสัตวเลี้ยงลูกดวยนมยังมี
จํานวนนอย
ชีวตในทองทะเลในยุคครีเทเซียส มีมากมายหลายจําพวก ฟองน้ําพบทัวไปในบริเวณน้าตื้น
ิ
่
ํ
สวนใหญเปนเนื้อปูน สวนพวกซิลิเซียสอยูในน้ําลึกกวา ไบรโอซัวพบมากเปนบางแหงในเขตน้ําตืน

้
เหมือนกัน หอยตะเกียงพบมากพอสมควรสวนใหญยังคงเปนพวกเทรีบราทูลิดและ ริงโคเนลลิด หอยสอง
ฝายังคงพบมากอยู สวนแอมโมไนทพบนอยลงและสูญพันธุใปในปลายยุค เบเล็มไนทก็พบนอยลงเชนกัน
และสูญหายไปเกือบหมดเมือสิ้นยุคนี้ อารโทรพอดมีพวกกุงซึ่งพบอยูทั่วไป มีพวกเอไคนอยด ไครนอยด
่
และปลาดาวอยูมาก แตปะการังมีความสําคัญนอยลง พวกสัตวเซลเดียว มีฟอแรมมินิเฟอราและราดิโอ
ลาเรียอยูแพรหลาย สวนสัตวมีกระดูกสันหลัง พบปลาจําพวกฉลามและกระเบนที่คลายคลึงกับชนิดปจจุบัน
อยูทั่วไป

ภาพ 3.18 ไดโนเสาร Theropod ชนิด
Torosus

ภาพ 3.19 ใบไมของพืชดอกชนิด
Banksia
62

ภาพ 3.20 สัตวเลื้อยคลานบินไดชนิด
Pterodactylus

ยุคเทอเธียรี
ยุคนี้ประกอบดวยสมัยพาลีโอซีน อีโอซีน และโอลิโกซีน มีชวงอายุ 38 ลานป (จาก 66 ถึง
28 ลานปมาแลว)
ในยุคนี้พบพืชบกโดยทั่วไป สวนใหญเปนพวกที่มีลักษณะคลายพืชปจจุบัน แหลงถาน
ลิกไนทที่สําคัญเกิดในสมัยโอลิโกซีน จําพวกสัตวมีกระดูกสันหลังพบปลาฉลามอยูทั่วไป ปลากระดูกแข็ง
(ทีลีออสท) เริ่มมีมากขึ้น สัตวเลื้อยคลายมีพวกจระเข เตา เริ่มพบเตาที่อาศัยอยูบนบก พวกนกมีฟนสูญพันธุ

ไป มีนกที่บินไมไดตวขนาดใหญ สัตวเลี้ยงลูกดวยนม ในสมัยยุคพาลีโอซีนมีขนาดเล็ก ในสมัยไมโอซีน
ั
ตอนกลางและตอนปลายมีขนาดใหญและลักษณะซับซอนขึ้น นอกจากนียังพบสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัย
้
ิ
อยูในน้ํา เชน ปลาวาฬ และวัวทะเล ที่บินไดบนอากาศก็มีเชน คางคาว พวกลิง ซึ่งเกิดมาจากสัตวกนแมลงก็
พบแพรหลาย
สัตวไรกระดูกสันหลัง ที่อาศัยอยูในทะเล มีพวกฟอแรมมินิเฟอรามาก (เชน นัมมูไลท)
พวกหอยเชน หอยสองฝา หอยโขง ก็พบมาก นอกจากนั้นที่พบอยูทั่วไปก็มพวกอีไคนอยด อารโธรพอด

ี
เชน พวกครัสเทเชียน บารนาเคิล ออสทราดอด และแมลงชนิดตาง ๆ หอยตะเกียงพบนอยลงและไมมี
ความสําคัญมาก ปะการังพบอยูตามแถบรอน
63

ภาพ 3.21 สัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิด
Hyaenodon horridus

ภาพ 3.22 ตนตระกูลสัตวเลี้ยงลูกดวยนม

ยุคนีโอจีน
ยุคนีโอจีนประกอบดวยสมัย ไมโอซีนและไพลโอซีน มีชวงอายุประมาณ 26 ลานป
(จาก 28 ถึง 1.6 ลานปมาแลว)
พวกพืชใบเลี้ยงคู (แองกิโอสเปรม) เจริญเติบโตดีขนบนผืนแผนดินในยุคนี้ บริเวณทุง
ึ้
หญาไดขยายขอบเขตไปกวางขวาง พวกปลากระดูกแข็งมีจํานวนมากและชนิดตาง ๆ กัน พบปลาฉลาม
มากเปนพิเศษ พบนกพวกปจจุบันหลายชนิดและมีนกบินไมไดขนาดใหญ พวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนมสวน
ใหญเปนตระกูลที่พบอยูในปจจุบัน ชางหลายชนิดที่มีตนกําเนิดในอาฟริกาและยังพบในยุโรป เอเชีย และ

อเมริกา นอกจากนี้มีสัตวพวกใหม ๆ เชน กวาง อูฐ แรด หมูยักษ และ พวกมาก็ยังคงมีการวิวฒนาการและ
ั
ปรับตัวเขากับเขตทุงหญาไดดี มีเสือเขียวโงงยาว เริ่มพบลิงเอฟคลายมนุษยในอาฟริกากลางและยุโรป ใน
้
อาฟริกาใตพบออสทราโลพิธีคุส ซึ่งอาจเปนตนตระกูลของมนุษยปจจุบัน

สัตวไรกระดูกสันหลัง ที่อาศัยอยูในทะเล ยังพบฟอแรมมินิเฟอราอยูมาก แตนัมมูไลท

สูญพันธุไป หอยสองฝามีมากและมีชนิดใหมหลายชนิด รวมทั้งชนิดปจจุบันหลายชนิดดวย หอยโขงก็มี
มาก เซฟาโลฟอดมีมากเชน นอทิลอยดและอีไดนอยดพบอยูโดยทัวไป อารโธรพอด เชน ออสทราดอด
่
พบแพรหลายทั่วไป และมีแมลงพวกปจจุบันหลายชนิด เรดิโอลาเรีย พบมากใหกําเนิดหินเนื้อซิลิเซียส มี
64

ไดอะตอม (สาหรายเซลเดียว) เกิดกวางขวางและเปนแหลงดินเบาที่สาคัญ นอกจากนี้ยังมีพวกสาหรายที่
ํ
เปนตัวกําเนิดหินปูนที่สําคัญ
ภาพ 3.23 ชาง Mastodon

ภาพ 3.24 ชาง Moeritherium

ยุคควอเทอรนารี
ยุคควอเทอรนารี ประกอบดวยสมัยไพลสโตซีนหรือสมัยน้ําแข็ง และโฮโลซีนหรือสมัย
หลังน้ําแข็ง (หรือสมัยปจจุบัน) มีชวงอายุ 1.6 ลานปถึง 10,000 ป สวนสมัยโฮโลซีนมีอายุจาก 10,000 ปมา
จนถึงปจจุบัน (ค.ศ. 1950)

ภาพ 3.25 ชาง Mammoth

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
Aui Ounjai
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
medfai
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
Wichai Likitponrak
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
Watcharinz
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
พัน พัน
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
Pathitta Satethakit
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
อารยธรรมกรีกโบราณ(TH)
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณีโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 5 ทรัพยากรธรณี
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
Astronomyม.4
Astronomyม.4Astronomyม.4
Astronomyม.4
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
8.สื่อสารสัตว์ ฟีโรโมน
 
Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2 Kingdom for knowledge บทที่ 2
Kingdom for knowledge บทที่ 2
 
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลยO-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
O-net ม.6 คณิตศาสตร์ 56 +เฉลย
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
04 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
กสพท.ข้อสอบวิชาเคมี+เฉลย 55 อ.อุ๊
 
Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553Pat2 มีนาคม 2553
Pat2 มีนาคม 2553
 
ปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทายปริศนาคำทาย
ปริศนาคำทาย
 

Similar to ธรณีกาล

ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
พัน พัน
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
Aphichati-yas
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
nasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
kalita123
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
freelance
 

Similar to ธรณีกาล (20)

บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
nam
namnam
nam
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
ธรณีประวัติ
ธรณีประวัติธรณีประวัติ
ธรณีประวัติ
 
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทยซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
ซากดึกดำบรรพ์ที่พบในประเทศไทย
 
Sea animals in Thailand
 Sea animals in Thailand Sea animals in Thailand
Sea animals in Thailand
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้ากลุ่มพอนะ พอนะ  --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
กลุ่มพอนะ พอนะ --เชื้อโรค ปืน เหล็กกล้า
 
นำเสนอโลก
นำเสนอโลกนำเสนอโลก
นำเสนอโลก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์ดาราศาสตร์
ดาราศาสตร์
 

ธรณีกาล

  • 2. 47 บทที่ 3 ลําดับชั้นหิน ซากดึกดําบรรพ และธรณีกาล * ดร. จงพันธ จงลักษมณี 1. ลําดับชั้นหิน บนพืนผิวโลกของเรา มีหินทีเ่ กิดเปนชัน ๆ คลุมพื้นทีประมาณสามในสี่ของพืนที่ทั้งหมด ้ ้ ่ ้ ดังนั้นหินชั้นและการจัดเรียงลําดับของมันจึงมีความสําคัญเปนอยางมากและเปนขอมูลพื้นฐานแกวชา ิ ธรณีวิทยาสาขาอื่น ๆ เนื่องจากปรากฏการณตาง ๆ ในอดีตจะถูกบันทึกไวในชั้นหิน การศึกษาลําดับชั้น หินจึงสามารถทําใหเราเขาใจเกี่ยวกับธรณีวทยาประวัติในบริเวณนั้น ๆ และนําไปสูการคนพบแหลงแร ิ  เศรษฐกิจและแหลงเชื้อเพลิงธรรมชาติ เชน น้ํามันดิบและกาซธรรมชาติได เมื่อเราสามารถอานปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในอดีตตามลําดับการเกิดกอน-หลังแลว เราก็ไดลําดับเวลา (time sequence) ของปรากฏการณนน ๆ ซึ่งเปนตารางเวลาเปรียบเทียบ (relative time ั้ scale) แสดงใหเห็นวาปรากฏการณหนึ่ง ๆ เกิดขึ้นกอนหรือหลังปรากฏการณอื่น ๆ อยางไร ในการคํานวณหาวาปรากฏการณในอดีตไดเกิดขึ้นมาแลวนานเทาใดนั้น เราตองวัดถอย หลัง ไปจากปรากฏการณหนึ่งๆ ที่ทราบอายุแนนอนกอน เชน เราอาจจะหาอายุปรากฏการณในอดีตโดยเทียบ กับยุคปจจุบัน เราเรียกวิธีการนี้วาการหาเวลาหรืออายุที่วดได (Measured time scale) ซึ่งเวลาที่วัดไดนี้จะ ั บอกเราวาปรากฏการณในอดีตนั้น ๆ ไดเกิดขึ้นมานานเทาใดแลวจากยุคปจจุบัน หลักการเบื้องตนของการเรียงลําดับชั้นหิน การศึกษาวิจยเกี่ยวกับลําดับชั้นหิน อาศัยหลักพื้นฐานใหญ ๆ 3 ประการดังนี้ ั หลักการวางตัวซอนทับ (Law of Superposition) นายเจมส ฮัตตัน (James Hutton) เปนบุคคลแรกที่เสนอความคิดเกียวกับหลักการวางตัว ่ ซอนทับ โดยเขาไดศกษากระบวนการตกทับถมของตะกอนตามชายหาดและพบวาชั้นตะกอนที่ตกทับถม ึ ในตอนแรกจะถูกปดทับโดยชั้นตะกอนทีตกทับถมในเวลาถัดมา และความคิดนีใชไดกับชั้นหินที่วางตัว ่ ้ ซอนๆ กัน หินแตละชั้นเกิดจากการสะสมตัวในชวงเวลาหนึ่ง อาจเปนชวงเวลาที่ยาวหรือสั้น ชวงเวลาตาง ๆ เหลานี้จะถูกบันทึกไวในรูปของชั้นหินที่เรียงซอนกันเปนลําดับจากลางไปบน ลําดับชั้นหินอาจตอเนื่อง หรือการสะสมตัวของตะกอนอาจมีการหยุดชะงัก หลักการวางตัวซอนทับ สรุปไดวา ในลําดับชั้นหินที่ไม ถูกรบกวนจากกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดภายหลังนั้นชันหินทีวางตัวอยูบนจะมีอายุออนกวา และชั้นหินที่ ้ ่ วางตัวอยูลางจะมีอายุแกกวา * สาขาวิชาเทคโนโลยีธรณี สํานักวิชาวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • 3. 48 หลักความเปนเอกภาพ (law of Uniformitarianism) นอกจากหลักการเกี่ยวกับการวางตัวซอนทับแลวนายเจมส ฮัตตัน ยังไดกลาวถึงหลักการ พื้นฐานอันสําคัญอีกขอหนึ่ง โดยเขาไดสังเกตการกัดกรอนของธารน้ําในหุบเขา และตามชายฝงและสรุปวา หินชันชนิดตาง ๆ เกิดจากการสะสมตัวของวัสดุทไดมาจากการสึกกรอนและการผุพังทะลายของหินเกาดั้งเดิม ้ ี่ จากการสังเกตนี้ เขาสรุปเปนหลักพืนฐานขอหนึงของวิชาธรณีวทยาวา การเกิดหินชนิดตาง ๆ นั้นเราสามารถ ้ ่ ิ อธิบายโดยอาศัยหลักของกระบวนการตาง ๆ ที่กําลังเกิดอยูในปจจุบันได หลักการนี้อาจจะพูดไดวา  ปจจุบันสามารถจะใชเปนกุญแจอธิบายถึงอดีตกาลได และความคิดอันนี้ไดกลายมาเปนหลักพืนฐานที่รูจัก ้ กันในนามของหลักความเปนเอกภาพ หลักการใชซากดึกดําบรรพในการหาความสัมพันธ (fossil correlation) หลักการพื้นฐานขอที่สามเกี่ยวกับซากดึกดําบรรพที่พบในชั้นหินตาง ๆ โดยไดมีการ คนพบวา ซากดึกดําบรรพที่เกิดในชั้นหินตาง ๆ นั้น มีรูปรางและเผาพันธุแตกตางกันไป ทั้งๆ ที่ชั้นหิน อาจจะวางซอนอยูใกลๆ กัน ดังนั้น จึงมีการใชซากดึกดําบรรพที่แตกตางกันนี้มาตรวจสอบและแยกแยะชั้น หินที่มีซากเหลานี้ ความคิดนี้จึงทําใหเกิดหลักการพืนฐานที่เรียกวา การหาความสัมพันธของชั้นหินโดย ้ อาศัยซากดึกดําบรรพ หลักการนี้คนพบโดย นายวิลเลียม สมิธ (William Smith) นักสํารวจและวิศวกรชาว อังกฤษ เขาแสดงใหเห็นวา การที่จะหาความสัมพันธทางเวลาของปรากฏการณตาง ๆ ไดก็โดยอาศัยการพบ ซากดึกดําบรรพที่คลายคลึงกันในสถานทีตาง ๆ กัน ปจจุบันไดมการนําวิธีการนี้มาใชประโยชนในการ ่ ี คนหาแหลงถานหินและเชื้อเพลิงธรรมชาติตลอดจนแรที่มีคาทางเศรษฐกิจอืน ๆ ่ ผลงานของ นายฮัตตัน นายสมิธ และนักธรณีวิทยาชาวยุโรปอื่น ๆ ในชวงพุทธศตวรรษที่ 22 และ 23 ไดทําใหมีการคนพบเกี่ยวกับอายุเปรียบเทียบ (relative ages) ของชั้นหินที่เกิดขึ้นบนพื้นโลก ซึ่ง งานตาง ๆ เหลานี้ไดเริ่มทําโดยการศึกษาถึงอายุสัมพันธของหินในที่ตาง ๆ กันหลายแหง แลวนํามา เทียบเคียงปะติดปะตอกันใหสมบูรณขึ้น และพัฒนาเปนมาตรธรณีกาลที่ใชกันอยูในปจจุบัน  2. ซากดึกดําบรรพ โลกของเราในปจจุบันมีสิ่งมีชีวิตนับจํานวนเปนพัน ๆ ลานตัวอาศัยอยู บางก็มีชีวิตอยูบนดิน  บางก็มีชีวิตอยูในน้ํา แมอากาศที่เราสูดหายใจเขาไปก็มสิ่งมีชีวิตที่มีขนาดเล็กมากหลายชนิดอาศัยอยู ขนาด  ี ของสิ่งมีชีวิตก็แตกตางกันไปเปนอยางมาก นับตั้งแตพชที่มีขนาดเล็กจนตองมองดูดวยกลองจุลทรรศนไป ื จนกระทั่งปลาวาฬขนาดใหญที่อาศัยอยูในมหาสมุทร สิ่งมีชีวิต เมื่อตายลงซากของสิ่งมีชีวิตนั้นจะถูกทับถมดวยตะกอนและฝงตัวอยูในชั้นตะกอน ซึ่งภายหลังเปลี่ยนสภาพกลายเปนหินตะกอนหรือหินชันไปในที่สุด คําวา “ซากดึกดําบรรพ” ใน ้ ภาษาอังกฤษมีรากศัพทมาจากภาษาลาติน คําวา fossilis (ฟอสซิลิส) ซึ่งแปลวา “ขุดขึ้นมา” แตซากดึกดํา บรรพสวนใหญ มิไดมาจากการขุดขึนมาจากพืนดินเสมอไป สวนใหญมักจะโผลใหเห็นหลังจากที่หิน ้ ้
  • 4. 49 ตะกอนเกิดการผุสลายหรือถูกกัดเซาะออกไปบางสวน ซากดึกดําบรรพมีทั้งพืชและสัตวมากมายหลายชนิด ซากสัตวดึกดําบรรพมีขนาดแตกตางกันมากนับตั้งแตกระดูกไดโนเสาร ซึ่งมีความยาวมากกวา 2 เมตร และ หนักหลายรอยกิโลกรัม ไปจนกระทั่งถึงซากสัตวดึกดําบรรพขนาดเล็กมากเทาหัวเข็มหมุด ซากสัตวที่มี ขนาดเล็กเหลานี้เรารวมเรียกวา ซากจุลชีวนดึกดําบรรพ ทั้งนี้ เพราะการศึกษาซากดึกดําบรรพเหลานี้จะตอง ิ ใชกลองจุลทรรศนชวย การเกิดซากดึกดําบรรพ พืชและสัตวเมือตายไปแลวจะผุพังเนาเปอยเร็วมาก แตเปลือกแข็งของพืชและสัตวเหลานี้ ่ เชน ฟน เปลือกนอก และเนื้อไม จะคงสภาพอยูไดและกลายเปนซากดึกดําบรรพไปในที่สุด แตภายใต สภาวะพิเศษบางอยาง สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่ไมมีเปลือกแข็ง อาทิ แมงกะพรุน อาจเหลือซากและคงสภาพอยูได อยางไรก็ดี สิ่งมีชีวิตแมวาจะมีเปลือกแข็งก็อาจจะไมมีซากเหลือทิ้งไวใหเห็นเลยได ซาก สิ่งมีชีวิตจะถูกทําลายไปไดหลายวิธี ภายหลังจากที่สัตวตายลง สวนที่เปนเนื้อจะถูกสัตวอื่น ๆ มากมาย หลายชนิดกัดกิน เชน แรง หมาปา แมลง และแบคทีเรีย นอกจากนี้ แสงแดด ลม และฝนก็มีสวนชวยกระตุน  ็ กระบวนการผุพังเนาเปอย เนื้อของสัตวกจะสลายตัวไปในไมชาก็เหลือแตเพียงกระดูก ฟน และเปลือกแข็ง ไว แตสวนประกอบที่มีลักษณะแข็งดังกลาวนี้อาจจะถูกทําลายลงไดเชนกัน กระดูกอาจจะผุสลายตัวไปหาก ไมถูกฝงจมดิน เปลือกแข็งและกระดูกอาจถูกบดใหแตกหักจนละเอียดโดยน้ําหนักของตะกอนทีสะสมตัว ่ ทับอยูเบื้องบน สวนอื่น ๆ อาจแตกหักและถูกกัดเซาะไปขณะถูกน้ําพัดพาครูดถูไปกับทองน้ํา หรือถูกคลื่น ซัดใหโยนตัวไปมา แมวามีองคประกอบหลายประการที่มีผลตอกระบวนการเกิดซากดึกดําบรรพ แตองคประกอบ ที่สําคัญมีอยูเพียง 2 อยาง คือ องคประกอบแรก ถาสิ่งมีชีวิตนั้นมีสวนประกอบที่เปนของแข็งก็มีโอกาสที่  กลายเปนซากดึกดําบรรพไดมากขึ้น องคประกอบที่สอง ซากพืชและซากสัตวจะตองถูกฝงตัวอยางรวดเร็ว ภายหลังจากทีตายลงไปโดยวัสดุที่สามารถเก็บรักษาซากสัตวหรือพืชเหลานี้ สภาพแวดลอมที่สิ่งมีชีวิตนั้น ่ อาศัยอยูจะเปนตัวชี้บงวาวัสดุชนิดใดจะมีสวนในการทับถมซากสิ่งมีชีวิต และกระบวนการเกิดเปนซาก ดึกดําบรรพชนิดใดจะมีผลตอการเปลี่ยนแปลงนั้น ตัวอยางเชน ซากของสัตวทะเลจะถูกเก็บรักษาไว เพราะ มีการตกจมลงไปสูทองทะเลโดยรวดเร็วหลังจากที่สัตวนั้นตายลง และถูกโคลนออนรวมทั้งทรายทับถมอยู เบื้องบน โดยทั่วๆ ไป ยิ่งตะกอนที่มีขนาดอนุภาคยิ่งเล็กทับถมตัวเหนือซากสิ่งมีชีวิตโอกาสที่ซากสิ่งมีชีวิต จะถูกเก็บรักษาไวเปนซากดึกดําบรรพยิ่งจะเพิ่มมากขึน ้ สิ่งมีชีวิตเกือบทั้งหมดมีการเปลี่ยนแปลงอยางมากมายในระหวางกระบวนการเกิดซาก ดึกดําบรรพ แตถาสภาพแวดลอมมีความเหมาะสมพอดีแลวลักษณะอันละเอียดออนของพืชและสัตวก็จะ ไดรับการถนอมรักษาโดยคงสภาพเดิมไวได ชางแมมมอธเปนตัวอยางที่ดีสําหรับกรณีที่สัตวทั้งตัวไดรับ แมลงและแมงปองไดรับการรักษาสภาพไวในยางไมที่ การรักษาสภาพไวคงเดิมโดยการแชเย็นจนแข็ง กลายเปนหินซึ่งมีชื่อเรียกวา อําพัน
  • 5. 50 สารอินทรียที่ประกอบขึ้นเปนเปลือกแข็งมักจะมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นภายหลังจากที่ถูก ทับถมตัวดวยตะกอน น้ําที่แรบางชนิดละลายปนอยูและซึมผานตะกอนไปจะคอยๆละลายเอาสารที่เปนแร  เชน แคลเซียมคารบอเนต (แคลไซค) จากเปลือกแข็ง แคลเซียมคารบอเนตตอมาอาจถูกแทนทีดวยซิลิกา ่ หรือแรชนิดอืน ๆ ในน้ํา ดวยกรรมวิธีดังกลาวมาแลว ซากสิ่งมีชีวิตก็จะกลายสภาพเปนหินไปในที่สุด ่ ภายใตสภาวะแวดลอมแบบอื่น ๆ สารละลายที่เขามาแทนที่อาจจะมีสารประกอบบางอยางละลายปนอยูใน  ั้ ปริมาณที่มาก เชน สารประกอบของเหล็ก แมกนีเซียมและแคลเซียม ซากดึกดําบรรพเกิดจากการแทนที่นน ลักษณะรายละเอียดของเปลือกแข็งจะถูกถนอมรักษาไวเปนอยางดี และมีลักษณะสวยงามมาก ซากดึกดําบรรพหลายชนิดเกิดขึ้นมาจากการสลายตัวเนาเปอยอยางเชื่องชาของสารอินทรีย ภายหลังจากทีถูกฝงจมลงดวยตะกอน ในขณะที่เกิดกระบวนการสลายตัวเนาเปอยอยูนั้น สารอินทรียจะทิ้ง ่  รองรอยของคารบอนไวเปนฟลมบาง ๆ ซึ่งแสดงลักษณะรายละเอียดภายนอกของสิ่งมีชีวิตนั้น ซากชีวิต ดึกดําบรรพชนิดนี้เกิดจากกระบวนการเพิมคารบอน (carbonization) ่ ซากชีวิตดึกดําบรรพจํานวนมากเกิดขึนมาในลักษณะของ รอยพิมพ (mold) และ รูปพิมพ ้ (cast) เพื่อทีจะเขาใจวาสิ่งเหลานี้เกิดขึนมาไดอยางไรนั้น ลองนึกถึงสภาพของเปลือกหอยที่ฝงตัวอยูกับ ่ ้   ตะกอนในมหาสมุทร ภายหลังจากที่ตะกอนแข็งตัวกลายเปนหินแลว น้ําบาดาลจะคอยละลายเปลือกหอย ออกไปเหลือที่วางซึ่งเคยเปนเปลือกหอยทิ้งไวในหิน ที่วางดังกลาวนี้เรียกวา แบบพิมพ ซึ่งถูกถนอมรักษา ไวและแสดงใหเห็นถึงรองรอยของเปลือกหอย เมื่อเวลาลวงเลยไปแบบพิมพอาจจะมีแรชนิดอื่นเขาไป บรรจุอยูทั้งนี้แรเหลานี้เกิดจากน้ําบาดาลพามาสะสมตัว แรเหลานีอาจจะเกิดเปนตัวหลอของเปลือกหอย ้ ดั้งเดิม การศึกษาซากดึกดําบรรพเพือใชในการหาความสัมพันธของชันหิน ่ ้ ซากดึกดําบรรพสามารถนําไปใชหาความสัมพันธหรือเปรียบเทียบชั้นหินตาง ๆ ได ซาก ดึกดําบรรพบางชนิดอาจเปนพืชหรือสัตว ไดเกิดขึ้นในชวงเวลาสั้น ๆ ของธรณีกาล และในขณะที่ซากดึก ดําบรรพเหลานี้มีชีวิตอยูนั้นอาจจะมีการเจริญแพรพันธุไปไดกวางขวางมาก ซากดึกดําบรรพบางพวกมี ลักษณะเฉพาะเดนชัดและสามารถนําไปใชกําหนดอายุของยุคใดยุคหนึ่งในธรณีกาลไดดี ซึ่งซากดึกดํา บรรพเหลานี้เราเรียกวาเปนซากดึกดําบรรพบงชี้หรือซากดึกดําบรรพดัชนี (guide or index fossils) ซึ่งจะมี ประโยชนอยางมากในการบอกถึงอายุของชั้นหินที่มีซากดึกดําบรรพพวกนี้อยู เราทราบวาไดโนเสารเปน สัตวที่เกิดขึนมาในมหายุคมีโซโซอิก หลังจากมหายุคนี้แลว ไดโนเสารก็สูญพันธุไป ดังนั้น ถาเราไปสํารวจ ้ พบซากไดโนเสารในชั้นหินใด ๆ ก็เปนการแนนอนวาชันหินนีเ้ กิดในมหายุคมีโซโซอิกดวยเชนกัน อยางไร ้ ก็ตามนักธรณีวิทยาหรือนักบรรพชีวินวิทยา มักจะใชกลุมของซากดึกดําบรรพมากกวาจะใชซากดึกดําบรรพ ชนิดใดชนิดหนึ่งในการนํามากําหนดอายุของชั้นหินหรือในการตรวจสอบชั้นหินวาเปนชั้นเดียวกันหรือไม
  • 6. 51 3. ตารางธรณีกาล (Geologic time scale) จากรองรอยและซากดึกดําบรรพของพืชและสัตวที่ไดมีการคนพบในชั้นหินของเปลือกโลก ในที่ตาง ๆ เราสามารถนํามารวบรวมและอธิบายประวัติความเปนมาของโลกได ทําใหทราบถึงลําดับและ วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตจากชีวิตแรกเริ่มในบรมยุคโพรเทอโรโซอิกจนถึงยุคปจจุบัน หนวยเวลาที่ใหญสุดตามมาตราธรณีกาลเรียกวา บรมยุค (Eon) โลกของเราประกอบดวย 3 บรมยุค ไดแก บรมยุคคริปโทโซอิก (Cryptozoic) หรือ อารดีโอโซอิก (Archaeozoic) หรืออะโซอิก (Azoic) เปนบรมยุคทีมีหินเกาสุด บรมยุคโพรเทอโรโซอิก (Proterozoic) เปนบรมยุคของสิ่งมีชีวิตแรกเริ่ม และบรม ่ ยุคฟาเนอโรโซอิก (Phanerozoic) เปนบรมยุคของสิ่งมีชีวิตที่มองเห็นไดซึ่งเปนชวงเวลาที่มีซากดึกดําบรรพ แพรหลาย นักธรณีวิทยาไดจําแนกบรมยุคฟาเนอโรโซอิกออกเปน 3 มหายุค (Era) ไดแก มหายุคพาลี โอโซอิก (Paleozoic)เปนชวงของชีวิตเกา มหายุคมีโซโซอิก (Mesozoic) เปนชวงของชีวิตกลาง (หรือเรียก ยุคของไดโนเสาร) และมหายุคซีโนโซอิก (Cenozoic) เปนชวงเวลาของชีวิตใหม ในแตละมหายุคจะถูกแบงออกเปนยุค (Periods) ตาง ๆ และแตละยุคจะแบงยอยออกเปน หนวยเล็ก ๆ เรียกวา สมัย (Epochs) เสนแบงมหายุค ยุค และสมัยออกจากกันนั้นขึ้นอยูกับการเปลียนแปลง ่ ของเหตุการณตาง ๆ ในอดีต เชนการเปลี่ยนแปลงของชนิดหรือเผาพันธุของพืชหรือสัตว และการเกิด กระบวนการเกิดเทือกเขา ตัวอยางเชน การสูญพันธุของไดโนเสารถกใชเปนตัวแยกมหายุคมีโซโซอิกออกจาก ู มหายุคซีโนโซอิก และยุคควอเทอรนารี (Quaternary Period) จะถูกแบงออกเปนชวงตนคือ สมัยไพลสโตซีน (Pleistocene Epoch) และชวงปลายคือสมัย โฮโลซีน (Holocene Epoch) ซึ่งก็คือยุคปจจุบันที่เรากําลังอาศัย อยูนี้เอง การเริ่มตนของสมัยไพลสโตซีนจะเริ่มตั้งแตการเกิดของธารน้ําแข็งขนาดใหญที่เคลื่อนตัวลงมา จากขัวโลกเหนือลงมาปกคลุมทวีปอเมริกาและทวีปยุโรป ซึ่งจะกลายเปนยุคน้ําแข็ง (Great Ice Age) ในชวง ้ สมัยไพลสโตซีน สวนสมัยโฮโลซีนจะเริ่มขึ้นเมื่อธารน้าแข็งตาง ๆ เหลานี้ถดถอยไปจากทวีปอเมริกาและ ํ ยุโรป ซึ่งเริ่มเมื่อ 10,000 ปมาแลว
  • 7. 52 อายุที่วัดไดของหินยุคตาง ๆ ตามที่ปรากฏในมาตราธรณีกาลไดมาจากการคํานวณโดยวิธี ตาง ๆ กัน แรบางชนิดในหินอัคนีมีธาตุกัมมันตรังสียูเรเนียมและธอเรียม ซึ่งจะแตกตัวตามธรรมชาติดวย อัตราที่คงที่จนไดตะกัวในขั้นสุดทาย ถาเราทราบอัตราการสลายตัวก็สามารถหาอายุของชั้นหินนี้ได โดย ่ การหาอัตราสวนของปริมาณยูเรเนียมและปริมาณตะกัวที่มีอยูในหินนั้น ่ มหายุคพรีแคมเบรียม มหายุคพรีแคมเบรียน มีอายุตั้งแตโลกเกิดจนถึงเมื่อ 545 ลานปมาแลว คลุมชวงเวลา ประมาณ 4,000 ลานป หินทีมีอายุแกสุดนีมักอยูในสภาพที่โดนบีบอัดและเปลี่ยนแปรไปโดยความรอนและ ่ ้ ความดันอยางรุนแรงจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก สวนใหญเปนหินพวกหินไนส หินชนวน หินชิสต หินออนและหิน ควอรตไซต สภาพภูมิประเทศในมหายุคพรีแคมเบรียน มีลักษณะโลงเตียน เปนภูเขา ทะเลทราย มีภูเขา ํ ไฟประทุรุนแรงเกิดธารลาวามากมาย ไอน้าในบรรยากาศเริ่มกลั่นตัวเปนน้ําฝน ทําใหเกิดแมน้ําและทะเล ในตอนตนยุคพรีแคมเบรียน บางแหงมีแกรไฟต ซึ่งคงจะเกิดการแปรสภาพของ หินดินดานเนือปนถาน (ถานคงเกิดจากสิงมีชีวิตแรกเริ่มที่อาศัยอยูในน้ํา) หินปูนบางแหงมีกอนกลม ๆ เกิด ้ ่ จากการพอกตัวดวยชั้นบาง ๆ ของสาหรายหรือแบคทีเรีย รองรอยของสิ่งมีชีวิตในยุคนี้มีนอยเนื่องจากสัตว สวนใหญในทะเลยุคตนนี้ไมมีเปลือกหรือฝาหุม ภาพ 3.1 แบคทีเรียชนิด Cyanobacteria
  • 8. 53 ยุคแคมเบรียน ชื่อยุคมาจากคําวา แคมเบรีย (Cambria) ซึ่งเปนชื่อโรมันของแควนเวลส (Wales) มี ชวงเวลายาวประมาณ 4 ลานป (จาก 454 ถึง 505 ลานปมาแลว) ในยุคนีทะเลน้ําตื้นไดคอยๆ รุกล้ําเขาไปใน ้ ผืนแผนดินสวนใหญ หินที่พบเปนพวกหินทราย หินดินดาน หินชนวนและหินปูน ยุคแคมเบรียนเปนยุคที่พบซากดึกดําบรรพที่รักษาสภาพไวดี ประกอบดวยทังพืชและสัตว ้ พืชเปนพวกสาหรายทะเล แตมักไมเหลือรองรอยไวในหิน สวนสัตวพบมากมายหลายพวกเนื่องจากมี เปลือกหรือฝาหุมที่พบมากเปนพวกไทรโลไบต มีมากกวา 1,000 ชนิด แกรพโทไลทมีเฉพาะพวกเปน รางแห (Dictyonema) หอยตะเกียงมีมากพอควร สวนใหญเปนพวก horny inarticulate พวกหอยมีนอยเปน  พวกหอยโขงทะเล และหอยสองฝา ภาพ 3.2 ไทรโลไบทชนิด Nevadella ภาพ 3.3 ไทรโลไบทชนิด Cambropallas ยุคออรโดวิเชียน ชื่อยุคมาจากคําวา ออรโดวิเชส (Ordovices) ซึ่งเปนชาวเผาเซลทิคอาศัยอยูในแควนเวลส ยุคออรโดวิเชียนมีชวงเวลายาว 60 ลานป (จาก 505 ถึง 438 ลานปมาแลว) หินที่พบเปนพวกหินปูน โดโล ไมต หินทรายและหินดินดาน พืชที่พบในยุคนี้ยังเปนพวกสาหรายทะเล (สีเขียว สีแดง และสาหรายชนิดตาง ๆ) พวก สัตวไรกระดูกสันหลังประกอบดวยไทรโลไบต ซึ่งมีความเจริญสูงสุด ทั้งชนิดและจํานวน แกรพโทไลท เปนพวกรูปกิ่ง (Didymograptus) หอยตะเกียงพบมากเริ่มมีพวกที่ฝาเปนสารปูนและมีสภาพ articulate สวน พวก horny inarticulates มีจานวนลดนอยลง ไบรโอซัวเปนสัตวตัวเล็ก ๆ มีหนวดคลายแขนและอยูเ ปนกลุม ํ พบมากในหินยุคนี้ พวกหอยมีพวกเซฟาโลพอด (จําพวกปลาหมึก) พบมากพอควร ที่สําคัญมีพวกฝาตรง ยาวเรียว เชน ออรโธเซอราส (Orthoceras) หอยโขงทะเลพบทั่วไปในทะเลน้ําตืน แตหอยสองฝาพบไม ้ แพรหลาย สวนสัตวมีกระดูกสันหลังเริ่มพบพวกตัวคลายปลา ซึ่งเปนตนตระกูลปลา ออสทราโคเดิรม
  • 9. 54 ภาพ 3.4 แกรพโทไลทรูปกิ่ง ยุคไซลูเรียน ชื่อยุคมาจากคําวา ไซลูเรส (Silures) เปนชาวเผาเซลทิค อาศัยอยูในแควนเวลส มีชวงเวลา ยาว 30 ลานป (จาก 438 ถึง 408 ลานปมาแลว) หินที่พบในยุคนี้สวนใหญเปนหินปูน หินทรายและ หินดินดานสีดา ํ พืชในยุคนี้มีทงพืชทะลและพืชบก สาหรายทะเลพบแพรหลายมาก มีพวกสีเขียว และสี ั้ แดง ในตอนปลายยุคเริ่มพบพืชบกเปนครังแรกที่ประเทศออสเตรเลีย สัตวไรกระดูกสันหลังที่พบมากไดแก ้ พวกไบรโอซัว หอยตะเกียงเจริญสูงสุด พวกไทรไลไบทและแกรพโทไลทยังพบมากอยู แกรพโทไลทเปน พวกรูปกิ่ง (Monograptus) ออสทราดอดเริ่มพบมาก นอกจากนี้สัตวที่พบบอยก็มีปะการัง (rugose และ tabulate) และไครนอยด สัตวจําพวกหอย (หอยสองฝา, หอยโขง, และเซฟาโลพอด) พบนอย ในจําพวก สัตวมีกระดูกสันหลัง เริ่มพบตนตระกูลปลาไรขากรรไกรเปนครั้งแรก ภาพ 3.6 ไครนอยด ภาพ 3.5 ครัสเทเชียนชนิด Eurypterus
  • 10. 55 ยุคดีโวเนียน ชื่อยุคมาจากชือเมืองดีวอนเชียร มีชวงเวลายาว 48 ลานป (จาก 408 ถึง 360 ลานปมาแลว) ่ หินสวนใหญที่พบในยุคดีโวเนียนเปนหินดินดาน หินปูน และหินทรายแดง ตอนใกลสิ้นยุคไซลูเรียนมีการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกและการประทุของภูเขาไฟ ทําให ทองทะเลเดิมบางสวนยกตัวขึ้นเปนผืนแผนดิน และปกคลุมดวยพืชบก นอกจากนี้บนบกเริ่มพบสัตวที่ หายใจทางอากาศได โดยมีการปรับตัวใหเขากับการดํารงชีพบนผืนแผนดิน เชน กิ้งกือ แมลงมุม และแมลง ไรปก ในจําพวกสัตวมีกระดูกสันหลัง พบปลาน้ําจืดหลายชนิด (จนทําใหไดชื่อวาเปนยุคของปลา) เชน ปลาไรขากรรไกร ปลาออสทราโคเดิรม ปลาครอสสออฟเทอริเกียน และปลาดิฟนอย (ปลามีปอด) และ ในปลายยุคนีพบสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกเปนครั้งแรก ้ ในจําพวกสัตวไรกระดูกสันหลังที่อาศัยอยูในทะเล หอยตะเกียง ปะการัง และสโทรมาโท  พอรอยด ยังพบอยูโดยทัวไป แกรฟโทไลทคงพบแตพวกรูปรางแห นอกนั้นสูญพันธุไปหมด ไครนอยด ่ และปลาดาวก็พบมากในยุคนี้ ภาพ 3.7 ปลา Placodermi ภาพ 3.8 ปะการังชนิด Pleurodictyum ยุคคารบอนิเฟอรัส ที่เรียกชื่อยุคนีวา คารบอนิเฟอรัส เนื่องจากมีชั้นถานหินทีมีความหนาและแผไปกวางขวาง ้ ่ มาก มีชวงเวลายาวประมาณ 34 ลานป (จาก 360 ถึง 286 ลานปมาแลว) หินสวนใหญประกอบดวยหินปูน หินทราย หินดินดาน และถานหิน ชั้นถานหินพบมากในชวงหลังของยุคนี้ พืชที่อาศัยอยูบนผืนแผนดินเกิดแพรหลายมากสวนใหญเปนพวก ไลโดพอด (Scale-trees)  และเฟรนมีเมล็ด ในทะเลมีสาหรายที่สรางสารปูน สัตวที่อาศัยอยูบนบกมีพวกหอยสองฝา หอยขม และ สัตวพวกขาเปนปลอง สวนสัตวมกระดูกสันหลังพวกสะเทินน้ําสะเทินบกมีการพัฒนามากจนเรียกไดวา ี เปนยุคของสัตวสะเทินน้ําสะเทินบก และเริ่มมีสัตวเลื้อนคลาน ปลาน้ําจืดพบแพรหลายมาก ในทองทะเล หอยตะเกียง ไดรนอยดและปะการังพบอยูจํานวนมาก ไบรโอซัวก็มีอยูแพรหลายเปนพวกรูปพัด
  • 11. 56 (Fenestella) สัตวพวกหอยพบอยูพอสมควรที่สําคัญก็มีพวกหอยสองฝา หอยโขง และ เซฟาโลพอด อีไค นอยดพบมากพอสมควร สวนพลาสตอยตมีความเจริญสูงสุดในยุคนี้ ที่นาสังเกต พวกแกรพโทไลท รูป รางแหสูญพันธุไปหมดสิ้น และในปลายยุคเริ่มมีพวก ฟอแรมมินิเฟอราตัวใหญ (Fusulina) สวนสัตวมี กระดูกสันหลังที่อาศัยอยูในทะเล สวนใหญเปนพวกปลาฉลาม ภาพ 3.9 ใบไมไลโคพอดชนิด Lepidodendron sternbergii ภาพ 3.10 แสดงสัตวสะเทินน้ําสะเทินบกชนิด Amphibiamus lyelli
  • 12. 57 ยุคเพอรเมียน ชื่อยุคมาจากคําวา เพอรม (Perm) เปนชื่อจังหวัดหนึ่งในเทือกเขาอูราล มีชวงเวลายาว ประมาณ 41 ลานป (จาก 286 ถึง 245 ลานปมาแลว) หินสวนใหญประกอบดวย หินปูน หินดินดาน หิน เกลือและหินทรายสีแดง การเคลื่อนตัวของเปลือกโลก ซึ่งเริ่มมาตั้งแตยุคคารบอนิเฟอรัสมีความรุนแรงสูงสุดในยุค เพอรเมียนนี้ ทําใหเกิดเทือกเขาสูงและมีการระเบิดของภูเขาไฟมาก บนผืนแผนดินพืชที่ปกคลุมอยูสวน ใหญเปนพวก เฟรนและเฟรนมีเมล็ด ในซีกโลกใต (กอนดวานาแลนด) มีพวกพืชกลอสซอฟเทอริส เริ่มพบ  แมลงชนิดใหม ๆ ในยุคนี้ เชน แมลงปกแข็งและจักจั่น สวนสัตวมีกระดูกสันหลังที่อยูบนบกก็มีสัตว ๊ สะเทินน้ําสะเทินบกขนาดใหญ สัตวเลื้อยคลานหลายชนิด รวมทั้งสัตวเลื้อยคลายคลายพวกเลี้ยงลูกดวยนม ปลาน้ําจืดมีพวกปลาพาลีโอนิสติด และปลาฉลาม เปนตน ในทองทะเล ฟอเแรมมินิเซอราตัวใหญหรือฟูซูลินิด พบอยูแพรหลายมาก เชนเดียวกับ ไบรโอซัว และหอยตะเกียง ปะการังพบไมมากนัก แตสัตวพวกหอย (หอยสองฝาและแอมโมนอยด) เริ่มพบ มาก และเริ่มมีพวกเบเล็มนอยด เปนที่นาสังเกตวา หลังยุคเพอรเมียน พวกฟูซูลินิด ปะการังพวกรูโกส ไบร โอซัว ฟเน็สเท็ลลิด หอยตะเกียงโพรดักทิด และไทรโลไบท ไดสูญพันธุไปหมดสิ้น ภาพ 3.11 แมลงชนิด Dunbaria fasciipennis
  • 13. 58 ภาพ 3.12 (ก) ฟอแรมมินิเฟอราชนิด Fusulinid ภาพ 3.12 (ข) ฟอแรมมินิเฟอราชนิด Fusulinid ในภาพตัดขวาง ยุคไทรแอสสิก ชื่อยุคมาจากคําวา ไทรแอส (Trias) เนื่องจากที่ภาคใตของประเทศเยอรมนีสามารถจําแนก หินยุคนี้ออกไดเปนสามสวน แตในประเทศอังกฤษเรียกหินยุคนีวา หินทรายแดงใหม ยุคไทรแอสสิกมี ้ ชวงเวลายาว 37 ลานป (จาก 245 ถึง 208 ลานปมาแลว) หินสวนใหญประกอบดวยหินสีแดงและหินเกลือที่ เกิดในสภาวะที่รอนและแหงแลง เชน ในเขตทะเลทราย และหินปูนและหินดินดานที่เกิดในทะเลตื้นและ น้ําอุน ยุคไทรแอสสิกเปนการเริ่มตนยุคใหมของสิ่งมีชีวิต มีสัตวพวกใหมๆ ปรากฏตัวขึ้น มากมาย ทั้งบนบกและในทะเล บนผืนแผนดินมีสภาวะที่ไมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของพืชมากมาย นัก จนกระทังปลายยุคมีตนปรง และเฟรน เจริญเติบโตดี สัตวมีขาเปนปลอง พวกครัสเทเชียนหลายชนิด ่ ปรับตัวอาศัยอยูในสระน้ํา เชน พวกหมัดที่เรียกวา แอสเธอเรีย (Estheria) พวกแมลงปอง พบในทะเลทราย และแมลงตาง ๆ พบในชั้นถานหิน สวนสัตวมกระดูกสันหลังที่อาศัยอยูบนบก มีพวกปลามีปอด ี (Ceratodus) ปลาพวกนี้มดตัวอยูในโคลน และยังคงมีชีวิตอยูไดแมน้ําในแมน้ําหรือทะเลสาปแหงขอดลง ุ  สัตวเลื้อยคลานมีทั้งชนิดและจํานวนเพิ่มมากขึ้น และในตอนปลายยุค สัตวเลื้อยคลายคลายพวกเลียงลูกดวย ้ นม ซึ่งมีมากในตนยุค จะถูกแทนที่ดวยพวกไดโนเสาร นอกจากนียังพบเตา จระเข และริงโคเซฟาเลียน  ้ (rhynchocephalian) กอนสินยุคไทรแอสสิก นี้สัตวเลี้ยงลูกดวยนมเริมปรากฏตัว ้ ่ ในทองทะเล หอยตะเกียงและไครนอยด (Encrinus) ยังพบมากพอควร ปะการัง มีพวกใหม ที่เรียกวา ปะการังหกเหลี่ยม (Hexacorals) ซึ่งยังพบอยูในปจจุบัน หอยสองฝาและหอยโขง เริ่มพบมากขึ้น ในทะเลน้ําตื้น สวนเซฟาโลพอด มีพวกเซอราไททิส (Ceratites) มาก (เปนแอมโมนอยดที่มี Ceratitic suture-line) พวกสัตวมีขาเปนปลองเริ่มมีครัสเทเชียนตัวคลายกุง สวนสัตวมีกระดูกสันหลัง พบพวกตน
  • 14. 59 ภาพ 3.13 สัตวเลื้อยคลานชนิด Icthyosaurs ตระกูลปลากระดูกแข็ง (bony fishes) รวมทั้งปลาที่บินไดจํานวนมาก แตปลาฉลามมีนอยลง เริ่มพบ สัตวเลื้อยคลานกินเนื้อรูปรางคลายปลา (icthyosaurs) ยุคจูแรสซิก ชื่อยุคมากจากคําวา จูรา (Jura) เปนชื่อเทือกเขาซึ่งกั้นเขตประเทศฝรั่งเศสและสวิตเซอร แลนด มีชวงยาวประมาณ 64 ลานป (จาก 208 ถึง 144 ลานปมาแลว) หินยุคนีสวนใหญประกอบดวย ้ หินปูนเม็ด ไขปลา หินดินดานและหินทราย ลักษณะภูมิประเทศในยุคจูแรสซิก เปนเนินเตี้ย ๆ มีทะเลน้ําตื้นคลุมพื้นที่สวนใหญ บนผืน แผนดินมีพืชมากมาย หลายชนิดเชน ตนสน ปรง เฟรน และตนกิงโก (Ginkgo) ยุคนี้บางทีก็เรียกวาเปนยุค ของตนปรง พืชดอกที่แทจริงยังไมปรากฏ พวกแมลงมีพวกแมลงปอ ตั๊กแตน แมลงปกแข็ง และปลวก เปน ตน พวกหอยโขง (Viviparus) มีมากในสระหรือทะเลสาบบางแหง สวนพวกสัตวมีกระดูกสันหลังนัน เริ่มมี ้ พวกกบและอึงอาง สัตวเลื้อยคลานเจริญสูงสุดและมีจํานวนมาก เชน ไดโนเสาร เทอโรซอรที่บินได จระเข ่ และเตา นกตัวแรก (Archaeopteryx) ไดพฒนามาจากสัตวเลื้อยคลานในยุคนี้ สัตวเลื้อยคลานคลายพวกเลี้ยง ั ลูกดวยนม มีแตตัวขนาดเล็ก สัตวเลี้ยงลูกดวยนมมีตัวขนาดเล็กเชนกันและมีจํานวนนอย ่ ในทองทะเลพบพวกพืชมีสาหรายทะเลเนื้อปูน(สาหรายสีแดง)มากในทะเลน้ําตื้นทีใสและ อุน สัตวจาพวกสัตวไรกระดูกสันหลังพวกปะการังหกเหลี่ยมมีมากและมักเกิดเปนเทือกปะการัง และมี ํ สัตวจําพวกหอย ไบรโอซัว และฟองน้าเนื้อปูน เกิดรวมดวย หอยตะเกียงทีพบมากมีอยู 2 พวก ไดแก ํ ่ ทีเรบราทูลิด (terebratulids) พวกมีฝาเรียบ และ ริงโคเนลลิด (rhynchonellids) พวกที่ฝามีซี่ หอยสองฝาที่ เปนพวกใหมไดแก หอยพวกไทรโกเนีย (trigonias) และหอยนางรม แอมโมไนทในยุคจูแรสสิกนี้พบ แพรหลายมาก มีววัฒนาการที่รวดเร็วจึงใชเปนตัวบงอายุของหินในที่ตาง ๆ กันได แอมโมไนทบางชนิด ิ 
  • 15. 60 อาศัยคืบคลานอยูตามพื้นทะเล บางชนิดก็วายไปมาอยูใกลผิวน้ํา พวกเบเล็มไนท (จําพวกปลาหมึก) ก็พบ   มากเหมือนกันในยุคนี้ สัตวพวกไดรนอยดและเอคินอยดพบมากพอสมควรในทะเลน้ําตื้น สวนพวกโอฟอู รอยดพบมากเปนบางแหง ปูพบเปนครั้งแรกในยุคนีนอกจากนี้ ครัสเทเชียน ตัวคลายกุงก็พบมาก สัตวมี ้ กระดูกสันหลังที่อาศัยอยูในทะเล สวนใหญเปนพวกสัตวเลื้อยคลานที่สําคัญมีพวกอิคไธโอซอร (Ichthyosaurs) และเพลซิโอซอร (Plesiosaurs) นอกจากนันก็มพวกปลาที่พบมากเปนปลากระดูกแข็ง ้ ี โบราณ ปลาฉลาม และปลากระเบน เปนตน ภาพ 3.15 ไดโนเสาร Sauropod ชนิด Brachiosaurus ภาพ 3.16 ใบไมชนิด Pterophyllum ภาพ 3.17 ปลาชนิด Sinamia
  • 16. 61 ยุคครีเทเซียส ชื่อยุคมาจากคําละติน ครีทา (Creta) แปลวา หินชอลก ซึ่งเปนหินทีพบมากในชวงปลายยุค ่ มีชวงยาว 78 ลานป (จาก 144 ถึง 66 ลานปมาแลว) หินชอลคสวนใหญประกอบดวยสารปูน (แคลเซียม คารบอเนต) ไดจากเศษชิ้นของพืชขนาดเล็ก (พวกสาหราย) ที่เรียกวา คอคโคลิธ ปะปนอยูกับเศษเปลือก  หอยและฟอแรมมินิเฟอรา เชน โกลบิเจอรินา (Globigerina) เปนตน ชีวิตบนผืนแผนดิน ตอนตนยุคพืชยังคงคลายคลึงกับพวกที่พบในยุคจูแรสสิก คือมีพวก ปรง สน และเฟรน เปนตน กลางยุคเริ่มมีพืชดอก (แองกิโอสเปรม) และในชวงปลายยุคมีพืชกลุมปจจุบัน ปกคลุมอยูทั่วไป พวกสัตวมีกระดูกสันหลัง ไดโนเสารยังคงมีความสําคัญอยู แตสัตวเลี้ยงลูกดวยนมยังมี จํานวนนอย ชีวตในทองทะเลในยุคครีเทเซียส มีมากมายหลายจําพวก ฟองน้ําพบทัวไปในบริเวณน้าตื้น ิ ่ ํ สวนใหญเปนเนื้อปูน สวนพวกซิลิเซียสอยูในน้ําลึกกวา ไบรโอซัวพบมากเปนบางแหงในเขตน้ําตืน  ้ เหมือนกัน หอยตะเกียงพบมากพอสมควรสวนใหญยังคงเปนพวกเทรีบราทูลิดและ ริงโคเนลลิด หอยสอง ฝายังคงพบมากอยู สวนแอมโมไนทพบนอยลงและสูญพันธุใปในปลายยุค เบเล็มไนทก็พบนอยลงเชนกัน และสูญหายไปเกือบหมดเมือสิ้นยุคนี้ อารโทรพอดมีพวกกุงซึ่งพบอยูทั่วไป มีพวกเอไคนอยด ไครนอยด ่ และปลาดาวอยูมาก แตปะการังมีความสําคัญนอยลง พวกสัตวเซลเดียว มีฟอแรมมินิเฟอราและราดิโอ ลาเรียอยูแพรหลาย สวนสัตวมีกระดูกสันหลัง พบปลาจําพวกฉลามและกระเบนที่คลายคลึงกับชนิดปจจุบัน อยูทั่วไป ภาพ 3.18 ไดโนเสาร Theropod ชนิด Torosus ภาพ 3.19 ใบไมของพืชดอกชนิด Banksia
  • 17. 62 ภาพ 3.20 สัตวเลื้อยคลานบินไดชนิด Pterodactylus ยุคเทอเธียรี ยุคนี้ประกอบดวยสมัยพาลีโอซีน อีโอซีน และโอลิโกซีน มีชวงอายุ 38 ลานป (จาก 66 ถึง 28 ลานปมาแลว) ในยุคนี้พบพืชบกโดยทั่วไป สวนใหญเปนพวกที่มีลักษณะคลายพืชปจจุบัน แหลงถาน ลิกไนทที่สําคัญเกิดในสมัยโอลิโกซีน จําพวกสัตวมีกระดูกสันหลังพบปลาฉลามอยูทั่วไป ปลากระดูกแข็ง (ทีลีออสท) เริ่มมีมากขึ้น สัตวเลื้อยคลายมีพวกจระเข เตา เริ่มพบเตาที่อาศัยอยูบนบก พวกนกมีฟนสูญพันธุ  ไป มีนกที่บินไมไดตวขนาดใหญ สัตวเลี้ยงลูกดวยนม ในสมัยยุคพาลีโอซีนมีขนาดเล็ก ในสมัยไมโอซีน ั ตอนกลางและตอนปลายมีขนาดใหญและลักษณะซับซอนขึ้น นอกจากนียังพบสัตวเลี้ยงลูกดวยนมที่อาศัย ้ ิ อยูในน้ํา เชน ปลาวาฬ และวัวทะเล ที่บินไดบนอากาศก็มีเชน คางคาว พวกลิง ซึ่งเกิดมาจากสัตวกนแมลงก็ พบแพรหลาย สัตวไรกระดูกสันหลัง ที่อาศัยอยูในทะเล มีพวกฟอแรมมินิเฟอรามาก (เชน นัมมูไลท) พวกหอยเชน หอยสองฝา หอยโขง ก็พบมาก นอกจากนั้นที่พบอยูทั่วไปก็มพวกอีไคนอยด อารโธรพอด  ี เชน พวกครัสเทเชียน บารนาเคิล ออสทราดอด และแมลงชนิดตาง ๆ หอยตะเกียงพบนอยลงและไมมี ความสําคัญมาก ปะการังพบอยูตามแถบรอน
  • 18. 63 ภาพ 3.21 สัตวเลี้ยงลูกดวยนมชนิด Hyaenodon horridus ภาพ 3.22 ตนตระกูลสัตวเลี้ยงลูกดวยนม ยุคนีโอจีน ยุคนีโอจีนประกอบดวยสมัย ไมโอซีนและไพลโอซีน มีชวงอายุประมาณ 26 ลานป (จาก 28 ถึง 1.6 ลานปมาแลว) พวกพืชใบเลี้ยงคู (แองกิโอสเปรม) เจริญเติบโตดีขนบนผืนแผนดินในยุคนี้ บริเวณทุง ึ้ หญาไดขยายขอบเขตไปกวางขวาง พวกปลากระดูกแข็งมีจํานวนมากและชนิดตาง ๆ กัน พบปลาฉลาม มากเปนพิเศษ พบนกพวกปจจุบันหลายชนิดและมีนกบินไมไดขนาดใหญ พวกสัตวเลี้ยงลูกดวยนมสวน ใหญเปนตระกูลที่พบอยูในปจจุบัน ชางหลายชนิดที่มีตนกําเนิดในอาฟริกาและยังพบในยุโรป เอเชีย และ  อเมริกา นอกจากนี้มีสัตวพวกใหม ๆ เชน กวาง อูฐ แรด หมูยักษ และ พวกมาก็ยังคงมีการวิวฒนาการและ ั ปรับตัวเขากับเขตทุงหญาไดดี มีเสือเขียวโงงยาว เริ่มพบลิงเอฟคลายมนุษยในอาฟริกากลางและยุโรป ใน ้ อาฟริกาใตพบออสทราโลพิธีคุส ซึ่งอาจเปนตนตระกูลของมนุษยปจจุบัน  สัตวไรกระดูกสันหลัง ที่อาศัยอยูในทะเล ยังพบฟอแรมมินิเฟอราอยูมาก แตนัมมูไลท  สูญพันธุไป หอยสองฝามีมากและมีชนิดใหมหลายชนิด รวมทั้งชนิดปจจุบันหลายชนิดดวย หอยโขงก็มี มาก เซฟาโลฟอดมีมากเชน นอทิลอยดและอีไดนอยดพบอยูโดยทัวไป อารโธรพอด เชน ออสทราดอด ่ พบแพรหลายทั่วไป และมีแมลงพวกปจจุบันหลายชนิด เรดิโอลาเรีย พบมากใหกําเนิดหินเนื้อซิลิเซียส มี
  • 19. 64 ไดอะตอม (สาหรายเซลเดียว) เกิดกวางขวางและเปนแหลงดินเบาที่สาคัญ นอกจากนี้ยังมีพวกสาหรายที่ ํ เปนตัวกําเนิดหินปูนที่สําคัญ ภาพ 3.23 ชาง Mastodon ภาพ 3.24 ชาง Moeritherium ยุคควอเทอรนารี ยุคควอเทอรนารี ประกอบดวยสมัยไพลสโตซีนหรือสมัยน้ําแข็ง และโฮโลซีนหรือสมัย หลังน้ําแข็ง (หรือสมัยปจจุบัน) มีชวงอายุ 1.6 ลานปถึง 10,000 ป สวนสมัยโฮโลซีนมีอายุจาก 10,000 ปมา จนถึงปจจุบัน (ค.ศ. 1950) ภาพ 3.25 ชาง Mammoth