SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
เนื้อหาตรงตาม หลักสูตร เหมาะ สาหรับน้องๆ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 
คู่มือคน เก่ง 
จัดทาโดย 
นายกิตติศักดิ์ สร้างโสก 
รหัส 563050071563050071--99
Math Book By Kittisak 
คำนำ 
หนังสือเล่มนี้ ผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ได้เรียนรู้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับ เวลา ซึ่งเนื้อหา ภายในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย นาฬิกา, การบอกเวลา, การบอก เวลาโดยใช้จุด, การอ่านและการบันทึกกิจกรรม, การอ่านปฏิทิน, ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา และโจทย์ปัญหา โดยเนื้อหาทั้งหมดนี้ อ้างอิงตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านได้เรียนรู้ เข้าใจ สามารถแก้โจทย์ปัญหา ได้ สามารถทาคะแนนและเกรดได้อย่างดีเยี่ยม 
การอ่านปฏิทิน 
ด้วยความปรารถนาดี 
กิตติศักดิ์ สร้างโสก
Math Book By Kittisak 
สำรบัญ 
เรื่อง หน้า 
 นาฬิกา 5 
 การบอกเวลา 6 
 การบอกเวลาโดยใช้จุด 10 
 การอ่านปฏิทิน 12 
 การอ่านและการบันทึกกิจกรรม 14 
 ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา 15 
 โจทย์ปัญหา 17
เวลา 
นาฬิกา 
การบอกเวลา 
การบอกเวลาโดยใช้จุด 
การอ่านปฏิทิน 
การอ่านและการบันทึก กิจกรรม 
ความสัมพันธ์ของหน่วย เวลา 
โจทย์ปัญหา 
เวลา
นาฬิกา 
นาฬิกาแขวน 
นาฬิกาตั้งโต๊ะ 
นาฬิกาข้อมือ 
นาฬิกาเป็นเครื่องมือที่ใช้บอกเวลา 
นาฬิกาบอกเวลาโดยใช้เข็ม 
นาฬิกาบอกเวลาโดยใช้ตัวเลข
การบอกเวลา 
1 ชั่วโมง มี 60 นาที 
เข็มสั้นเดินไป 1 ช่องใหญ่ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง หรือ 60 นาที 
เข็มยาวเดินไป 12 ช่องใหญ่ หรือ 60 ช่องเล็ก ใช้เวลา 60 นาที 
เข็มสั้นเดินไป 1 ช่องใหญ่ ใช้เวลาเท่ากับ เข็มยาวเดินไป 1 ช่องใหญ่ 
เข็มสั้น บอกเวลาเป็น ชั่วโมง เข็มยาว บอกเวลาเป็น นาที 
กลางวัน 
กลางคืน
1. นักเรียนจงบอกเวลาของนาฬิกาต่อไปนี้ 
กลางวัน 
กลางคืน
(1.) 6 นาฬิกา 
(2.) 8 นาฬิกา 30 นาที 
(3.) 12 นาฬิกา 15 นาที 
(4.) 21 นาฬิกา 25 นาที 
(5.) 22 นาฬิกา 10 นาที 
2. ให้นักเรียนเลือกรูปนาฬิกาให้ตรงกับเวลาที่กาหนดให้
3. ข้อใดต่อไปนี้อ่านเวลาได้ถูกต้อง 
ก. 19 นาฬิกา 
ข. 12 นาฬิกา 35 นาที 
ก. 9 นาฬิกา 10 นาที 
ข. 20 นาฬิกา 50 นาที 
ก. 12 นาฬิกา 
ข. 12 นาฬิกา 12 นาที 
ก. 0 นาฬิกา 50 นาที 
ข. 10 นาฬิกา 5 นาที 
ก. 4 นาฬิกา 35 นาที 
ข. 7 นาฬิกา 20 นาที 
ก. 8 นาฬิกา 25 นาที 
ข. 16 นาฬิกา 40 นาที
การบอกเวลาโดยใช้ 
ตัวเลขที่อยู่หน้าจุดบอกเวลาเป็น นาฬิกา 
ตัวเลขที่อยู่หลังจุดบอกเวลาเป็น นาที 
น. เป็นอักษรย่อของคาว่า นาฬิกา 
8 นาฬิกา 30 นาที เขียนเป็น 8.30 น. 
8.30 น. อ่านว่า แปดนาฬิกาสามสิบนาที 
21 นาฬิกา 5 นาที เขียนเป็น 21.05 น. 
21.05 น. อ่านว่า ยี่สิบเอ็ดนาฬิกาห้านาที 
13 นาฬิกา เขียนเป็น 13.00 น. 
13.00 น. อ่านว่า สิบสามนาฬิกา 
0 นาฬิกา 15 นาที เขียนเป็น 00.15 น. 
00.15 น. อ่านว่า ศูนย์นาฬิกาสิบห้านาที 
การบอกเวลาอาจใช้ 
: แทน . ได้ เช่น 8.30 น.เป็น 8:30 
กลางวัน 
กลางคืน
1. ให้นักเรียนเขียนเวลาต่อไปนี้โดยใช้จุด 
(1.) 12 นาฬิกา 30 นาที (5.) 18 นาฬิกา 50 นาที 
(2.) 9 นาฬิกา 45 นาที (6.) 19 นาฬิกา 
(3.) 22 นาฬิกา (7.) 14 นาฬิกา 20 นาที 
(4.) 8 นาฬิกา 10 นาที (8.) 20 นาฬิกา 5 นาที 
2. ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของเวลาต่อไปนี้ 
(1.) 11.10 น. (4.) 09.05 น. (7.) 10.40 น. 
(2.) 07.00 น. (5.) 21.20 น. (8.) 00.45 น. 
(3.) 16.30 น. (6.) 15.35 น. (9.) 05.15 น. 
3. ให้นักเรียนเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด 
กลางวัน 
กลางคืน 
(1.) เข็มสั้นชี้ตัวเลข 6 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12 
(2.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 11 กับ 12 เข็มยาวชี้ตัวเลข 6 
(3.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 6 กับ 7 เข็มยาวชี้ตัวเลข 9 
(4.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 5 กับ 6 เข็มยาวชี้ตัวเลข 6 
(1.) เข็มสั้นชี้ตัวเลข 10 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12 
(2.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 8 กับ 9 เข็มยาวชี้ตัวเลข 6 
(3.) เข็มสั้นชี้ตัวเลข 12 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12 
(4.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 9 กับ 10 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12
การอ่านปฏิทิน 
ปฏิทิน พ.ศ. 2557 
1. ให้นักเรียนดูปฏิทินแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 
(1.) ปฏิทินนี้เป็นปฏิทินของปีใด 
(2.) เดือนที่มี 30 วัน มีกี่เดือน เดือนอะไรบ้าง 
(3.) เดือนที่มี 31 วัน มีกี่เดือน เดือนอะไรบ้าง 
(4.) ปีนี้เดือนกุมพาพันธ์มีกี่วัน 
(5.) ปีนี้มีทั้งหมดกี่วัน 
(6.) วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันอะไร 
(7.) วันสิ้นปีตรงกับวันอะไร
(1.) ถ้าวันนี้เป็นวันจันทร์ อีก 5 วัน ถัดไปเป็นวันอะไร 
(2.) ถ้าวันนี้เป็นวันอาทิตย์ เมื่อ 2 วันที่ผ่านมาเป็นวันอะไร 
(3.) ถ้าวันเสาร์นี้ตรงกับวันที่ 15 แล้ววันเสาร์หน้าตรงกับวันที่เท่าไร 
(4.) ถ้าวันศุกร์แรกของเดือนตรงกับวันที่ 10 แล้ววันศุกร์ที่สามของเดือนนี้ตรงกับวันที่เท่าไร 
2. จากปฏิทินปีปัจจุบัน วันต่อไปนี้ตรงกับวัน วันที่ และเดือนอะไร 
(1.) วันเด็ก (9.) วันมาฆบูชา 
(2.) วันปิยมหาราช (10.) วันขึ้นปีใหม่ 
(3.) วันจักรี (11.) วันสงกรานต์ 
(4.) วันพืชมงคล (12.) วันอาสาฬหบูชา 
(5.) วันแม่แห่งชาติ (13.) วันรัฐธรรมนูญ 
(6.) วันวิสาขบูชา (14.) วันเข้าพรรษา 
(7.) วันลอยกระทง (15.) วันฉัตรมงคล 
(8.) วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
3. นักเรียนจงตอบคาถามต่อไปนี้ 
ปีที่เดือนกุมพาพันธ์มี 29 วัน เรียกว่า ปีอธิกสุรทิน 
ทุก 4 ปีเดือนกุมพาพันธ์จะมี 29 วัน 
เมื่อ พ.ศ.2555 เดือนกุมพาพันธ์ มี 29 วัน 
เดือนกุมพาพันธ์จะมี 29 วันอีกครั้งในปีใดอีกบ้าง
การอ่านและการบันทึกกิจกรรม 
บันทึกกิจกรรมอง 
ด.ช. กล้า เรียนเก่ง 
วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 
7.00 น. ไปโรงเรียน 
11.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 
17.00 น. ทาการบ้านและอ่านหนังสือ 
20.30 น. เข้านอน 
กิจกรรมที่เด็กชาย กล้า บันทึก เกิดขึ้นเมื่อ วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 
ด.ช. กล้า ไปรางเรียน เวลา 7.00 น. 
ด.ช. กล้า รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 11.30 น. 
ด.ช. กล้า ทาการบ้านและอ่านหนังสือ เวลา 17.00 น. 
ด.ช. กล้า เข้านอน เวลา 20.30 น. 
1. จากข้อมูลที่กาหนดให้นักเรียนตอบคาถามการเดินทางของ ด.ช. มานะ หมั่นงาน 
วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 
7.45 น. รถไฟออกจากสถานีธนบุรี 
8.53 น. รถไฟถึงสถานีนครปฐม 
10.25 น. ถึงสถานีกาญจนบุรี 
12.20 น. ถึงสถานีน้าตก 
วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 
6.45 น. ออกเดินทาง 
9.00 น. ถึงสวนสัตว์เปิดเขาเขียว 
11.45 น. รับประทานอาหารกลางวัน 
13.15 น. ถึงพิพิธภัณฑ์สัตว์น้าบางแสน 
17.00 น. กลับถึงโรงเรียน 
(1.) เหตุการณ์ในบันทึกของ ด.ช. มานะ เกิดขึ้นเมื่อได 
(2.) รถไฟออกจากสถานีธนบุรีเวลาใด 
(3.) เวลา 10.25 น. รถไฟถึงสถานีใด 
(4.) รถไฟถึงสถานีน้าตกเวลาใด 
(1.) ตามกาหนดการณ์นักเรียนจะไปทัศนศึกษาจังหวัดใด เมื่อได 
(2.) รถไฟออกจากสถานีธนบุรีเวลาใด 
(3.) เวลา 10.25 น. รถไฟถึงสถานีใด 
(4.) รถไฟถึงสถานีน้าตกเวลาใด 
2. กาหนดการณ์ไปทัศนศึกษาจังหวัดชลบุรี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 
3. ให้นักเรียนบันทึกกิจกรรมที่ปฏิบัติเมื่อวานนี้
ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา 
มาตราเวลา 
60 นาที เป็น 1 ชั่วโมง 
24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน 
7 วัน เป็น 1 สัปดาห์ 
30 วัน เป็น 1 เดือน 
12 เดือน เป็น 1 ปี 
365 วัน เป็น 1 ปี 
1. ให้นักเรียนเปรียบเทียบเวลาโดยใช้คาว่า “มากกว่า” หรือ “น้อยกว่า” 
(1.) 1 ชั่วโมง กับ 50 นาที (5.) 10 เดือน กับ 1 ปี 
(2.) 12 ชั่วโมง กับ 1 วัน (6.) 3 สัปดาห์ กับ 20 วัน 
(3.) 5 วัน กับ 1 สัปดาห์ (7.) 1 เดือนครึ่ง กับ 40 วัน 
(4.) 1 เดือน กับ 27 วัน (8.) 250 วัน กับ 1 ปี 
เรียงลาดับหน่วยเวลาจากหน่วยย่อยไปหน่วยใหญ่ อย่างไรดีนะ ???? 
ชั่วโมง 
สัปดาห์ 
ปี 
นาที 
เดือน 
วัน
2. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
ตัวอย่างที่ 1 เวลาครึ่งปีเท่ากับกี่เดือน 
แนวคิด 1 ปี เท่ากับ 12 เดือน 
ครึ่งปีจึงเท่ากับ 6 เดือน 
ตอบ 6 เดือน 
ตัวอย่างที่ 2 เวลา 30 ชั่วโมง เท่ากับกี่วัน กับ อีก กี่ชั่วโมง 
แนวคิด 1 วัน เท่ากับ 24 ชั่วโมง 
30 - 24 = 6 หรือ 30 = 24 + 6 
ดังนั้น 30 ชั่วโมง เท่ากับ 1 วัน กับ อีก 6 ชั่วโมง 
ตอบ 1 วัน กับ อีก 6 ชั่วโมง 
(1.) เวลาครึ่งเดือนเท่ากับกี่วัน (8.) เวลา 3 สัปดาห์ 3 วัน เท่ากับกี่วัน 
(2.) เวลา 45 วันเท่ากับกี่เดือนกับอีกกี่วัน (9.) เวลา 400 วัน เท่ากับกี่ปีกี่วัน 
(3.) เวลาครึ่งชั่วโมงเท่ากับกี่นาที (10.) 1 ชั่วโมงครึ่ง เท่ากับกี่นาที 
(4.) เวลา 11 วันเท่ากับกี่สัปดาห์กับอีกกี่วัน (11.) 13 เดือน เท่ากับกี่ปีกี่เดือน 
(5.) เวลา 80 ชั่วโมงเท่ากับกี่วัน กี่ชั่วโมง (12.) 80 นาที เท่ากับกี่ชั่วโมง กี่นาที 
(6.) เวลา 2 วันเท่ากับกี่ชั่วโมง 
(7.) เวลา 2 ปี 10 วัน เท่ากับกี่วัน
โจทย์ปัญหา 
1. ให้นักเรียนแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 
ตัวอย่างที่ แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที และกลับมาทาขนม ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 40 นาที แม่ใช้เวลาไปตลาดและทาขนมนานเท่าใด 
แนวคิด ชั่วโมง นาที 
แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 15 + 
แม่ทาขนมใช้เวลา 1 40 
แม่ใช้ไปตลาดและทาขนมใช้เวลา 2 55 
ตอบ แม่ใช้เวลาไปตลาดและทาขนม 2 ชั่วโมง 55 นาที 
(1.) วันจันทร์มานีไปว่ายน้า 1 ชั่วโมง 10 นาที วันอังคารมานีว่ายน้า 1 ชั่วโมง 30 นาที สองวัน มานีว่ายน้าเป็นเวลาเท่าใด 
(2.) ขณะนี้แป้งอายุ 7 ปี 9 เดือน อีก 2 ปี 2 เดือน แป้งจะอายุเท่าใด 
(3.) คุณพ่ออายุ 58 ปี 8 เดือน คุณแม่อายุ 46 ปี 7 เดือน คุณพ่ออายุมากกว่าคุณแม่เท่าใด 
(4.) อุดมต้องทางาน 6 เดือน 15 วัน เขาทางานไปแล้ว 3 เดือน 10 วัน อุดมต้องทางานต่ออีกกี่วัน 
(5.) เรือแล่นจากกรุงเทพมหานครถึงกรุงศรีอยุธยาใช้เวลา 3 ชั่วโมง 50 นาที ขากลับใช้เวลา น้อยลง 33 นาที ขากลับเรือใช้เวลาแล่นเท่าใด 
(6.) แก้วทางานเสร็จในเวลา 5 สัปดาห์ 6 วัน พรทางานเสร็จในเวลา 4 สัปดาห์ 4 วัน แก้วทางาน เสร็จช้าหรือเร็วกว่าพรเป็นเวลาเท่าใด
2. ให้นักเรียนแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ 
ตัวอย่างที่ 1 รถไฟแล่นจากราชบุรีถึงนครปฐมใช้เวลา 1 ชั่วโมง 25 นาที จาก นครปฐมถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 35 นาที รถไฟแล่นจากราชบุรีถึง กรุงเทพมหานครใช้เวลาเท่าใด 
แนวคิด ชั่วโมง นาที 
จากราชบุรีถึงนครปฐมใช้เวลา 1 25 + 
จากนครปฐมถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 35 
จากราชบุรีถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 1 60 
หรือ 2 00 
ตอบ รถไฟแล่นจากราชบุรีถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 2 ชั่วโมง 
ราชบุรี นครปฐม กรุงเทพมหานคร 
ตัวอย่างที่ 2 รวีทางานเสร็จในเวลา 3 เดือน 15 วัน ประชาทางานเสร็จในเวลา 1 เดือน 25 วัน รวีทางานช้ากว่าหรือเร็วกว่าประชาเป็นเวลาเท่าใด 
แนวคิด เดือน วัน 
รวีทางานเสร็จในเวลา 3 15  
ประชาทางานเสร็จในเวลา 1 25 
รวีทางานช้ากว่าประชาเป็นเวลา 1 20 
ตอบ รวีทางานช้ากว่าประชาเป็นเวลา 1 เดือน 20 วัน 
2 45
(1.) การแข่งขันฟุตบอลครึ่งแรกใช้เวลา 45 นาที ครึ่งหลังใช้เวลาอีก 45 นาที การแข่งขันฟุตบอลใช้เวลากี่ชั่วโมง กี่นาที 
(2.) นพอายุ 8 ปี 4 เดือน นิดอายุ 6 ปี 10 เดือน 
นพอายุมากกว่านิดเท่าใด 
(3.) ชมรมอนุรักษ์ใช้เวลาปลูกป่าที่ภาคเหนือ 1 สัปดาห์ 3 วัน ใช้เวลาปลูกป่าที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 สัปดาห์ 6 วัน ชมรมอนุรักษ์ใช้เวลาปลูกป่าทั้งหมดเท่าใด 
(4.) รถยนต์แล่นจากกรุงเทพมหานครถึงลพบุรีใช้ เวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที รถไฟแล่นจาก กรุงเทพมหานครถึงลพบุรีใช้เวลา 3 ชั่วโมง 5 นาที รถยนต์ใช้เวลามากกว่าหรือน้อยรถไฟเท่าใด 
(5.) ลูกเสืออายุ 4 เดือน 10 วัน ลูกสิงโตเกิดหลัง ลูกเสือ 3 เดือน 15 วัน ลูกสิงโตอายุเท่าใด 
(6.) พี่สาวทางานเป็นเวลา 4 ปี 2 เดือน พี่ชายทางานก่อนพี่สาวเป็นเวลา 1 ปี 10 เดือน พี่ชายทางานเป็นเวลาเท่าใด 
(7.) อุทัยเริ่มทางานเมื่ออายุ 21 ปี 4 เดือน เขา ทางานมาแล้วเป็นเวลา 8 ปี 9 เดือน เดี๋ยวนี้อุทัย อายุเท่าใด 
(8.) อีก 5 เดือน ปรีดาจะอายุครบ 9 ปี พอดี ขณะนี้เขาอายุเท่าใด
หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา

More Related Content

What's hot

แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
Nutsara Mukda
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
phaephae
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
Preecha Yeednoi
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
krupornpana55
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
Kansinee Kosirojhiran
 

What's hot (20)

โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
Final 31201 53
Final 31201 53Final 31201 53
Final 31201 53
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
ใบงานเรื่องปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
 
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
1.แบบฝึกหัดเวกเตอร์
 
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
16 จำนวนจริง ตอนที่3_ทฤษฎีบทตัวประกอบ
 
สรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซตสรุปสูตรเรื่อง เซต
สรุปสูตรเรื่อง เซต
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสีสำนวนไทย พร้อมระบายสี
สำนวนไทย พร้อมระบายสี
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
แบบฝึกหัด อักษรนำ ประถมศึกษาปีที่ 3
 

Similar to หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา

เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
Kobwit Piriyawat
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
Kobwit Piriyawat
 

Similar to หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา (20)

13038713421595
1303871342159513038713421595
13038713421595
 
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยมหนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
หนังสือสื่อการเรียนรู้คณิตศาตาร์ เรื่องทศนิยม
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐานเค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.5 วิทย์พื้นฐาน
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
PPP Model
PPP ModelPPP Model
PPP Model
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
O net 53
O net 53O net 53
O net 53
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แผนการสอน..
แผนการสอน..แผนการสอน..
แผนการสอน..
 
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
Ssr รร 2555
Ssr รร 2555Ssr รร 2555
Ssr รร 2555
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
หลักสูตรแกนกลาง2551(ล่าสุด)
 
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
28 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น ตอนที่2_ตัวหารร่วมมากและตัวคูณร่วมน้อย
 
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
แบบรายงานเพื่อรับการคัดเลือกครูดีเด่นศูนย์วิทยาศาสตร์
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
ตัวอย่าง
ตัวอย่างตัวอย่าง
ตัวอย่าง
 
P93700590745
P93700590745P93700590745
P93700590745
 

หนังสือเล่มเล็ก เรื่อง เวลา

  • 1. เนื้อหาตรงตาม หลักสูตร เหมาะ สาหรับน้องๆ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 คู่มือคน เก่ง จัดทาโดย นายกิตติศักดิ์ สร้างโสก รหัส 563050071563050071--99
  • 2. Math Book By Kittisak คำนำ หนังสือเล่มนี้ ผู้จัดทาได้จัดทาขึ้นเพื่อให้นักเรียนในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ได้เรียนรู้ความรู้ต่างๆเกี่ยวกับ เวลา ซึ่งเนื้อหา ภายในหนังสือเล่มนี้ประกอบด้วย นาฬิกา, การบอกเวลา, การบอก เวลาโดยใช้จุด, การอ่านและการบันทึกกิจกรรม, การอ่านปฏิทิน, ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา และโจทย์ปัญหา โดยเนื้อหาทั้งหมดนี้ อ้างอิงตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือเล่มนี้จะช่วยให้ผู้อ่านได้เรียนรู้ เข้าใจ สามารถแก้โจทย์ปัญหา ได้ สามารถทาคะแนนและเกรดได้อย่างดีเยี่ยม การอ่านปฏิทิน ด้วยความปรารถนาดี กิตติศักดิ์ สร้างโสก
  • 3. Math Book By Kittisak สำรบัญ เรื่อง หน้า  นาฬิกา 5  การบอกเวลา 6  การบอกเวลาโดยใช้จุด 10  การอ่านปฏิทิน 12  การอ่านและการบันทึกกิจกรรม 14  ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา 15  โจทย์ปัญหา 17
  • 4. เวลา นาฬิกา การบอกเวลา การบอกเวลาโดยใช้จุด การอ่านปฏิทิน การอ่านและการบันทึก กิจกรรม ความสัมพันธ์ของหน่วย เวลา โจทย์ปัญหา เวลา
  • 5. นาฬิกา นาฬิกาแขวน นาฬิกาตั้งโต๊ะ นาฬิกาข้อมือ นาฬิกาเป็นเครื่องมือที่ใช้บอกเวลา นาฬิกาบอกเวลาโดยใช้เข็ม นาฬิกาบอกเวลาโดยใช้ตัวเลข
  • 6. การบอกเวลา 1 ชั่วโมง มี 60 นาที เข็มสั้นเดินไป 1 ช่องใหญ่ ใช้เวลา 1 ชั่วโมง หรือ 60 นาที เข็มยาวเดินไป 12 ช่องใหญ่ หรือ 60 ช่องเล็ก ใช้เวลา 60 นาที เข็มสั้นเดินไป 1 ช่องใหญ่ ใช้เวลาเท่ากับ เข็มยาวเดินไป 1 ช่องใหญ่ เข็มสั้น บอกเวลาเป็น ชั่วโมง เข็มยาว บอกเวลาเป็น นาที กลางวัน กลางคืน
  • 8. (1.) 6 นาฬิกา (2.) 8 นาฬิกา 30 นาที (3.) 12 นาฬิกา 15 นาที (4.) 21 นาฬิกา 25 นาที (5.) 22 นาฬิกา 10 นาที 2. ให้นักเรียนเลือกรูปนาฬิกาให้ตรงกับเวลาที่กาหนดให้
  • 9. 3. ข้อใดต่อไปนี้อ่านเวลาได้ถูกต้อง ก. 19 นาฬิกา ข. 12 นาฬิกา 35 นาที ก. 9 นาฬิกา 10 นาที ข. 20 นาฬิกา 50 นาที ก. 12 นาฬิกา ข. 12 นาฬิกา 12 นาที ก. 0 นาฬิกา 50 นาที ข. 10 นาฬิกา 5 นาที ก. 4 นาฬิกา 35 นาที ข. 7 นาฬิกา 20 นาที ก. 8 นาฬิกา 25 นาที ข. 16 นาฬิกา 40 นาที
  • 10. การบอกเวลาโดยใช้ ตัวเลขที่อยู่หน้าจุดบอกเวลาเป็น นาฬิกา ตัวเลขที่อยู่หลังจุดบอกเวลาเป็น นาที น. เป็นอักษรย่อของคาว่า นาฬิกา 8 นาฬิกา 30 นาที เขียนเป็น 8.30 น. 8.30 น. อ่านว่า แปดนาฬิกาสามสิบนาที 21 นาฬิกา 5 นาที เขียนเป็น 21.05 น. 21.05 น. อ่านว่า ยี่สิบเอ็ดนาฬิกาห้านาที 13 นาฬิกา เขียนเป็น 13.00 น. 13.00 น. อ่านว่า สิบสามนาฬิกา 0 นาฬิกา 15 นาที เขียนเป็น 00.15 น. 00.15 น. อ่านว่า ศูนย์นาฬิกาสิบห้านาที การบอกเวลาอาจใช้ : แทน . ได้ เช่น 8.30 น.เป็น 8:30 กลางวัน กลางคืน
  • 11. 1. ให้นักเรียนเขียนเวลาต่อไปนี้โดยใช้จุด (1.) 12 นาฬิกา 30 นาที (5.) 18 นาฬิกา 50 นาที (2.) 9 นาฬิกา 45 นาที (6.) 19 นาฬิกา (3.) 22 นาฬิกา (7.) 14 นาฬิกา 20 นาที (4.) 8 นาฬิกา 10 นาที (8.) 20 นาฬิกา 5 นาที 2. ให้นักเรียนเขียนคาอ่านของเวลาต่อไปนี้ (1.) 11.10 น. (4.) 09.05 น. (7.) 10.40 น. (2.) 07.00 น. (5.) 21.20 น. (8.) 00.45 น. (3.) 16.30 น. (6.) 15.35 น. (9.) 05.15 น. 3. ให้นักเรียนเขียนบอกเวลาโดยใช้จุด กลางวัน กลางคืน (1.) เข็มสั้นชี้ตัวเลข 6 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12 (2.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 11 กับ 12 เข็มยาวชี้ตัวเลข 6 (3.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 6 กับ 7 เข็มยาวชี้ตัวเลข 9 (4.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 5 กับ 6 เข็มยาวชี้ตัวเลข 6 (1.) เข็มสั้นชี้ตัวเลข 10 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12 (2.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 8 กับ 9 เข็มยาวชี้ตัวเลข 6 (3.) เข็มสั้นชี้ตัวเลข 12 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12 (4.) เข็มสั้นชี้ตัวเลขระหว่าง 9 กับ 10 เข็มยาวชี้ตัวเลข 12
  • 12. การอ่านปฏิทิน ปฏิทิน พ.ศ. 2557 1. ให้นักเรียนดูปฏิทินแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ (1.) ปฏิทินนี้เป็นปฏิทินของปีใด (2.) เดือนที่มี 30 วัน มีกี่เดือน เดือนอะไรบ้าง (3.) เดือนที่มี 31 วัน มีกี่เดือน เดือนอะไรบ้าง (4.) ปีนี้เดือนกุมพาพันธ์มีกี่วัน (5.) ปีนี้มีทั้งหมดกี่วัน (6.) วันขึ้นปีใหม่ตรงกับวันอะไร (7.) วันสิ้นปีตรงกับวันอะไร
  • 13. (1.) ถ้าวันนี้เป็นวันจันทร์ อีก 5 วัน ถัดไปเป็นวันอะไร (2.) ถ้าวันนี้เป็นวันอาทิตย์ เมื่อ 2 วันที่ผ่านมาเป็นวันอะไร (3.) ถ้าวันเสาร์นี้ตรงกับวันที่ 15 แล้ววันเสาร์หน้าตรงกับวันที่เท่าไร (4.) ถ้าวันศุกร์แรกของเดือนตรงกับวันที่ 10 แล้ววันศุกร์ที่สามของเดือนนี้ตรงกับวันที่เท่าไร 2. จากปฏิทินปีปัจจุบัน วันต่อไปนี้ตรงกับวัน วันที่ และเดือนอะไร (1.) วันเด็ก (9.) วันมาฆบูชา (2.) วันปิยมหาราช (10.) วันขึ้นปีใหม่ (3.) วันจักรี (11.) วันสงกรานต์ (4.) วันพืชมงคล (12.) วันอาสาฬหบูชา (5.) วันแม่แห่งชาติ (13.) วันรัฐธรรมนูญ (6.) วันวิสาขบูชา (14.) วันเข้าพรรษา (7.) วันลอยกระทง (15.) วันฉัตรมงคล (8.) วันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 3. นักเรียนจงตอบคาถามต่อไปนี้ ปีที่เดือนกุมพาพันธ์มี 29 วัน เรียกว่า ปีอธิกสุรทิน ทุก 4 ปีเดือนกุมพาพันธ์จะมี 29 วัน เมื่อ พ.ศ.2555 เดือนกุมพาพันธ์ มี 29 วัน เดือนกุมพาพันธ์จะมี 29 วันอีกครั้งในปีใดอีกบ้าง
  • 14. การอ่านและการบันทึกกิจกรรม บันทึกกิจกรรมอง ด.ช. กล้า เรียนเก่ง วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 7.00 น. ไปโรงเรียน 11.30 น. รับประทานอาหารกลางวัน 17.00 น. ทาการบ้านและอ่านหนังสือ 20.30 น. เข้านอน กิจกรรมที่เด็กชาย กล้า บันทึก เกิดขึ้นเมื่อ วันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2557 ด.ช. กล้า ไปรางเรียน เวลา 7.00 น. ด.ช. กล้า รับประทานอาหารกลางวัน เวลา 11.30 น. ด.ช. กล้า ทาการบ้านและอ่านหนังสือ เวลา 17.00 น. ด.ช. กล้า เข้านอน เวลา 20.30 น. 1. จากข้อมูลที่กาหนดให้นักเรียนตอบคาถามการเดินทางของ ด.ช. มานะ หมั่นงาน วันศุกร์ที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2557 7.45 น. รถไฟออกจากสถานีธนบุรี 8.53 น. รถไฟถึงสถานีนครปฐม 10.25 น. ถึงสถานีกาญจนบุรี 12.20 น. ถึงสถานีน้าตก วันพุธที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 6.45 น. ออกเดินทาง 9.00 น. ถึงสวนสัตว์เปิดเขาเขียว 11.45 น. รับประทานอาหารกลางวัน 13.15 น. ถึงพิพิธภัณฑ์สัตว์น้าบางแสน 17.00 น. กลับถึงโรงเรียน (1.) เหตุการณ์ในบันทึกของ ด.ช. มานะ เกิดขึ้นเมื่อได (2.) รถไฟออกจากสถานีธนบุรีเวลาใด (3.) เวลา 10.25 น. รถไฟถึงสถานีใด (4.) รถไฟถึงสถานีน้าตกเวลาใด (1.) ตามกาหนดการณ์นักเรียนจะไปทัศนศึกษาจังหวัดใด เมื่อได (2.) รถไฟออกจากสถานีธนบุรีเวลาใด (3.) เวลา 10.25 น. รถไฟถึงสถานีใด (4.) รถไฟถึงสถานีน้าตกเวลาใด 2. กาหนดการณ์ไปทัศนศึกษาจังหวัดชลบุรี ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 3. ให้นักเรียนบันทึกกิจกรรมที่ปฏิบัติเมื่อวานนี้
  • 15. ความสัมพันธ์ของหน่วยเวลา มาตราเวลา 60 นาที เป็น 1 ชั่วโมง 24 ชั่วโมง เป็น 1 วัน 7 วัน เป็น 1 สัปดาห์ 30 วัน เป็น 1 เดือน 12 เดือน เป็น 1 ปี 365 วัน เป็น 1 ปี 1. ให้นักเรียนเปรียบเทียบเวลาโดยใช้คาว่า “มากกว่า” หรือ “น้อยกว่า” (1.) 1 ชั่วโมง กับ 50 นาที (5.) 10 เดือน กับ 1 ปี (2.) 12 ชั่วโมง กับ 1 วัน (6.) 3 สัปดาห์ กับ 20 วัน (3.) 5 วัน กับ 1 สัปดาห์ (7.) 1 เดือนครึ่ง กับ 40 วัน (4.) 1 เดือน กับ 27 วัน (8.) 250 วัน กับ 1 ปี เรียงลาดับหน่วยเวลาจากหน่วยย่อยไปหน่วยใหญ่ อย่างไรดีนะ ???? ชั่วโมง สัปดาห์ ปี นาที เดือน วัน
  • 16. 2. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 เวลาครึ่งปีเท่ากับกี่เดือน แนวคิด 1 ปี เท่ากับ 12 เดือน ครึ่งปีจึงเท่ากับ 6 เดือน ตอบ 6 เดือน ตัวอย่างที่ 2 เวลา 30 ชั่วโมง เท่ากับกี่วัน กับ อีก กี่ชั่วโมง แนวคิด 1 วัน เท่ากับ 24 ชั่วโมง 30 - 24 = 6 หรือ 30 = 24 + 6 ดังนั้น 30 ชั่วโมง เท่ากับ 1 วัน กับ อีก 6 ชั่วโมง ตอบ 1 วัน กับ อีก 6 ชั่วโมง (1.) เวลาครึ่งเดือนเท่ากับกี่วัน (8.) เวลา 3 สัปดาห์ 3 วัน เท่ากับกี่วัน (2.) เวลา 45 วันเท่ากับกี่เดือนกับอีกกี่วัน (9.) เวลา 400 วัน เท่ากับกี่ปีกี่วัน (3.) เวลาครึ่งชั่วโมงเท่ากับกี่นาที (10.) 1 ชั่วโมงครึ่ง เท่ากับกี่นาที (4.) เวลา 11 วันเท่ากับกี่สัปดาห์กับอีกกี่วัน (11.) 13 เดือน เท่ากับกี่ปีกี่เดือน (5.) เวลา 80 ชั่วโมงเท่ากับกี่วัน กี่ชั่วโมง (12.) 80 นาที เท่ากับกี่ชั่วโมง กี่นาที (6.) เวลา 2 วันเท่ากับกี่ชั่วโมง (7.) เวลา 2 ปี 10 วัน เท่ากับกี่วัน
  • 17. โจทย์ปัญหา 1. ให้นักเรียนแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 ชั่วโมง 15 นาที และกลับมาทาขนม ใช้เวลา 1 ชั่วโมง 40 นาที แม่ใช้เวลาไปตลาดและทาขนมนานเท่าใด แนวคิด ชั่วโมง นาที แม่ไปซื้อของที่ตลาดใช้เวลา 1 15 + แม่ทาขนมใช้เวลา 1 40 แม่ใช้ไปตลาดและทาขนมใช้เวลา 2 55 ตอบ แม่ใช้เวลาไปตลาดและทาขนม 2 ชั่วโมง 55 นาที (1.) วันจันทร์มานีไปว่ายน้า 1 ชั่วโมง 10 นาที วันอังคารมานีว่ายน้า 1 ชั่วโมง 30 นาที สองวัน มานีว่ายน้าเป็นเวลาเท่าใด (2.) ขณะนี้แป้งอายุ 7 ปี 9 เดือน อีก 2 ปี 2 เดือน แป้งจะอายุเท่าใด (3.) คุณพ่ออายุ 58 ปี 8 เดือน คุณแม่อายุ 46 ปี 7 เดือน คุณพ่ออายุมากกว่าคุณแม่เท่าใด (4.) อุดมต้องทางาน 6 เดือน 15 วัน เขาทางานไปแล้ว 3 เดือน 10 วัน อุดมต้องทางานต่ออีกกี่วัน (5.) เรือแล่นจากกรุงเทพมหานครถึงกรุงศรีอยุธยาใช้เวลา 3 ชั่วโมง 50 นาที ขากลับใช้เวลา น้อยลง 33 นาที ขากลับเรือใช้เวลาแล่นเท่าใด (6.) แก้วทางานเสร็จในเวลา 5 สัปดาห์ 6 วัน พรทางานเสร็จในเวลา 4 สัปดาห์ 4 วัน แก้วทางาน เสร็จช้าหรือเร็วกว่าพรเป็นเวลาเท่าใด
  • 18. 2. ให้นักเรียนแก้โจทย์ปัญหาต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1 รถไฟแล่นจากราชบุรีถึงนครปฐมใช้เวลา 1 ชั่วโมง 25 นาที จาก นครปฐมถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 35 นาที รถไฟแล่นจากราชบุรีถึง กรุงเทพมหานครใช้เวลาเท่าใด แนวคิด ชั่วโมง นาที จากราชบุรีถึงนครปฐมใช้เวลา 1 25 + จากนครปฐมถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 35 จากราชบุรีถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 1 60 หรือ 2 00 ตอบ รถไฟแล่นจากราชบุรีถึงกรุงเทพมหานครใช้เวลา 2 ชั่วโมง ราชบุรี นครปฐม กรุงเทพมหานคร ตัวอย่างที่ 2 รวีทางานเสร็จในเวลา 3 เดือน 15 วัน ประชาทางานเสร็จในเวลา 1 เดือน 25 วัน รวีทางานช้ากว่าหรือเร็วกว่าประชาเป็นเวลาเท่าใด แนวคิด เดือน วัน รวีทางานเสร็จในเวลา 3 15  ประชาทางานเสร็จในเวลา 1 25 รวีทางานช้ากว่าประชาเป็นเวลา 1 20 ตอบ รวีทางานช้ากว่าประชาเป็นเวลา 1 เดือน 20 วัน 2 45
  • 19. (1.) การแข่งขันฟุตบอลครึ่งแรกใช้เวลา 45 นาที ครึ่งหลังใช้เวลาอีก 45 นาที การแข่งขันฟุตบอลใช้เวลากี่ชั่วโมง กี่นาที (2.) นพอายุ 8 ปี 4 เดือน นิดอายุ 6 ปี 10 เดือน นพอายุมากกว่านิดเท่าใด (3.) ชมรมอนุรักษ์ใช้เวลาปลูกป่าที่ภาคเหนือ 1 สัปดาห์ 3 วัน ใช้เวลาปลูกป่าที่ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ 1 สัปดาห์ 6 วัน ชมรมอนุรักษ์ใช้เวลาปลูกป่าทั้งหมดเท่าใด (4.) รถยนต์แล่นจากกรุงเทพมหานครถึงลพบุรีใช้ เวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที รถไฟแล่นจาก กรุงเทพมหานครถึงลพบุรีใช้เวลา 3 ชั่วโมง 5 นาที รถยนต์ใช้เวลามากกว่าหรือน้อยรถไฟเท่าใด (5.) ลูกเสืออายุ 4 เดือน 10 วัน ลูกสิงโตเกิดหลัง ลูกเสือ 3 เดือน 15 วัน ลูกสิงโตอายุเท่าใด (6.) พี่สาวทางานเป็นเวลา 4 ปี 2 เดือน พี่ชายทางานก่อนพี่สาวเป็นเวลา 1 ปี 10 เดือน พี่ชายทางานเป็นเวลาเท่าใด (7.) อุทัยเริ่มทางานเมื่ออายุ 21 ปี 4 เดือน เขา ทางานมาแล้วเป็นเวลา 8 ปี 9 เดือน เดี๋ยวนี้อุทัย อายุเท่าใด (8.) อีก 5 เดือน ปรีดาจะอายุครบ 9 ปี พอดี ขณะนี้เขาอายุเท่าใด