SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
คู่มือการพูดสะกดคา ราชบัณฑิตยสถาน 
พยัญชนะ ให้พูดดังนี้ 
ก ไก่ ข ไข่ ฃ ขวด ค ควาย ฅ คน ฆ ระฆัง ง งู จ จาน ฉ ฉิ่ง ช ช้าง ซ โซ่ ฌ เฌอ ญ หญิง ฎ ชฎา ฏ ปฏัก ฐ ฐาน หรือ ฐ สัณฐาน ฑ มณโฑ หรือ ฑ นางมณโฑ ฒ ผู้เฒ่า ณ เณร ด เด็ก ต เต่า ถ ถุง ท ทหาร ธ ธง น หนู บ ใบไม้ ป ปลา ผ ผึ้ง ฝ ฝา พ พาน ฟ ฟัน ภ สาเภา ม ม้า ย ยักษ์ ร เรือ ล ลิง ว แหวน ศ ศาลา ษ ฤาษี ส เสือ ห หีบ ฬ จุฬา อ อ่าง ฮ นกฮูก ฤ ร รึ ฤา ร รือ ฦ ล ลึ ฦา ล ลือ 
สระ ให้พูดดังนี้ 
- ะ สระอะ - า สระอา เ - สระเอ แ - สระแอ โ - สระโอ ใ - สระใอ ไม้ม้วน ไ – สระไอไม้มลาย -ำ สระอา 
รูปสระประสม ซึ่งเกิดจากรูปสระเดี่ยวมาประสมกัน ให้พูดตามรูปสระเดี่ยวที่ปรากฎ ดังนี้ แ-ะ สระแอ สระอะ โ-ะ สระโอ สระอะ เ-าะ สระเอ สระอา สระอะ เ – ียะ สระเอ สระอี ย ยักษ์ สระอะ 
พยัญชนะที่ใช้แทนสระ ให้พูดดังนี้ รร ร หัน 
วรรณยุกต์และเครื่องหมาย ให้พูดดังนี้่ ไม้เอก้ ไม้โท ็ ไม้ไต่คูั้ ไม้หันอากาศ๊ ไม้ตรี๋ ไม้จัตวา ์ การันต์ หรือ ทัณฑฆาต 
- ิ สระอิ - ี สรอี - ึ สระอึ - ื สระอือ
ตัวอย่างการพูดสะกดคา กระเปราะ สะกดว่า ก ไก่ ร เรือ สระอะ สระเอ ป ปลา ร เรือ สระอา สระอะ เคล็ด สะกดว่า สระเอ ค ควาย ล ลิง ไม้ไต่คู้ ด เด็ก แคะไค้ สะกดว่า สระแอ ค ควาย สระอะ สระไอไม้มลาย ค ควาย ไม้โท น้า สะกดว่า น หนู สระอา ไม้โท บรรทัด สะกดว่า บ ใบไม้ ร รหัน ท ทหาร ไม้หันอากาศ ด เด็ก เปาะเปี๊ยะ สะกดว่า สระเอ ป ปลา สระอา สระอะ สระเอ ป ปลา สระอี ไม้ตรี ย ยักษ์ สระอะ ฤกษ์ สะกดว่า ร รึ ก ไก่ ษ ฤาษี การันต์ หรือ ร รึ ก ไก่ ษ ฤษี ทัณฑฆาต 
การอ่านเครื่องหมายแบบต่างๆ 
๑. การอ่านคาหรือข้อความที่มีเครื่องหมายวงเล็บกากับอยู่ เมื่อมีเครื่องหมายวงเล็บเปิด ให้อ่านว่า วงเล็บเปิด และเมื่อเครื่องหมายวงเล็บปิด ให้อ่านว่า วงเล็บปิด เช่น ปวาฬ (แก้วประพาฬ คือ หินแก้วชนิดหนึ่งเกิดจากหินปะการัง) อ่านว่า ปะ – วาน วง – เล็บ – เปิด แก้ว – ประ พาน...หิน – ปะ กา – รัง วง – เล็บ – ปิด 
๒. การอ่านเครื่องหมายอัญประกาศ เมื่อมีเครื่องหมายอัญประกาศเปิด ให้อ่านว่า อัญประกาศเปิด และเมื่อถึงเครื่องหมาย อัญประกาศปิด ให้อ่านว่า อัญประกาศปิด ถ้าข้อความในเครื่องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า และใส่เครื่องหมาย อัญประกาศเปิดทุกย่อหน้า ให้อ่าน อัญประกาศเปิด เฉพาะเริ่มต้นข้อความเท่านั้น และอ่าน อัญประกาศปิด เมื่อจบข้อความ เช่น ครั้งหนึ่งพระพุทธองค์ตรัสว่า “...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กาหนดที่สุดเบื้องต้นปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็น ที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฎ ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่อนไม้ที่บุคคลโยนขึ้นไปในอากาศบางคราวก็ตกลงทางโคน บางคราว ก็ตกลงทางขวาง บางคราวก็ตกลงทางปลาย แม้ฉันใด สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอวิชชาเป็นที่กางกั้น
มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ก็ฉันนั้นแล บางคราวก็จากโลกนี้ไปสู่ปรโลก บางคราวก็จากปรโลกมาสู่โลกนี้ ข้อนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่า สงสารกาหนดที่สุดเบื้องต้นปลาย ไม่ได้” 
อ่านว่า ครั้ง – หนึ่ง – พระ – พุด – ทะ – องค์ – ตรัด – ว่า อัน – ยะ ประ – กาด – เปิด ดู – กอน – พิก –สุ -...เบื้อง – ปลาย – ไม่ – ได้ อัน – ยะ – ประ – กาด – ปิด 
๓. การอ่านเครื่องหมายไม้ยมก หรือ ยมก เครื่องหมายไม้ยมก หรือ ยมก ที่เขียนหลังคา วลี หรือ ประโยค ให้อ่านซ้าคา วลี หรือ ประโยคอีกครั้งหนึ่ง เช่น เด็กเล็กๆ อ่านว่า เด็ก – เล็ก – เล็ก แต่ละวันๆ อ่านว่า แต่ – ละ – วัน – แต่ – ละ – วัน ในวันหนึ่งๆ อ่านว่า ใน – วัน หนึ่ง – วัน – หนึ่ง 
คาที่เป็นคาซ้า ต้องใช้ไม้ยมกเสมอ ให้อ่านซ้าคาอีกครั้งหนึ่ง เช่น สีดาๆ อ่านว่า สี – ดา –ดา เด็กตัวเล็กๆ อ่านว่า เด็ก – ตัว – เล็ก – เล็ก 
๔. การใส่เครื่องหมายไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย เครื่องหมายไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย ใช้ละคาที่รู้จักกันดีอยู่แล้ว โดยละส่วนท้ายเหลือ แต่ส่วนหน้าของคา พอเป็นที่เข้าใจ เวลาอ่านต้องอ่านเต็มคา เช่น กรุงเทพฯ อ่านว่า กรุง – เทบ – มะ – หา – นะ – คอน ทูลเกล้าฯ อ่านว่า ทูน – เกล้า – ทูน – กระ – หม่อม โปรดเกล้าฯ อ่านว่า โปรด – เกล้า – โปรด – กระ – หม่อม ล้นเกล้า อ่านว่า ล้น – เกล้า – ล้น – กระ – หม่อม 
๕. การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ๕.๑ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างท้ายข้อความ ให้อ่านว่า ละ หรือ และอื่นๆ เช่น สิ่งของที่ซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้าตาล น้าปลา ฯลฯ อ่านว่า สิ่ง – ของ – ที่ – ซื้อ – ขาย – กัน - ...น้า – ปลา ละ หรือ สิ่ง – ของ – ที่ – ซื้อ – ขาย – กัน - ...น้า – ปลา – ละ – อื่น – อื่น
๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ อ่านว่า พะ – ยัน – ชะ – นะ – ไท – สี่ – สิบ – สี่ – ตัว มี กอ ละ – ถึง -ฮอ 
๖. การอ่านเครื่องหมายไข่ปลา หรือจุดไข่ปลา เมื่อมีเครื่องหมายไข่ปลา หรือ จุดไข่ปลา ควรหยุดเล็กน้อยก่อน แล้วจึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วหยุดเล็กน้อยก่อนอ่านข้อความต่อไป เช่น ที่เกิดมีภาษาไทย...ก็เพราะแต่ละภาษาสืบต่อภาษาของตนไว้ อ่านว่า ที่ – เกิด – มี – พา – สา – ไท ละ ละ ละ ก็ –เพาะ - แต่ – ละ – พา – สา - สืบ – ต่อ – พา – สา ของ – ตน – ไว้

More Related Content

What's hot

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553Yutthana Sriumnaj
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือusaneetoi
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาkhomAtom
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษTapanee Sumneanglum
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2Kat Suksrikong
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
ใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdfใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdfssuserdd44c01
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานsomdetpittayakom school
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดTasnee Punyothachat
 

What's hot (20)

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
แผ่นพับอ.ตี้
แผ่นพับอ.ตี้แผ่นพับอ.ตี้
แผ่นพับอ.ตี้
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง  ปีการศึกษา 2553
ทะเบียนคุมเงินทุนการศึกษาประเภทไม่ต่อเนื่อง และต่อเนื่อง ปีการศึกษา 2553
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
คำสันธาน
คำสันธานคำสันธาน
คำสันธาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือการเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
การเขียนบรรณานุกรมจากหนังสือ
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลาหนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
หนังสือแจ้งการประชุมฯสมัยสามัญ ๕๔
 
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
ใบความรู้ การเปรียบเทียบพยัญชนะ สระ ภาษาไทบกับภาษาอังกฤษ
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
ใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdfใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdf
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
 
จังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกดจังหวัดกับตัวสะกด
จังหวัดกับตัวสะกด
 
โครงงานโวหาร
โครงงานโวหารโครงงานโวหาร
โครงงานโวหาร
 

Viewers also liked

การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำFrank My-doft
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)Petsa Petsa
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1Mayuree Kung
 
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑Sam Uijoy
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้าข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้าอร ครูสวย
 
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100ทับทิม เจริญตา
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยอภิญญา คำเหลือ
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนUtai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารguest5ccbc6
 

Viewers also liked (19)

การสะกดคำ
การสะกดคำการสะกดคำ
การสะกดคำ
 
คู่มือการพูดสะกดคำ 2
คู่มือการพูดสะกดคำ 2คู่มือการพูดสะกดคำ 2
คู่มือการพูดสะกดคำ 2
 
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
แบบฝึกภาษาไทยป.4 ตำที่มีตัวการันต์ (1)
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๓
 
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
แบบฝึกการอ่านคำที่ประสมกับสระหลายรูปแบบ เล่ม ๑
 
48104437 1 20120122-145528
48104437 1 20120122-14552848104437 1 20120122-145528
48104437 1 20120122-145528
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้าข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
ข้อสอบภาษาอังกฤษปลายภาคหนึ่งทับห้าห้า
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
แบบฝึกการแยกโจทย์ปัญหาบวกลบ100
 
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
โจทย์ปัญหาการบวกลบระคนป.1
 
การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.การเขียนป.5 ชุด1.
การเขียนป.5 ชุด1.
 
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อยภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
ภาษาอังกฤษพื้นฐาน คำกริยาที่ใช้บ่อย
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียนคู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษ เพื่อเตรียมความพร้อมบุคลากรเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1การบวกเลข ป.1
การบวกเลข ป.1
 

Similar to คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน

ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗vp12052499
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทยvp12052499
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2Junior Lahtum
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4Sasiprapha Srisaeng
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549TuochKhim
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตTongsamut vorasan
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิตWataustin Austin
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80Rose Banioki
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังVisanu Euarchukiati
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องsapatchanook
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำkruying pornprasartwittaya
 
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3Namchai Chewawiwat
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 

Similar to คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน (20)

คู่มือการพูดสะกดคำ 2
คู่มือการพูดสะกดคำ 2คู่มือการพูดสะกดคำ 2
คู่มือการพูดสะกดคำ 2
 
ครั้ง๗
ครั้ง๗ครั้ง๗
ครั้ง๗
 
ภาษาไทย
ภาษาไทยภาษาไทย
ภาษาไทย
 
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป.4
 
4 160303102036-161109130549
4 160303102036-1611091305494 160303102036-161109130549
4 160303102036-161109130549
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
1 09+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมาสและตัทธิต
 
บาลี 09 80
บาลี 09 80บาลี 09 80
บาลี 09 80
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
อธิบายสมาส
อธิบายสมาสอธิบายสมาส
อธิบายสมาส
 
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟังอ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
อ่านอย่างไรให้ถูกต้องและน่าฟัง
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
การอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้องการอ่านคำให้ถูกต้อง
การอ่านคำให้ถูกต้อง
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
Principles of Thai Writing and Editing 3 หลักการเขียนและบรรณาธิการ 3
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 

More from Namchai Chewawiwat

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsNamchai Chewawiwat
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Namchai Chewawiwat
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19Namchai Chewawiwat
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusNamchai Chewawiwat
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ Namchai Chewawiwat
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9Namchai Chewawiwat
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ Namchai Chewawiwat
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ Namchai Chewawiwat
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) Namchai Chewawiwat
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO Namchai Chewawiwat
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Namchai Chewawiwat
 

More from Namchai Chewawiwat (20)

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covid
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memory
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirus
 
Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 

คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน

  • 1. คู่มือการพูดสะกดคา ราชบัณฑิตยสถาน พยัญชนะ ให้พูดดังนี้ ก ไก่ ข ไข่ ฃ ขวด ค ควาย ฅ คน ฆ ระฆัง ง งู จ จาน ฉ ฉิ่ง ช ช้าง ซ โซ่ ฌ เฌอ ญ หญิง ฎ ชฎา ฏ ปฏัก ฐ ฐาน หรือ ฐ สัณฐาน ฑ มณโฑ หรือ ฑ นางมณโฑ ฒ ผู้เฒ่า ณ เณร ด เด็ก ต เต่า ถ ถุง ท ทหาร ธ ธง น หนู บ ใบไม้ ป ปลา ผ ผึ้ง ฝ ฝา พ พาน ฟ ฟัน ภ สาเภา ม ม้า ย ยักษ์ ร เรือ ล ลิง ว แหวน ศ ศาลา ษ ฤาษี ส เสือ ห หีบ ฬ จุฬา อ อ่าง ฮ นกฮูก ฤ ร รึ ฤา ร รือ ฦ ล ลึ ฦา ล ลือ สระ ให้พูดดังนี้ - ะ สระอะ - า สระอา เ - สระเอ แ - สระแอ โ - สระโอ ใ - สระใอ ไม้ม้วน ไ – สระไอไม้มลาย -ำ สระอา รูปสระประสม ซึ่งเกิดจากรูปสระเดี่ยวมาประสมกัน ให้พูดตามรูปสระเดี่ยวที่ปรากฎ ดังนี้ แ-ะ สระแอ สระอะ โ-ะ สระโอ สระอะ เ-าะ สระเอ สระอา สระอะ เ – ียะ สระเอ สระอี ย ยักษ์ สระอะ พยัญชนะที่ใช้แทนสระ ให้พูดดังนี้ รร ร หัน วรรณยุกต์และเครื่องหมาย ให้พูดดังนี้่ ไม้เอก้ ไม้โท ็ ไม้ไต่คูั้ ไม้หันอากาศ๊ ไม้ตรี๋ ไม้จัตวา ์ การันต์ หรือ ทัณฑฆาต - ิ สระอิ - ี สรอี - ึ สระอึ - ื สระอือ
  • 2. ตัวอย่างการพูดสะกดคา กระเปราะ สะกดว่า ก ไก่ ร เรือ สระอะ สระเอ ป ปลา ร เรือ สระอา สระอะ เคล็ด สะกดว่า สระเอ ค ควาย ล ลิง ไม้ไต่คู้ ด เด็ก แคะไค้ สะกดว่า สระแอ ค ควาย สระอะ สระไอไม้มลาย ค ควาย ไม้โท น้า สะกดว่า น หนู สระอา ไม้โท บรรทัด สะกดว่า บ ใบไม้ ร รหัน ท ทหาร ไม้หันอากาศ ด เด็ก เปาะเปี๊ยะ สะกดว่า สระเอ ป ปลา สระอา สระอะ สระเอ ป ปลา สระอี ไม้ตรี ย ยักษ์ สระอะ ฤกษ์ สะกดว่า ร รึ ก ไก่ ษ ฤาษี การันต์ หรือ ร รึ ก ไก่ ษ ฤษี ทัณฑฆาต การอ่านเครื่องหมายแบบต่างๆ ๑. การอ่านคาหรือข้อความที่มีเครื่องหมายวงเล็บกากับอยู่ เมื่อมีเครื่องหมายวงเล็บเปิด ให้อ่านว่า วงเล็บเปิด และเมื่อเครื่องหมายวงเล็บปิด ให้อ่านว่า วงเล็บปิด เช่น ปวาฬ (แก้วประพาฬ คือ หินแก้วชนิดหนึ่งเกิดจากหินปะการัง) อ่านว่า ปะ – วาน วง – เล็บ – เปิด แก้ว – ประ พาน...หิน – ปะ กา – รัง วง – เล็บ – ปิด ๒. การอ่านเครื่องหมายอัญประกาศ เมื่อมีเครื่องหมายอัญประกาศเปิด ให้อ่านว่า อัญประกาศเปิด และเมื่อถึงเครื่องหมาย อัญประกาศปิด ให้อ่านว่า อัญประกาศปิด ถ้าข้อความในเครื่องหมายอัญประกาศมีความยาวหลายย่อหน้า และใส่เครื่องหมาย อัญประกาศเปิดทุกย่อหน้า ให้อ่าน อัญประกาศเปิด เฉพาะเริ่มต้นข้อความเท่านั้น และอ่าน อัญประกาศปิด เมื่อจบข้อความ เช่น ครั้งหนึ่งพระพุทธองค์ตรัสว่า “...ดูกรภิกษุทั้งหลาย สงสารนี้กาหนดที่สุดเบื้องต้นปลายไม่ได้ เมื่อเหล่าสัตว์ผู้มีอวิชชาเป็น ที่กางกั้น มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบ ท่องเที่ยวไปมาอยู่ที่สุดเบื้องต้นย่อมไม่ปรากฎ ฯลฯ ดูกรภิกษุทั้งหลาย ท่อนไม้ที่บุคคลโยนขึ้นไปในอากาศบางคราวก็ตกลงทางโคน บางคราว ก็ตกลงทางขวาง บางคราวก็ตกลงทางปลาย แม้ฉันใด สัตว์ทั้งหลายที่เป็นอวิชชาเป็นที่กางกั้น
  • 3. มีตัณหาเป็นเครื่องประกอบไว้ท่องเที่ยวไปมาอยู่ ก็ฉันนั้นแล บางคราวก็จากโลกนี้ไปสู่ปรโลก บางคราวก็จากปรโลกมาสู่โลกนี้ ข้อนั้น เพราะเหตุไร เพราะว่า สงสารกาหนดที่สุดเบื้องต้นปลาย ไม่ได้” อ่านว่า ครั้ง – หนึ่ง – พระ – พุด – ทะ – องค์ – ตรัด – ว่า อัน – ยะ ประ – กาด – เปิด ดู – กอน – พิก –สุ -...เบื้อง – ปลาย – ไม่ – ได้ อัน – ยะ – ประ – กาด – ปิด ๓. การอ่านเครื่องหมายไม้ยมก หรือ ยมก เครื่องหมายไม้ยมก หรือ ยมก ที่เขียนหลังคา วลี หรือ ประโยค ให้อ่านซ้าคา วลี หรือ ประโยคอีกครั้งหนึ่ง เช่น เด็กเล็กๆ อ่านว่า เด็ก – เล็ก – เล็ก แต่ละวันๆ อ่านว่า แต่ – ละ – วัน – แต่ – ละ – วัน ในวันหนึ่งๆ อ่านว่า ใน – วัน หนึ่ง – วัน – หนึ่ง คาที่เป็นคาซ้า ต้องใช้ไม้ยมกเสมอ ให้อ่านซ้าคาอีกครั้งหนึ่ง เช่น สีดาๆ อ่านว่า สี – ดา –ดา เด็กตัวเล็กๆ อ่านว่า เด็ก – ตัว – เล็ก – เล็ก ๔. การใส่เครื่องหมายไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย เครื่องหมายไปยาลน้อย หรือ เปยยาลน้อย ใช้ละคาที่รู้จักกันดีอยู่แล้ว โดยละส่วนท้ายเหลือ แต่ส่วนหน้าของคา พอเป็นที่เข้าใจ เวลาอ่านต้องอ่านเต็มคา เช่น กรุงเทพฯ อ่านว่า กรุง – เทบ – มะ – หา – นะ – คอน ทูลเกล้าฯ อ่านว่า ทูน – เกล้า – ทูน – กระ – หม่อม โปรดเกล้าฯ อ่านว่า โปรด – เกล้า – โปรด – กระ – หม่อม ล้นเกล้า อ่านว่า ล้น – เกล้า – ล้น – กระ – หม่อม ๕. การอ่านเครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ๕.๑ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างท้ายข้อความ ให้อ่านว่า ละ หรือ และอื่นๆ เช่น สิ่งของที่ซื้อขายกันในตลาดมี เนื้อสัตว์ ผัก ผลไม้ น้าตาล น้าปลา ฯลฯ อ่านว่า สิ่ง – ของ – ที่ – ซื้อ – ขาย – กัน - ...น้า – ปลา ละ หรือ สิ่ง – ของ – ที่ – ซื้อ – ขาย – กัน - ...น้า – ปลา – ละ – อื่น – อื่น
  • 4. ๕.๒ เครื่องหมายไปยาลใหญ่ หรือ เปยยาลใหญ่ ที่อยู่ข้างตรงกลางข้อความ อ่านว่า ละถึง เช่น พยัญชนะไทย ๔๔ ตัว มี ก ฯลฯ ฮ อ่านว่า พะ – ยัน – ชะ – นะ – ไท – สี่ – สิบ – สี่ – ตัว มี กอ ละ – ถึง -ฮอ ๖. การอ่านเครื่องหมายไข่ปลา หรือจุดไข่ปลา เมื่อมีเครื่องหมายไข่ปลา หรือ จุดไข่ปลา ควรหยุดเล็กน้อยก่อน แล้วจึงอ่านว่า ละ ละ ละ แล้วหยุดเล็กน้อยก่อนอ่านข้อความต่อไป เช่น ที่เกิดมีภาษาไทย...ก็เพราะแต่ละภาษาสืบต่อภาษาของตนไว้ อ่านว่า ที่ – เกิด – มี – พา – สา – ไท ละ ละ ละ ก็ –เพาะ - แต่ – ละ – พา – สา - สืบ – ต่อ – พา – สา ของ – ตน – ไว้