SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
คาอธิบายรายวิชา
การอํานออกเสียงและการบอกความหมายของคา คาคล๎องจอง ข๎อความและบทร๎อย
กรองงําย ๆ ที่ประกอบด๎วยคาพื้นฐาน รวมทั้งคาที่ใช๎เรียนรู๎ในกลุํมสาระการเรียนรู๎อื่น
ประกอบด๎วยคาที่มีรูปวรรณยุกต์และไมํมีรูปวรรณยุกต์ คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมํ
ตรงตามมาตรา คาที่มีพยัญชนะควบกล้า คาที่มีอักษรนา คาที่มีตัวการันต์ คาที่มี รร คาที่มี
พยัญชนะและสระไมํออกเสียง การอํานจับใจความจากสื่อตําง ๆ เชํน นิทาน เรื่องเลําสั้น บท
เพลงและบทร๎อยกรองงําย ๆ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุํมสาระภาษาไทยและกลุํมสาระการ
เรียนรู๎อื่น ขําวและเหตุการณ์ประจาวัน การอํานหนังสือตามความสนใจอยํางสม่าเสมอและ
นาเสนอเรื่องที่อําน การอํานข๎อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคาสั่งหรือข๎อแนะนา เชํน การ
ใช๎สถานที่สาธารณะ คาแนะนาการใช๎เครื่องใช๎ที่จาเป็นในบ๎านและโรงเรียน มีมารยาทในการ
อําน
สาระที่ ๑ การอ่าน
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช๎กระบวนการอํานสร๎างความรู๎และความคิดเพื่อนาไปใช๎ตัดสินใจ
แก๎ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอําน
สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข๎าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว๎เป็นสมบัติของชาติ
ตัวชี้วัด
ท ๑.๑ ป.๒/๑ อํานออกเสียงคา คาคล๎องจอง ข๎อความและบทร๎อยกรองงําย ๆ ได๎ถูกต๎อง
ท ๔.๑ ป.๒/๒ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
วัตถุประสงค์การเรียนรู้
๑.เข๎าใจความหมายของมาตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา
๒.สามารถจาแนกคาได๎วําอยูํในมาตราตัวสะกดใด
๓.เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะสาระภาษาไทยให๎มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐/๘๐
๔.เพื่อพัฒนาความสามารถในการอํานคาพื้นฐานภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๕.เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
๖.สามารถนาผลที่ได๎จากการเรียนรู๎ไปเพิ่มทักษะด๎านการอํานให๎เกิดประโยชน์ตํอตนเองอยํางรอบด๎าน
ออกแบบหลักการสอน โดยยึดหลังกาเย่ ได้ดังนี้
๑. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน
-สนทนา ซักถามเกี่ยวกับความสาคัญของภาษาไทย
-นักเรียนอํานแผนภูมิบทร๎อยกรองที่ติดไว๎บนกระดาน
-นักเรียนและครูรํวมกันสนทนาเกี่ยวกับคาในมาตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา จากบทร๎อยกรอง
๒. ขั้นสอน
-แบํงกลุํมนักเรียนออกเป็น ๔ กลุํม กลุํมละ ๔ คน โดยให๎นักเรียนเลือกจับกันเองเพื่อความสนุกสนานแกํ
นักเรียน เมื่อเกิดความสนุกสนานก็จะทาให๎เกิดการเรียนรู๎ที่ดี
-แตํละกลุํมรับใบความรู๎เรื่องมาตราตัวสะกดจากครูแล๎วนามาให๎สมาชิกในกลุํมรํวมกันศึกษาใบความรู๎
-ครูอธิบายความรู๎เพิ่มเติมและแนะนาหลักในการทางานกลุํมรํวมกับผู๎อื่น สมาชิกแตํละคนต๎องมีความ
รับผิดชอบในบทบาทหน๎าที่ของตนเอง
-นาบัตรคา คาในมาตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา ให๎นักเรียนฝึกอํานรํวมกันในแตํละกลุํม ได๎แกํ มาก ดวง
วาด จาน รูปภาพ เกม สาย คิ้ว
-นักเรียนแตํละกลุํมรํวมกันอํานบัตรคาจนคลํอง ตัวแทนของกลุํมออกมาอํานที่หน๎าชั้นให๎เพื่อน ๆ ฟัง
-ครูและนักเรียนรํวมกันสนทนาเกี่ยวกับความหมายของคาในบัตรคา
-นักเรียนเขียนคาในบัตรคาใสํสมุด
๓.ขั้นสรุป
-ครูแจกแบบทดสอบการอํานให๎กับนักเรียน เพื่อให๎เกิดความรู๎
-นักเรียนรํวมกันสรุปเนื้อหาจากแบบทดสอบการอําน
-นักเรียนทาแบบทดสอบท๎ายบทเรื่องการอําน
การอ่านมีความสาคัญมาก เป็นเครื่องมือที่สาคัญยิ่งในการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้และพัฒนา
สติปัญญาของคนในสังคม พัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุดในชีวิต
องค์ประกอบในการอําน อาจจะสรุปได๎ดังนี้
๑.องค์ประกอบทางด๎านรํางกาย ได๎แกํ สายตา ปาก หู
๒.องค์ประกอบทางด๎านจิตใจ ได๎แกํ ความต๎องการ ความสนใจ ความศรัทธา
๓.องค์ประกอบทางด๎านสติปัญญา ได๎แกํ ความสามารถในการรับรู๎ ความสามารถในการนา
ประสบการณ์เดิมไปใช๎ ความสามารถในการใช๎ภาษาให๎ถูกต๎อง ความสามารถในการเรียน
๔.องค์ประกอบทางประสบการณ์พื้นฐาน
๕.องค์ประกอบทางวุฒิภาวะ อารมณ์ แรงจูงใจและบุคลิกภาพ
๖.องค์ประกอบทางสิ่งแวดล๎อม
มาตราแม่ กก คือ คาที่มีตัว ก เป็นตัวสะกดหรือพยัญชนะตัวอื่นที่อ่านออกเสียงเหมือน ก
สะกด
นานมาแล๎ว มีเพื่อนเกลอสี่คน ซึ่งแตํละคนมีชื่อวํา กก กบ กน กด เขาทั้งสี่คนตํางมีคาถาประจาตัว และวันนี้
ทั้งสี่คนตํางจะแสดงคาถาของแตํละคน โดยเริ่มจากเกลอกก
เกลอกก : ทํองคาถาวํา ไกํไขํเคาะระฆัง..... ไกํไขํเคาะระฆัง..... ไกํไขํเคาะระฆัง........
เกลอกกทํองคาถาจบ ๓ ครั้ง : มีสิ่งที่ปรากฏ คือ ไกํ “ก” ไขํ “ข” ควาย“ค” ระฆัง “ฆ”
และเมื่อนา ก ข ค ฆ ไปผสมเป็นตัวสะกด จะได๎คาที่ออกเสียง ก สะกด ซึ่งเรียกวํา คาที่มีตัวสะกดใน แม่
กก เชํน มาก เลข โรค เมฆ เห็นไหมทุกคาออกเสียง เหมือน ก สะกด ทั้งๆ ที่ตัวสะกด มีทั้ง ก ข ค และ
ฆ มีเพียง ก ตัวเดียวเทํานั้นที่เสียงตรงมาตรา สํวน ข ค ฆ เสียงไมํตรงมาตรา
ดังนั้นมาตราแมํ กก จึงเป็นมาตราที่มีตัวสะกดที่ไมํตรงมาตราอยูํด๎วย
มาตราแม่ กง คือ คาที่มีตัว ง เป็นตัวสะกด เพียงตัวเดียว เท่านั้น
ตัวอย่างค าในแม่กง
กลาง จูง ดวง มอง ฝูง พัง รําเริง
กางเกง ผึ้ง รุํงสาง โอํง ลิง ช๎าง ยุง
ดารง เพียงพอ สร๎าง สีแดง ร๎องเพลง
บันเทิง กระเบื้อง หลีกเลี่ยง เครื่องบิน หนังสือ
มาตราแม่ กด คือ คาที่มีตัว ด เป็นตัวสะกดหรืพยัญชนะตัวอื่นที่อ่านออกเสียง
เหมือน ด สะกด
ตัวอย่างค าในแม่กด
จ กิจ อาจ ตารวจ ปัจจุบัน ปีศาจ
ช บวช เพชร พืช บงกช ปราชญ์ ราช
ซ ก๏าซ ผ๎ากอซ กรีซ
ฏ ปรากฏ โกฏิ นาฏศิลป์
ฎ กฎ กฎเกณฑ์ กฎหมาย
ฐ รัฐ อิฐ อูฐ เป็นต๎น
มาตราแม่ กน คาที่มีตัว น เป็นตัวสะกดหรือพยัญชนะตัวอื่นที่อ่านออกเสียงเหมือน น
สะกด
นานมาแล๎ว มีเพื่อนเกลอสี่คน ซึ่งแตํละคนมีชื่อวํา กก กบ กน และ กด เขาทั้งสี่คนตํางมีคาถาประจาตัว และ
วันนี้ทั้งสี่คนตํางจะแสดงคาถาของแตํละคน
เกลอกน : ทํองคาถาวํา หนูใหญํเณรรู๎แล๎วจุฬา....หนูใหญํเณรรู๎ แล๎วจุฬา.... หนูใหญํเณรรู๎แล๎วจุฬา......
เกลอกนทํองคาถาจบ ๓ ครั้ง : มีสิ่งที่ปรากฏ คือ หนู“น” ใหญํ“ญ” เณร“ณ” รู๎ “ร” แล๎ว“ล” จุฬา“ฬ”
และเมื่อนา น ญ ณ ร ล ฬ ไปเป็นตัวสะกดจะได๎คาที่ออกเสียงเป็นเสียง น สะกด ซึ่งเรียกวํา คาที่มีตัวสะกด
ในแมํ กน เชํน จาน ขวัญ โบราณ หาร กาล พระกาฬ ทุกคาออกเสียงเหมือน น สะกด ทั้งๆที่ ตัวสะกดมี
ทั้ง น ญ ณ ร ล ฬ มีเพียง น ตัวเดียว เทํานั้นที่เสียงตรงมาตรา สํวน ญ ณ ร ล ฬ เป็นเสียงที่ไมํตรง
มาตรา ดังนั้นมาตราแมํ กน จึงเป็นมาตราที่มีตัวสะกดที่ไมํตรงมาตราอยูํด๎วย
มาตราแม่ กบ คือ คาที่มีตัว บ เป็นตัวสะกด หรือพยัญชนะตัวอื่น ที่อ่านออกเสียงเหมือน
บ สะกด
นานมาแล๎ว มีเพื่อนเกลอสี่คน ซึ่งแตํละคนมีชื่อวํา กก กบ กน และ กด เขาทั้งสี่คนตํางมีคาถาประจาตัว และ
วันนี้ทั้งสี่คนตํางจะแสดงคาถาของแตํละคน
เกลอกบ : ทํองคาถาวํา บ๎านป้าพบฟันสาเภา...........บ๎านป้าพบฟันสาเภา.........บ๎านป้าพบฟันสาเภา...........
เกลอกบทํองคาถาจบ ๓ ครั้ง : มีสิ่งที่ปรากฏ คือ บ๎าน“บ” ป้า“ป” พบ“พ” ฟัน“ฟ” สาเภา“ภ”
และเมื่อนา บ ป พ ฟ ภ ไปเป็นตัวสะกด จะได๎คาที่ออกเสียง เป็นเสียง บ สะกด ซึ่งเรียกวํา คาที่มี
ตัวสะกดในแมํ กบ เชํน จีบ รูปภาพ กราฟ ลาภ ทุกคาออกเสียงเหมือน บ สะกด ทั้งๆ ที่ตัวสะกดมีทั้ง บ
ป พ ฟ ภ มีเพียง บ ตัวเดียว เทํานั้นที่เสียงตรงมาตรา สํวน ป พ ฟ ภ เป็นเสียงไมํตรงมาตรา ดังนั้น มาตรา
แมํ กบ จึงเป็นมาตราที่มีตัวสะกดที่ไมํตรงมาตราอยูํด๎วย
มาตราแม่ กม คือ คาที่มีตัว ม เป็นตัวสะกดเพียง ตัวเดียว เท่านั้น
ตัวอย่างค าในแม่กม
เกม คราม กรรม ยอม นาม ออม ขม
รอมชอม ซุ่ม ธรรมเนียม สะสม อารมณ์
กรม เจ้ากรม เจ้าจอม ปฐม พระนาม
อาศรม กลม ถนอม รื่นรมย์ ภูมิ
มาตรา แม่ เกย คือ คาที่มีตัว ย เป็นตัวสะกดเพียงตัวเดียว เท่านั้น
ตัวอย่างคาในแม่เกย
สาย กล๎วย อธิบาย ชํวย
เป้าหมาย ปุ๋ย ร่ารวย ใบเตย เฉยเมย
ขาย ขยาย บรรยาย นิยาย ทุย
หมามุํย เฉลย หอย น๎อย
มาตราแม่ เกอว คือ คาที่มีตัว ว เป็นตัวสะกด เพียงตัวเดียวเท่านั้น
ตัวอย่างค าในแม่เกอว
จิ๋ว ฉิว เรียว อ่าว คิ้ว เปรี้ยว เคียว ข้าวเหนียว
เจียวไข่ ไปแล้ว นกแก้ว แวววาว ผมยาว กล่าว
เที่ยวลาว แมว หิว ข้าว ดาว นิ้ว แห้ว แมว
แบบทดสอบการอ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
โ ก ง ก า ง เ ป็ น ชื่ อ เ รี ย ก ข อ ง พื ช ช นิ ด ห นึ่ ง ที่ พ บ ม า ก ที่ สุ ด ใ น ป่ า ช า ย เ ล น
ต๎นโกงกางจะมีลักษณะเดํนที่ระบบรากจะมีรากค้ายันออกมาจากบริเวณสํวนโคนของลาต๎นรากนี้มี
ความแข็งแรงมาก ผู๎ที่เดินทางเข๎าไปในป่าชายเลนหากเป็นป่าโกงกางที่ขึ้นอยูํอยํางหนาแนํน
มักจะเลี่ยง การเดินบนดินเลน โดยการเดินไปบนรากของต๎นโกงกางได๎อยํางสบาย ชาวประมง
พื้นบ๎านรู๎จักใช๎เปลือกของโกงกางซึ่งมีรสฝาดมาใช๎ในการย๎อมแห ย๎อมอวน ให๎คงทน
ใบงานที่ ๑ เรื่อง “ ป่าโกงกาง”
คาสั่ง จงเขียนคาอ่านของคาต่อไปนี้
ตัวอย่าง ชายเลนอ่านว่า _____ชาย - เลน_____
๒. ลักษณะ อ่านว่า _________________________________________________
๓. บริเวณ อ่านว่า _________________________________________________
๔. สบาย อ่านว่า _________________________________________________
๕. รส อ่านว่า _________________________________________________
๖. เปลือก อ่านว่า _________________________________________________
๗. โกงกาง อ่านว่า _________________________________________________
๘. แข็งแรง อ่านว่า _________________________________________________
แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๓. คาว่า “กิตติศัพท์” ข้อใดอ่านถูกต้อง
ก. กิ - ตะ - ติ - สับ
ข. กิด - ติ - สับ
ค. กิด - ตะ - ติ - สับ
ง. กิ - ติ – สับ
๔. คาว่า พรรคพวก มีตัวสะกดอยู่ในแม่ใด
ก. แม่เกย
ข. แม่กก
ค. แม่กม
ง. แม่กน
๑. ข้อใดอ่านได้ถูกต้อง
ก. คุณค่า อ่านว่า คุน - นะ – ค่า
ข. มลทิน อ่านว่า มน - ละ - ทิน
ค. ปัถพิน อ่านว่า ปัด - พิน
ง. กลวิธี อ่านว่า กน - วิ – ที
๒. ข้อใดอ่านผิด
ก. บุคคล อ่านว่า บุก - คน
ข. รกชัฏ อ่านว่า รก - ชัด
ค. โทรเลข อ่านว่า โท - ระ - เลก
ง. จักรเย็บผ้า อ่านว่า จัก - เย็บ – ผ้า
แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน (ต่อ)
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๗. ข้อใดอ่านออกเสียงตัวสะกดเหมือนคาว่า ยุค
ก. มุข
ข. คุย
ค. ลุม
ง. กุน
๘. ข้อใดอ่านผิด
ก. ขนม อ่านว่า ขะ – หนม
ข. แผนก อ่านว่า พะ – แนก
ค. จวัก อ่านว่า จะ – หวัก
ง. สนุก อ่านว่า สะ – หนุก
๕. คาในข้อใดมีตัวสะกดอยู่ใน แม่เกอว ทั้งหมด
ก. เต้าเจี้ยว
ข. แพรวพราว
ค. บัวขาว
ง. ดาวเรือง
๖. คาใดมีตัวสะกดต่างจากข้ออื่น
ก. เลข
ข. เสก
ค. เมฆ
ง. เกม
แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน (ต่อ)
คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว
๑๐. ข้อใดควรเติมตัวสะกด ร
ก. พยาบา__
ข. กังวา__
ค. ปลาวา__
ง. ประหา__
๙. พ่อพาพลับกับทิพย์ไปกราบพระที่วัด จากข้อความ มีคาที่มี
ตัวสะกดอยู่ใน แม่กบ กี่คา
ก. ๔ คา
ข. ๖ คา
ค. ๘ คา
ง. ๑๐ คา
เฉลย แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน
๑. ง
๒. ก
๓. ข
๔. ข
๕. ข
๖. ง
๗. ก
๘. ข
๙. ก
๑๐. ง
สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

More Related Content

What's hot

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยbambookruble
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำAunop Nop
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4Chutima Muangmueng
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยkruthai40
 
Kam
KamKam
Kamsa
 
มาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกมาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกchompouou
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำGoy Saranghae
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4Itt Bandhudhara
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5กชนุช คำเวียง
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทยKru Poy
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพพัน พัน
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 

What's hot (20)

การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
อักษรนำ
อักษรนำอักษรนำ
อักษรนำ
 
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสารใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
ใบความรู้การใช้ประโยคเพื่อสื่อสาร
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4แนวข้อสอบ ป.4
แนวข้อสอบ ป.4
 
Brands thai (o net)
Brands thai (o net)Brands thai (o net)
Brands thai (o net)
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
การสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทยการสร้างคำในภาษาไทย
การสร้างคำในภาษาไทย
 
มาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกดมาตราตัวสะกด
มาตราตัวสะกด
 
Kam
KamKam
Kam
 
มาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กกมาตราตัวสะกด แม่กก
มาตราตัวสะกด แม่กก
 
แผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำแผ่นพับอักษรนำ
แผ่นพับอักษรนำ
 
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
แบบฝึกเสริมทักษะ ชุด มาตราตัวสะกด ป4
 
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
แบบฝึกการเขียนสะกดคำ ชั้น ป.5
 
วิจัย ไทย
วิจัย  ไทยวิจัย  ไทย
วิจัย ไทย
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพการแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
การแต่งคำประพันธ์กลอนสุภาพ
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
Korat
KoratKorat
Korat
 

Similar to สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2Sitthisak Thapsri
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิTongsamut vorasan
 
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถานคู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถานNamchai Chewawiwat
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมpong_4548
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5ปวริศา
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)pingpingmum
 

Similar to สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 (20)

หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
01 หน่วย 1
01 หน่วย 101 หน่วย 1
01 หน่วย 1
 
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
รวบรวมลักษณนามหมวด ก แก้ใหม่2
 
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
T006
T006T006
T006
 
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถานคู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
คู่มือการพูดสะกดคำ ราชบัณฑิตยสถาน
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรมวิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
วิเคราะห์หลักสุตรที่ใช้ในการอบรม
 
ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
บทเรียน เรื่อง คำนาม ป.5
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่E book thai 1.pptใหม่
E book thai 1.pptใหม่
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)(การทำข้อสอบ Reading passage)
(การทำข้อสอบ Reading passage)
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 
ร้อยกรอง
ร้อยกรองร้อยกรอง
ร้อยกรอง
 

สื่อการสอน แก้ไขปัญหาการอ่านไม่ออก ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

  • 1.
  • 2. คาอธิบายรายวิชา การอํานออกเสียงและการบอกความหมายของคา คาคล๎องจอง ข๎อความและบทร๎อย กรองงําย ๆ ที่ประกอบด๎วยคาพื้นฐาน รวมทั้งคาที่ใช๎เรียนรู๎ในกลุํมสาระการเรียนรู๎อื่น ประกอบด๎วยคาที่มีรูปวรรณยุกต์และไมํมีรูปวรรณยุกต์ คาที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมํ ตรงตามมาตรา คาที่มีพยัญชนะควบกล้า คาที่มีอักษรนา คาที่มีตัวการันต์ คาที่มี รร คาที่มี พยัญชนะและสระไมํออกเสียง การอํานจับใจความจากสื่อตําง ๆ เชํน นิทาน เรื่องเลําสั้น บท เพลงและบทร๎อยกรองงําย ๆ เรื่องราวจากบทเรียนในกลุํมสาระภาษาไทยและกลุํมสาระการ เรียนรู๎อื่น ขําวและเหตุการณ์ประจาวัน การอํานหนังสือตามความสนใจอยํางสม่าเสมอและ นาเสนอเรื่องที่อําน การอํานข๎อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคาสั่งหรือข๎อแนะนา เชํน การ ใช๎สถานที่สาธารณะ คาแนะนาการใช๎เครื่องใช๎ที่จาเป็นในบ๎านและโรงเรียน มีมารยาทในการ อําน
  • 3. สาระที่ ๑ การอ่าน มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช๎กระบวนการอํานสร๎างความรู๎และความคิดเพื่อนาไปใช๎ตัดสินใจ แก๎ปัญหาในการดาเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอําน สาระที่ ๔ หลักการใช้ภาษาไทย มาตรฐาน ท ๔.๑ เข๎าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษาและรักษาภาษาไทยไว๎เป็นสมบัติของชาติ ตัวชี้วัด ท ๑.๑ ป.๒/๑ อํานออกเสียงคา คาคล๎องจอง ข๎อความและบทร๎อยกรองงําย ๆ ได๎ถูกต๎อง ท ๔.๑ ป.๒/๒ เขียนสะกดคาและบอกความหมายของคา
  • 4. วัตถุประสงค์การเรียนรู้ ๑.เข๎าใจความหมายของมาตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา ๒.สามารถจาแนกคาได๎วําอยูํในมาตราตัวสะกดใด ๓.เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะสาระภาษาไทยให๎มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน ๘๐/๘๐ ๔.เพื่อพัฒนาความสามารถในการอํานคาพื้นฐานภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ๕.เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ๖.สามารถนาผลที่ได๎จากการเรียนรู๎ไปเพิ่มทักษะด๎านการอํานให๎เกิดประโยชน์ตํอตนเองอยํางรอบด๎าน
  • 5. ออกแบบหลักการสอน โดยยึดหลังกาเย่ ได้ดังนี้ ๑. ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน -สนทนา ซักถามเกี่ยวกับความสาคัญของภาษาไทย -นักเรียนอํานแผนภูมิบทร๎อยกรองที่ติดไว๎บนกระดาน -นักเรียนและครูรํวมกันสนทนาเกี่ยวกับคาในมาตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา จากบทร๎อยกรอง
  • 6. ๒. ขั้นสอน -แบํงกลุํมนักเรียนออกเป็น ๔ กลุํม กลุํมละ ๔ คน โดยให๎นักเรียนเลือกจับกันเองเพื่อความสนุกสนานแกํ นักเรียน เมื่อเกิดความสนุกสนานก็จะทาให๎เกิดการเรียนรู๎ที่ดี -แตํละกลุํมรับใบความรู๎เรื่องมาตราตัวสะกดจากครูแล๎วนามาให๎สมาชิกในกลุํมรํวมกันศึกษาใบความรู๎ -ครูอธิบายความรู๎เพิ่มเติมและแนะนาหลักในการทางานกลุํมรํวมกับผู๎อื่น สมาชิกแตํละคนต๎องมีความ รับผิดชอบในบทบาทหน๎าที่ของตนเอง -นาบัตรคา คาในมาตราตัวสะกดทั้ง ๘ มาตรา ให๎นักเรียนฝึกอํานรํวมกันในแตํละกลุํม ได๎แกํ มาก ดวง วาด จาน รูปภาพ เกม สาย คิ้ว -นักเรียนแตํละกลุํมรํวมกันอํานบัตรคาจนคลํอง ตัวแทนของกลุํมออกมาอํานที่หน๎าชั้นให๎เพื่อน ๆ ฟัง -ครูและนักเรียนรํวมกันสนทนาเกี่ยวกับความหมายของคาในบัตรคา -นักเรียนเขียนคาในบัตรคาใสํสมุด
  • 8. การอ่านมีความสาคัญมาก เป็นเครื่องมือที่สาคัญยิ่งในการแสวงหาความรู้ การเรียนรู้และพัฒนา สติปัญญาของคนในสังคม พัฒนาไปสู่สิ่งที่ดีที่สุดในชีวิต องค์ประกอบในการอําน อาจจะสรุปได๎ดังนี้ ๑.องค์ประกอบทางด๎านรํางกาย ได๎แกํ สายตา ปาก หู ๒.องค์ประกอบทางด๎านจิตใจ ได๎แกํ ความต๎องการ ความสนใจ ความศรัทธา ๓.องค์ประกอบทางด๎านสติปัญญา ได๎แกํ ความสามารถในการรับรู๎ ความสามารถในการนา ประสบการณ์เดิมไปใช๎ ความสามารถในการใช๎ภาษาให๎ถูกต๎อง ความสามารถในการเรียน ๔.องค์ประกอบทางประสบการณ์พื้นฐาน ๕.องค์ประกอบทางวุฒิภาวะ อารมณ์ แรงจูงใจและบุคลิกภาพ ๖.องค์ประกอบทางสิ่งแวดล๎อม
  • 9.
  • 10. มาตราแม่ กก คือ คาที่มีตัว ก เป็นตัวสะกดหรือพยัญชนะตัวอื่นที่อ่านออกเสียงเหมือน ก สะกด
  • 11. นานมาแล๎ว มีเพื่อนเกลอสี่คน ซึ่งแตํละคนมีชื่อวํา กก กบ กน กด เขาทั้งสี่คนตํางมีคาถาประจาตัว และวันนี้ ทั้งสี่คนตํางจะแสดงคาถาของแตํละคน โดยเริ่มจากเกลอกก เกลอกก : ทํองคาถาวํา ไกํไขํเคาะระฆัง..... ไกํไขํเคาะระฆัง..... ไกํไขํเคาะระฆัง........ เกลอกกทํองคาถาจบ ๓ ครั้ง : มีสิ่งที่ปรากฏ คือ ไกํ “ก” ไขํ “ข” ควาย“ค” ระฆัง “ฆ” และเมื่อนา ก ข ค ฆ ไปผสมเป็นตัวสะกด จะได๎คาที่ออกเสียง ก สะกด ซึ่งเรียกวํา คาที่มีตัวสะกดใน แม่ กก เชํน มาก เลข โรค เมฆ เห็นไหมทุกคาออกเสียง เหมือน ก สะกด ทั้งๆ ที่ตัวสะกด มีทั้ง ก ข ค และ ฆ มีเพียง ก ตัวเดียวเทํานั้นที่เสียงตรงมาตรา สํวน ข ค ฆ เสียงไมํตรงมาตรา ดังนั้นมาตราแมํ กก จึงเป็นมาตราที่มีตัวสะกดที่ไมํตรงมาตราอยูํด๎วย
  • 12. มาตราแม่ กง คือ คาที่มีตัว ง เป็นตัวสะกด เพียงตัวเดียว เท่านั้น
  • 13. ตัวอย่างค าในแม่กง กลาง จูง ดวง มอง ฝูง พัง รําเริง กางเกง ผึ้ง รุํงสาง โอํง ลิง ช๎าง ยุง ดารง เพียงพอ สร๎าง สีแดง ร๎องเพลง บันเทิง กระเบื้อง หลีกเลี่ยง เครื่องบิน หนังสือ
  • 14. มาตราแม่ กด คือ คาที่มีตัว ด เป็นตัวสะกดหรืพยัญชนะตัวอื่นที่อ่านออกเสียง เหมือน ด สะกด
  • 15. ตัวอย่างค าในแม่กด จ กิจ อาจ ตารวจ ปัจจุบัน ปีศาจ ช บวช เพชร พืช บงกช ปราชญ์ ราช ซ ก๏าซ ผ๎ากอซ กรีซ ฏ ปรากฏ โกฏิ นาฏศิลป์ ฎ กฎ กฎเกณฑ์ กฎหมาย ฐ รัฐ อิฐ อูฐ เป็นต๎น
  • 16. มาตราแม่ กน คาที่มีตัว น เป็นตัวสะกดหรือพยัญชนะตัวอื่นที่อ่านออกเสียงเหมือน น สะกด
  • 17. นานมาแล๎ว มีเพื่อนเกลอสี่คน ซึ่งแตํละคนมีชื่อวํา กก กบ กน และ กด เขาทั้งสี่คนตํางมีคาถาประจาตัว และ วันนี้ทั้งสี่คนตํางจะแสดงคาถาของแตํละคน เกลอกน : ทํองคาถาวํา หนูใหญํเณรรู๎แล๎วจุฬา....หนูใหญํเณรรู๎ แล๎วจุฬา.... หนูใหญํเณรรู๎แล๎วจุฬา...... เกลอกนทํองคาถาจบ ๓ ครั้ง : มีสิ่งที่ปรากฏ คือ หนู“น” ใหญํ“ญ” เณร“ณ” รู๎ “ร” แล๎ว“ล” จุฬา“ฬ” และเมื่อนา น ญ ณ ร ล ฬ ไปเป็นตัวสะกดจะได๎คาที่ออกเสียงเป็นเสียง น สะกด ซึ่งเรียกวํา คาที่มีตัวสะกด ในแมํ กน เชํน จาน ขวัญ โบราณ หาร กาล พระกาฬ ทุกคาออกเสียงเหมือน น สะกด ทั้งๆที่ ตัวสะกดมี ทั้ง น ญ ณ ร ล ฬ มีเพียง น ตัวเดียว เทํานั้นที่เสียงตรงมาตรา สํวน ญ ณ ร ล ฬ เป็นเสียงที่ไมํตรง มาตรา ดังนั้นมาตราแมํ กน จึงเป็นมาตราที่มีตัวสะกดที่ไมํตรงมาตราอยูํด๎วย
  • 18. มาตราแม่ กบ คือ คาที่มีตัว บ เป็นตัวสะกด หรือพยัญชนะตัวอื่น ที่อ่านออกเสียงเหมือน บ สะกด
  • 19. นานมาแล๎ว มีเพื่อนเกลอสี่คน ซึ่งแตํละคนมีชื่อวํา กก กบ กน และ กด เขาทั้งสี่คนตํางมีคาถาประจาตัว และ วันนี้ทั้งสี่คนตํางจะแสดงคาถาของแตํละคน เกลอกบ : ทํองคาถาวํา บ๎านป้าพบฟันสาเภา...........บ๎านป้าพบฟันสาเภา.........บ๎านป้าพบฟันสาเภา........... เกลอกบทํองคาถาจบ ๓ ครั้ง : มีสิ่งที่ปรากฏ คือ บ๎าน“บ” ป้า“ป” พบ“พ” ฟัน“ฟ” สาเภา“ภ” และเมื่อนา บ ป พ ฟ ภ ไปเป็นตัวสะกด จะได๎คาที่ออกเสียง เป็นเสียง บ สะกด ซึ่งเรียกวํา คาที่มี ตัวสะกดในแมํ กบ เชํน จีบ รูปภาพ กราฟ ลาภ ทุกคาออกเสียงเหมือน บ สะกด ทั้งๆ ที่ตัวสะกดมีทั้ง บ ป พ ฟ ภ มีเพียง บ ตัวเดียว เทํานั้นที่เสียงตรงมาตรา สํวน ป พ ฟ ภ เป็นเสียงไมํตรงมาตรา ดังนั้น มาตรา แมํ กบ จึงเป็นมาตราที่มีตัวสะกดที่ไมํตรงมาตราอยูํด๎วย
  • 20. มาตราแม่ กม คือ คาที่มีตัว ม เป็นตัวสะกดเพียง ตัวเดียว เท่านั้น
  • 21. ตัวอย่างค าในแม่กม เกม คราม กรรม ยอม นาม ออม ขม รอมชอม ซุ่ม ธรรมเนียม สะสม อารมณ์ กรม เจ้ากรม เจ้าจอม ปฐม พระนาม อาศรม กลม ถนอม รื่นรมย์ ภูมิ
  • 22. มาตรา แม่ เกย คือ คาที่มีตัว ย เป็นตัวสะกดเพียงตัวเดียว เท่านั้น
  • 23. ตัวอย่างคาในแม่เกย สาย กล๎วย อธิบาย ชํวย เป้าหมาย ปุ๋ย ร่ารวย ใบเตย เฉยเมย ขาย ขยาย บรรยาย นิยาย ทุย หมามุํย เฉลย หอย น๎อย
  • 24. มาตราแม่ เกอว คือ คาที่มีตัว ว เป็นตัวสะกด เพียงตัวเดียวเท่านั้น
  • 25. ตัวอย่างค าในแม่เกอว จิ๋ว ฉิว เรียว อ่าว คิ้ว เปรี้ยว เคียว ข้าวเหนียว เจียวไข่ ไปแล้ว นกแก้ว แวววาว ผมยาว กล่าว เที่ยวลาว แมว หิว ข้าว ดาว นิ้ว แห้ว แมว
  • 26. แบบทดสอบการอ่านกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โ ก ง ก า ง เ ป็ น ชื่ อ เ รี ย ก ข อ ง พื ช ช นิ ด ห นึ่ ง ที่ พ บ ม า ก ที่ สุ ด ใ น ป่ า ช า ย เ ล น ต๎นโกงกางจะมีลักษณะเดํนที่ระบบรากจะมีรากค้ายันออกมาจากบริเวณสํวนโคนของลาต๎นรากนี้มี ความแข็งแรงมาก ผู๎ที่เดินทางเข๎าไปในป่าชายเลนหากเป็นป่าโกงกางที่ขึ้นอยูํอยํางหนาแนํน มักจะเลี่ยง การเดินบนดินเลน โดยการเดินไปบนรากของต๎นโกงกางได๎อยํางสบาย ชาวประมง พื้นบ๎านรู๎จักใช๎เปลือกของโกงกางซึ่งมีรสฝาดมาใช๎ในการย๎อมแห ย๎อมอวน ให๎คงทน
  • 27. ใบงานที่ ๑ เรื่อง “ ป่าโกงกาง” คาสั่ง จงเขียนคาอ่านของคาต่อไปนี้ ตัวอย่าง ชายเลนอ่านว่า _____ชาย - เลน_____ ๒. ลักษณะ อ่านว่า _________________________________________________ ๓. บริเวณ อ่านว่า _________________________________________________ ๔. สบาย อ่านว่า _________________________________________________ ๕. รส อ่านว่า _________________________________________________ ๖. เปลือก อ่านว่า _________________________________________________ ๗. โกงกาง อ่านว่า _________________________________________________ ๘. แข็งแรง อ่านว่า _________________________________________________
  • 28. แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๓. คาว่า “กิตติศัพท์” ข้อใดอ่านถูกต้อง ก. กิ - ตะ - ติ - สับ ข. กิด - ติ - สับ ค. กิด - ตะ - ติ - สับ ง. กิ - ติ – สับ ๔. คาว่า พรรคพวก มีตัวสะกดอยู่ในแม่ใด ก. แม่เกย ข. แม่กก ค. แม่กม ง. แม่กน ๑. ข้อใดอ่านได้ถูกต้อง ก. คุณค่า อ่านว่า คุน - นะ – ค่า ข. มลทิน อ่านว่า มน - ละ - ทิน ค. ปัถพิน อ่านว่า ปัด - พิน ง. กลวิธี อ่านว่า กน - วิ – ที ๒. ข้อใดอ่านผิด ก. บุคคล อ่านว่า บุก - คน ข. รกชัฏ อ่านว่า รก - ชัด ค. โทรเลข อ่านว่า โท - ระ - เลก ง. จักรเย็บผ้า อ่านว่า จัก - เย็บ – ผ้า
  • 29. แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน (ต่อ) คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๗. ข้อใดอ่านออกเสียงตัวสะกดเหมือนคาว่า ยุค ก. มุข ข. คุย ค. ลุม ง. กุน ๘. ข้อใดอ่านผิด ก. ขนม อ่านว่า ขะ – หนม ข. แผนก อ่านว่า พะ – แนก ค. จวัก อ่านว่า จะ – หวัก ง. สนุก อ่านว่า สะ – หนุก ๕. คาในข้อใดมีตัวสะกดอยู่ใน แม่เกอว ทั้งหมด ก. เต้าเจี้ยว ข. แพรวพราว ค. บัวขาว ง. ดาวเรือง ๖. คาใดมีตัวสะกดต่างจากข้ออื่น ก. เลข ข. เสก ค. เมฆ ง. เกม
  • 30. แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน (ต่อ) คาสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกที่สุดเพียงข้อเดียว ๑๐. ข้อใดควรเติมตัวสะกด ร ก. พยาบา__ ข. กังวา__ ค. ปลาวา__ ง. ประหา__ ๙. พ่อพาพลับกับทิพย์ไปกราบพระที่วัด จากข้อความ มีคาที่มี ตัวสะกดอยู่ใน แม่กบ กี่คา ก. ๔ คา ข. ๖ คา ค. ๘ คา ง. ๑๐ คา
  • 31. เฉลย แบบทดสอบท้ายบท เรื่องการอ่าน ๑. ง ๒. ก ๓. ข ๔. ข ๕. ข ๖. ง ๗. ก ๘. ข ๙. ก ๑๐. ง