SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 1/6
เกร็ดหนังสือกําเนดสปีชีส์ิ
ม.มหิดล, 8 ก.พ. 2016
TIMELINE
8 พ.ย. 2007 - ผมเปิด โครงการกาลาปากอส ใน วชาการดอทคอมิ
ชวนคนอ่าน (ครู นักเรียน นศ.) มาช่วยกันแปลหนังสือ Origin คนละประโยค
ผล --> ล้มเหลว ไม่มีใครมาร่วม
ก.พ. 2008 - ไป Lecture ที7 ม.มหิดล (วันเกิด อ.จารุจินต์ นภีตะภัฏ) เจอกับพี7ปูเป้
(ส.) 8 มี.ค. 2008 - ประชุมครั1งที2 1
พี7ปูเป้ (อ.ศศิวิมล) / ชิ>น / น้องซวง (ดร.อุบลศรี) / น้องแจ๋ว (อ.จันทร์เพ็ญ) / น้องเอก น.สพ.เอกชัย เจนวิถี
สุข (สุดท้ายไม่สะดวกเข้าร่วมแปล), ผมแจก CD เนื>อหาหนังสือ : แบ่งเนื>อหาความรับผิดชอบ
17 มี.ค. 2008 - มีลงบทสัมภาษณ์ใน นสพ.กรุงเทพธุรกจิ ว่า
ผมกับเพื7อนๆ กําลังแปลหนังสือเล่มนี>อยู่
(พ.) 10 ธ.ค. 2008 - ประชุมครั>งที7 7 พี7ปูเป้ / พี7ปอม้ / ชิ>น / น้องซวง / น้องแจ๋ว
ชิ>นแจ้งว่า จะมี อ.เอก (อ.เจษฎา) กับ อ.โจ้ (อ.ณัฐพล) มาช่วยแปล ปรับแบ่งเนื>อหาบางส่วนกันใหม่
มีบันทึกการประชุมเฉพาะในคณะผู้แปลอย่างน้อย 9 ฉบับ (น่าจะประชุมมากกว่านี> แต่หลังๆ เป็นการปรับแก้
ในรายละเอียด เลยแก้ในเอกสารการแปลเลย)
17 ก.พ. 2009 - Draft แรกของทุกบทเสร็จ (นับจากเริ7มแบ่งงานครั>งแรกสุด 11 เดือน 9 วัน)
--- ก.พ. 2009 นิตยสาร สารคดี ฉบับพิเศษ ทฤษฎีววัฒนาการิ ---
--- ก.พ. 2012 หนังสือ ชาร์ลส์ ดาร์วน กําเนดแหงชีวตและทฤษฎีววัฒนาการิ ิ ิ ิ่ ---
1 ก.ค. 2010 - ส่งต้นฉบับให้ กอง บก. สนพ.สารคดี ดูเป็นครั>งแรก
24 ส.ค. 2010 - ได้ข้อเสนอแนะ และปญหาที7พั บกลับมาจาก กอง บก. เป็นครั>งแรก (บทที7 1)
26 พ.ค. 2013 - ปรับแก้ตามคําแนะนําของกอง บก. เสร็จสิ>น
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 2/6
16 เม.ย. 2015 - คําปรารถจากคณะผู้แปล ส่งให้ทางกอง บก.
25 มี.ค. 2015 - หนังสือพิมพ์เสร็จ ส่งไปถึง สนพ.สารคดี, ฉบับภาษาไทย พิมพ์ครั>งที7 1 รวม 4,000 เล่ม และ
พิมพ์ซํ>าครั>งที7 2 (3,000 เล่ม) ปลายเดือน พ.ค. ปจจุบัน พิมพ์ครั>งที7ั 3
สรุประยะเวลาในการทํางาน
จากการประชุมครั>งแรก จนได้บทแปล draft แรก - 11 เดือน
ขัดเกลาและปรับแก้ไขกันเองในคณะผู้แปล - 1 ปี 5 เดือน
ปรับแก้ไขกับ บก.สนพ.สารคดี - 2 ปี 10 เดือน
ระยะเวลาจาการประชุมแบ่งงานครั>งแรกจนตีพิมพ์ - 7 ปี 1 เดือน
วธีการทํางานิ
- เนื>อหามาจากเว็บ darwin online เลือกฉบับพิมพ์ครั>งที7 1
- แบ่งกันแปล แต่มีการประชุมทีมแปลเป็นระยะๆ ราวทุก 4-6 สัปดาห์
ส่วนใหญ่เป็นวันหยุด (วันสิ>นปี, วันพ่อ, วันแม่ ฯลฯ)
บางประโยคซึ2งยาว 5-6 บรรทัดใช้เวลาแปลเทากับขนมปังกรอบ่ 2 หอ่ - อ.โจ้
- เพื7อสะดวกในการอ้างอิง มีการใส่ "เลขลําดับยอหน้า่ " ไว้เพื7อการอ้างอิงตลอดทั>งเล่ม
- ชื7อสปีชีส์ ใช้ "ตัวเอียง" ต่างจากต้นฉบับที7ใช้ตัวปกติทั>งหมด
- file : Keywords รวมศัพท์ที7คิดว่าคงเก็บคําศัพท์เดิมในภาษาอังกฤษไว้
แชร์เพื7อให้คนในทีมใช้แบบเดียวกัน, เรียงตามตัวลําดับอักษร, version สุดท้าย มี 30 หน้า, รวมชื7อคน
- file : Wording รวบรวมศัพท์เพื7อสะดวกในการบรรณาธิการและอ้างอิง
มีการเก็บรายละเอียดรวมคําต่างๆ ที7ติดขัด มีข้อสงสัย และอภิปรายกัน รวมทั>งคําที7ได้จากการค้น
เอกสารอ้างอิงและเว็บไวต์ต่างๆ, มี 22 version, v. สุดท้ายมี 17 หน้า
- เลือกไม่ใส่ footnote หรือวงเล็บขยายความ แต่นําไปรวมไว้ในคําปรารถจากคณะผู้แปล
- ประชุมกับบรรณาธิการ 2 หน : หนแรก บก.มาเข้าชมการทํางาน / ครั>งที7 2 - 23 ก.ย. 2010 พูดคุยปญหาั
- ฉบับตีพิมพ์ครั>งแรก มี.ค. 2015
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 3/6
Statistics
บทนํา + 14 บท (บท 1-14)
338 หน้า
151,748 คํา
751,950 ตัวอักษร (ไม่รวมช่องว่าง)
ผมแปล 18.96%
เกร็ดการแปล
- ปัญหาใหญสุดที2เจอ่ คือ ดาร์วินนิยมเขียนโดยใช้ ประโยคที7ยาวมากๆ โดยมีวลีหรือประโยคขยายความที7
ยาวและมีเป็นจํานวนมากตลอดทั>งเล่ม ซึ7ง
- การสะกดคําหลักในหนังสือ
Charles เลือก ชาร์ลส์ แทนที7จะเป็น ชาลส์ (แบบที7ราชบัณฑิตยสถานกําหนด)
species ราชบัณฑิตยสถาน --> สปีชีส์, ชนิด
เลือกใช้ สปีชีส์ และสะกดแบบตัวไม่เอียง (ถือตามต้นต้นฉบับ)
natural selection ใช้การคัดเลือกธรรมชาติ (ผมเสนอ การคัดสรรตามธรรมชาติ แต่แพ้โหวต 4:3 เสียง)
- การเลือกคําแปลให้เข้ากับยุคสมัย
I, me ข้าพเจ้า
Vestiges of Creation รอยนิรมิต (อาจใช้ เนรมิตร หรือ เสก หรือ สร้าง)
- มีคําที7ใกล้เคียง แต่ไม่เทียบเท่าอยู่เยอะ เวลาแปลก็ต้องให้ชัดเจน และแสดงความแตกต่าง เช่น
breeder นักปรับปรุงพันธุ์สัตว์ / นักผสมพันธุ์พืชและสัตว์
gardener คนสวน
agriculturalist นักการเกษตร
horticulturist นักพืชสวน
florist นักเพาะพืชดอก
- บางคําแปลไทย แล้วเหมือนเขียนนิยามให้
plantigrade สัตว์ที7เดินแบบใช้ฝาเท้าและมีส้นเท้าแนบพื>น่
สรุปว่าใช้ สัตว์เลี>ยงลูกด้วยนมที7เดินบนฝาเท้า่
furcula กระดูกหน้าอกรูปสองง่าม
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 4/6
คําศัพท์ลําดับตามอนุกรมวธานิ (สะกดตามราชบัณฑตฯิ )
kingdom อาณาจักร
phylum ไฟลัม
class X ชั>น (พยายามใช้ชั>น แต่ไม่ไหวจริงๆ), คลาส
order อันดับ
family วงศ์
genus, genera สกุล (ชื7อสกุลให้เขียนตัวเอียง)
species สปีชีส์
subspecies ชนิดย่อย [ราชบัณฑิตยสถาน]
คําศัพท์อื2นๆ ที2ใกล้เคียงกับเรื2องการจัดจําแนกอนุกรมวธานิ
breed ให้ใช้สายพันธุ์
พันธุ์, ผสมพันธุ์ [วิทยาศาสตร์]
strain สายเชื>อ, สายพันธุ์ [พฤกษศาสตร์, แพทยศาสตร์]
variety วาไรตี (สุดท้ายใช้ "พันธุ์")
sub-breed สายพันธุ์ย่อย
trait ลักษณะสืบสายพันธุ์ [แพทยศาสตร์]
race ให้ใช้เชื>อชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตามแต่บริบท
เชื>อชาติ [นิติศาสตร์, รัฐศาสตร์, ประชากรศาสตร์]
เผ่าพันธุ์ [พฤกษศาสตร์]
- บางคําต้องเลือกว่าจะแปลอย่างไรดี แปลตรงๆ จะไม่เข้าใจ
systematist นักอนุกรมวิธาน (ไม่ใช่นักระบบ !)
artificial selection การคัดเลือกพันธุ์โดยมนุษย์ (ไม่ใช่การคัดเลือกเทียม)
reversion การย้อนกลับ (ตอนแรกใช้การวกกลับ)
- บางคําก็มีประวัติศาสตร์หรือภูมิศาสตร์มาเกี7ยวข้อง จะเลือกแปลอย่างไรดี
Ceylon ซีลอน
Britain บริเตน
Great Britain บริเตนใหญ่ [อังกฤษ,เวลส์และสก๊อตแลนด์]
- บางคําเริ7มแปลอย่างหนึ7ง แต่พอแปลไปๆ แล้วก็ต้องเปลี7ยน
inhabitant ตอนแรกๆ ใช้ "สิ7งมีชีวิตที7อยู่อาศัย" แต่เปลี7ยนเป็น "ผู้อาศัย" ในที7สุด
class ชั>น --> คลาส
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 5/6
- คําที7เห็นไม่ตรงกัน
adaptive radiation ราชบัณฑิตยสถาน - การแผ่ขยายพันธุ์ (ราชบัณฑิตฯ)
หลวงเจษฎาวิจิตร - การแผ่รัศมีของการปรับตัว
พระประดิษฐ์นําชัย - การแผ่ขยายของการปรับตัว
living fossil ศัพท์บัญญัติใช้ "สิ7งมีชีวิตคงสภาพดึกดําบรรพ์"
ผมเสนอ "ซากดึกดําบรรพ์คงชีพ" (fossil ซากดึกดําบรรพ์)
บันทึก อ.โจ้ >> อย่างวันนี>ก็คุยเรื7องข้อตกลงการใช้คําต่างๆ ฯลฯ ยกตัวอย่างเช่น fossil จะเขียนว่า
ฟอสซิล หรือเขียน ซากดึกดําบรรพ์ (ราชบัณฑิต) หรือซากบรรพชีวิน หรือ...ซากขุดแข็งโคตร (เพราะ fossil
มาจากจากคําว่า fossus แปลว่า have been dug up)
12 เรื2องนาประหลาดใจเกี2ยวกับ่
หนังสือ “กําเนดสปีชีส์ิ ” ของชาร์ลส์ ดาร์วนิ
1. แม้ว่าจะชื7อหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” แต่ดาร์วินไม่ได้ให้ “นิยาม” หรือข้อสรุปไว้ในหนังสือว่า สปีชีส์คืออะไร
2. แม้ว่าดาร์วินตั>งใจให้ “กําเนิดสปีชีส์” เป็นรายงานทางวิทยาศาสตร์ที7คนทั7วไปอ่านเข้าใจได้ และมีการกล่าว
อ้างชื7อบุคคลอยู่บ้าง แต่ดาร์วินไม่ได้ให้รายชื7อ “เอกสารอ้างอิง (references)” หรือ “บรรณานุกรม
(bibliography)” ดังธรรมเนียมที7รายงานทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ทํา
3. แม้ว่าจะมีการกล่าวถึงข้อมูลในตารางอยู่บางแห่ง แต่ดาร์วินก็ไม่ได้ลงตารางใดๆ ไว้ในหนังสือเล่มนี>เลย
4. แม้ว่าหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” จะมีเนื>อหาเกี7ยวกับวิวัฒนาการ แต่ในหนังสือไม่มีคําว่า “วิวัฒนาการ
(evolution)” ปรากฏอยู่เลยและมีคําว่า “การกลายพันธุ์ (mutation หรือ mutations หรือ transmutation)”
ปรากฏอยู่เพียง 7 ครั>งใน 4 บทคือ บทที7 9, 10, 11 และ 14 นอกจากนี>แล้ว คําศัพท์ทั>ง 2 คํายังไม่ปรากฏอยู่ใน
อภิธานศัพท์ (glossary) อีกด้วย
5. แม้ว่าดาร์วินจะไม่เชื7อเรื7อง “พระผู้สร้าง” แต่ในหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” เขาได้ใส่คําไว้ The Creator ไว้ด้วย
ในบทสุดท้าย (บทที7 14) ซึ7งเชื7อกันว่าเป็นความพยายามลดแรงกดดันจากคริสต์ศาสนิกผู้เคร่งครัด (รวมทั>ง
ภรรยาของเขาเองด้วย!)
6. ดาร์วินตั>งใจจะเขียน “กําเนิดสปีชีส์” ในรูปแบบของบทคัดย่อ (abstract) ของหนังสือฉบับสมบูรณ์ (ที7ไม่
เคยทําได้สําเร็จตลอดชีวิต) ความยาวก่อนลงมือเขียนคาดว่าจะอยู่ที7ราว 12 หน้า แต่เมื7อลงมือเขียนแล้ว ข้อมูล
ต่างๆ ที7เขาสะสมมาถึง 20 ปีทําให้หนังสือมีความยาวเพิ7มขึ>นๆ จนมีความยาวกว่า 500 หน้า เขาตั>งใจจะใช้คํา
ว่า “บทคัดย่อ” ในชื7อหนังสือด้วย แต่จอห์น เมอร์เรย์ ที7เป็นผู้จัดพิมพ์เกลี>ยกล่อมจนเขายอมดึงคําดังกล่าวออก
ในที7สุด
ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 6/6
7. ดาร์วินใช้เวลาเร่งเขียนหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” จนจบใน 10 เดือน แต่เมื7อเขาอ่านทานต้นฉบับที7ผ่านการ
พิสูจน์อักษรแล้ว เขาเองถึงกับตกใจกับสํานวนที7แข็งกระด้างและ “ยากที7จะอ่านเข้าใจและไม่ติดขัด” จนในที7สุด
เขาต้องยอมควักกระเปาเป็นค่าใช้จ่ายกับการแก้ไขต้นฉบับ เพราะทําให้ต้องมีการเรียงตัวพิมพ์ใหม่๋
8. ชื7อเต็มของหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” ในการพิมพ์ครั>งแรกปี ค.ศ. 1859 ยาวมากคือ “ว่าด้วยกําเนิดสปีชีส์ด้วย
วิธีการคัดเลือกตามธรรมชาติ หรือการดํารงไว้ซึ7งสายพันธุ์ที7เหมาะสมกว่าในการต่อสู้เพื7อมีชีวิตอยู่ (On the
Origin of Species by Means of Natural Selection, or the Preservation of Favored Races in the
Struggle for Life)”
9. ภายหลังการตีพิมพ์หนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” ครั>งแรก มีการตีพิมพ์หนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” ซํ>าอีกรวมทั>งหม
6 ครั>งตลอดชีวิตของดาร์วิน มียอดขายรวมราว 25,000 เล่ม (ฉบับพิมพ์ครั>งที7 6 ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1872 หรือ
สิบปีก่อนเขาเสียชีวิตจากหัวใจล้มเหลวในวัย 73 ปี) และทุกครั>งที7พิมพ์ใหม่มีการแก้ไขเพิ7มเติมเนื>อหาต่างๆ
โดยผู้เขียน
10. มีหลักฐานว่าต้นฉบับส่วนหนึ7งที7เขาตั>งใจไว้ว่าจะรวมในฉบับสมบูรณ์ของหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” นั>น ต่อมา
เขาดัดแปลงไปเป็นหนังสือเกี7ยวกับการแปรผันที7เกิดขึ>นในสัตว์เลี>ยง ส่วนอีกแปดบทครึ7งนั>น ไม่เคยมีใครได้พบ
เห็นอยู่นาน จนนักวิชาการชื7อ อาร์. ซี. สตอฟเฟอร์ ไปพบเข้าและนํามาเรียบเรียงใหม่เพื7อตีพิมพ์เป็นหนังสือ
ใหม่ได้ทั>งเล่มในชื7อ “การคัดสรรตามธรรมชาติของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin’s Natural Selection)”
11. มีรายงานใน ค.ศ. 1977 ว่า มีฉบับพิมพ์ที7แตกต่างกันของ “กําเนิดสปีชีส์” อยู่อย่างน้อยถึง 425 ฉบับใน
ขณะนั>น (ไม่นับรวมการตีพิมพ์ซํ>าของแต่ละฉบับพิมพ์) ซึ7งรวมทั>งฉบับภาษาญี7ปุน่ (15 สํานวน) ภาษาเกาหลี
(4 สํานวน) ภาษาฮังการี (4 สํานวน) ภาษาฮีบรู ภาษาโรมาเนีย และภาษาลัทเวีย อีกอย่างละ 2 สํานวน แต่ยัง
ไม่เคยมีฉบับสํานวนไทยเลยแม้แต่สํานวนเดียว
12. หนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” เป็นผลงานที7ต่างจากผลงานการคิดค้นของยอดนักคิดนักวิทยาศาสตร์ท่านอื7นๆ
มาก (เช่น กาลิเลโอ นิวตัน และไอน์สไตน์) เพราะเป็นหนังสือที7คนธรรมดาสามัญก็อาจอ่านทําความเข้าใจได้
และอันที7จริงแล้ว หนังสือเล่มนี>ฉบับพิมพ์ครั>งที7 1 นั>นจําหน่ายหมดในวันแรกที7เปิดจําหน่ายเลยด้วยซํ>า

More Related Content

Viewers also liked

IS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดIS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิด
oil_intira
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
kasetpcc
 
Colleges Ontario_PPT - IT Carlow versio
Colleges Ontario_PPT - IT Carlow versioColleges Ontario_PPT - IT Carlow versio
Colleges Ontario_PPT - IT Carlow versio
Eoin O'Brien
 
Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...
Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...
Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...
Christopher McCleary
 
엘로우카지노 블랙잭게임
엘로우카지노 블랙잭게임엘로우카지노 블랙잭게임
엘로우카지노 블랙잭게임
iwudhfis
 

Viewers also liked (17)

ใบความรู้+การฝึกปฏิบัติทำโครงการวิทยาศาสตร์+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 exam
 ใบความรู้+การฝึกปฏิบัติทำโครงการวิทยาศาสตร์+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 exam ใบความรู้+การฝึกปฏิบัติทำโครงการวิทยาศาสตร์+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 exam
ใบความรู้+การฝึกปฏิบัติทำโครงการวิทยาศาสตร์+ป.5+273+dltvscip5+P4 6 exam
 
IS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดIS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิด
 
บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง บรรณานุกรม ปรับปรุง
บรรณานุกรม ปรับปรุง
 
190071010142559is
190071010142559is190071010142559is
190071010142559is
 
Colleges Ontario_PPT - IT Carlow versio
Colleges Ontario_PPT - IT Carlow versioColleges Ontario_PPT - IT Carlow versio
Colleges Ontario_PPT - IT Carlow versio
 
Suggerimenti per E-commerce
Suggerimenti per E-commerceSuggerimenti per E-commerce
Suggerimenti per E-commerce
 
Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...
Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...
Advice polled from a number of friends in different businesses and with diffe...
 
Book promotion strategies - un case study
Book promotion strategies - un case studyBook promotion strategies - un case study
Book promotion strategies - un case study
 
Estructura organizacional
Estructura organizacionalEstructura organizacional
Estructura organizacional
 
엘로우카지노 블랙잭게임
엘로우카지노 블랙잭게임엘로우카지노 블랙잭게임
엘로우카지노 블랙잭게임
 
ENJ-500: Taller cultura y clima organizacional
ENJ-500: Taller cultura y clima organizacionalENJ-500: Taller cultura y clima organizacional
ENJ-500: Taller cultura y clima organizacional
 
Pubblicità sui Social Netorks
Pubblicità sui Social NetorksPubblicità sui Social Netorks
Pubblicità sui Social Netorks
 
Setting Up Windows for Systems and Application Monitoring
Setting Up Windows for Systems and Application MonitoringSetting Up Windows for Systems and Application Monitoring
Setting Up Windows for Systems and Application Monitoring
 
Tutorial neurociencias en el aula docentes
Tutorial neurociencias en el aula docentesTutorial neurociencias en el aula docentes
Tutorial neurociencias en el aula docentes
 
Defcon 22-tim-mcguffin-one-man-shop
Defcon 22-tim-mcguffin-one-man-shopDefcon 22-tim-mcguffin-one-man-shop
Defcon 22-tim-mcguffin-one-man-shop
 
Web analytics Dashboard 2015
Web analytics Dashboard 2015Web analytics Dashboard 2015
Web analytics Dashboard 2015
 
Linkedin for-branding-business
Linkedin for-branding-businessLinkedin for-branding-business
Linkedin for-branding-business
 

Similar to กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์

Similar to กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ (8)

1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
1 07+อธิบายบาลีไวยากรณ์+สมัญญาภิธานและสนธิ
 
Bibliography language
Bibliography languageBibliography language
Bibliography language
 
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
ไวยากรณ์ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น ต้อนรับ AEC [Grammar]
 
Number 1
Number 1Number 1
Number 1
 
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdateการเขียนบรรณานุกรมFulupdate
การเขียนบรรณานุกรมFulupdate
 
บทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessivesบทที่ 5 pronous and possessives
บทที่ 5 pronous and possessives
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
Gram
GramGram
Gram
 

More from Namchai Chewawiwat

รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
Namchai Chewawiwat
 

More from Namchai Chewawiwat (20)

Podcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covidPodcast ep006-spanish flu v covid
Podcast ep006-spanish flu v covid
 
Podcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memoryPodcast ep005-flashbulb memory
Podcast ep005-flashbulb memory
 
Podcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid testPodcast ep004-covid rapid test
Podcast ep004-covid rapid test
 
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and DrugsPodcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
Podcast ep002-Covid Vaccines and Drugs
 
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
Podcast ep001-covid: natural or engineerd?
 
WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19WHO China Joint Mission on Covid-19
WHO China Joint Mission on Covid-19
 
Basic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirusBasic protective measures against the new coronavirus
Basic protective measures against the new coronavirus
 
Emerging diseases
Emerging diseasesEmerging diseases
Emerging diseases
 
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึก...
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
 

กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์

  • 1. ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 1/6 เกร็ดหนังสือกําเนดสปีชีส์ิ ม.มหิดล, 8 ก.พ. 2016 TIMELINE 8 พ.ย. 2007 - ผมเปิด โครงการกาลาปากอส ใน วชาการดอทคอมิ ชวนคนอ่าน (ครู นักเรียน นศ.) มาช่วยกันแปลหนังสือ Origin คนละประโยค ผล --> ล้มเหลว ไม่มีใครมาร่วม ก.พ. 2008 - ไป Lecture ที7 ม.มหิดล (วันเกิด อ.จารุจินต์ นภีตะภัฏ) เจอกับพี7ปูเป้ (ส.) 8 มี.ค. 2008 - ประชุมครั1งที2 1 พี7ปูเป้ (อ.ศศิวิมล) / ชิ>น / น้องซวง (ดร.อุบลศรี) / น้องแจ๋ว (อ.จันทร์เพ็ญ) / น้องเอก น.สพ.เอกชัย เจนวิถี สุข (สุดท้ายไม่สะดวกเข้าร่วมแปล), ผมแจก CD เนื>อหาหนังสือ : แบ่งเนื>อหาความรับผิดชอบ 17 มี.ค. 2008 - มีลงบทสัมภาษณ์ใน นสพ.กรุงเทพธุรกจิ ว่า ผมกับเพื7อนๆ กําลังแปลหนังสือเล่มนี>อยู่ (พ.) 10 ธ.ค. 2008 - ประชุมครั>งที7 7 พี7ปูเป้ / พี7ปอม้ / ชิ>น / น้องซวง / น้องแจ๋ว ชิ>นแจ้งว่า จะมี อ.เอก (อ.เจษฎา) กับ อ.โจ้ (อ.ณัฐพล) มาช่วยแปล ปรับแบ่งเนื>อหาบางส่วนกันใหม่ มีบันทึกการประชุมเฉพาะในคณะผู้แปลอย่างน้อย 9 ฉบับ (น่าจะประชุมมากกว่านี> แต่หลังๆ เป็นการปรับแก้ ในรายละเอียด เลยแก้ในเอกสารการแปลเลย) 17 ก.พ. 2009 - Draft แรกของทุกบทเสร็จ (นับจากเริ7มแบ่งงานครั>งแรกสุด 11 เดือน 9 วัน) --- ก.พ. 2009 นิตยสาร สารคดี ฉบับพิเศษ ทฤษฎีววัฒนาการิ --- --- ก.พ. 2012 หนังสือ ชาร์ลส์ ดาร์วน กําเนดแหงชีวตและทฤษฎีววัฒนาการิ ิ ิ ิ่ --- 1 ก.ค. 2010 - ส่งต้นฉบับให้ กอง บก. สนพ.สารคดี ดูเป็นครั>งแรก 24 ส.ค. 2010 - ได้ข้อเสนอแนะ และปญหาที7พั บกลับมาจาก กอง บก. เป็นครั>งแรก (บทที7 1) 26 พ.ค. 2013 - ปรับแก้ตามคําแนะนําของกอง บก. เสร็จสิ>น
  • 2. ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 2/6 16 เม.ย. 2015 - คําปรารถจากคณะผู้แปล ส่งให้ทางกอง บก. 25 มี.ค. 2015 - หนังสือพิมพ์เสร็จ ส่งไปถึง สนพ.สารคดี, ฉบับภาษาไทย พิมพ์ครั>งที7 1 รวม 4,000 เล่ม และ พิมพ์ซํ>าครั>งที7 2 (3,000 เล่ม) ปลายเดือน พ.ค. ปจจุบัน พิมพ์ครั>งที7ั 3 สรุประยะเวลาในการทํางาน จากการประชุมครั>งแรก จนได้บทแปล draft แรก - 11 เดือน ขัดเกลาและปรับแก้ไขกันเองในคณะผู้แปล - 1 ปี 5 เดือน ปรับแก้ไขกับ บก.สนพ.สารคดี - 2 ปี 10 เดือน ระยะเวลาจาการประชุมแบ่งงานครั>งแรกจนตีพิมพ์ - 7 ปี 1 เดือน วธีการทํางานิ - เนื>อหามาจากเว็บ darwin online เลือกฉบับพิมพ์ครั>งที7 1 - แบ่งกันแปล แต่มีการประชุมทีมแปลเป็นระยะๆ ราวทุก 4-6 สัปดาห์ ส่วนใหญ่เป็นวันหยุด (วันสิ>นปี, วันพ่อ, วันแม่ ฯลฯ) บางประโยคซึ2งยาว 5-6 บรรทัดใช้เวลาแปลเทากับขนมปังกรอบ่ 2 หอ่ - อ.โจ้ - เพื7อสะดวกในการอ้างอิง มีการใส่ "เลขลําดับยอหน้า่ " ไว้เพื7อการอ้างอิงตลอดทั>งเล่ม - ชื7อสปีชีส์ ใช้ "ตัวเอียง" ต่างจากต้นฉบับที7ใช้ตัวปกติทั>งหมด - file : Keywords รวมศัพท์ที7คิดว่าคงเก็บคําศัพท์เดิมในภาษาอังกฤษไว้ แชร์เพื7อให้คนในทีมใช้แบบเดียวกัน, เรียงตามตัวลําดับอักษร, version สุดท้าย มี 30 หน้า, รวมชื7อคน - file : Wording รวบรวมศัพท์เพื7อสะดวกในการบรรณาธิการและอ้างอิง มีการเก็บรายละเอียดรวมคําต่างๆ ที7ติดขัด มีข้อสงสัย และอภิปรายกัน รวมทั>งคําที7ได้จากการค้น เอกสารอ้างอิงและเว็บไวต์ต่างๆ, มี 22 version, v. สุดท้ายมี 17 หน้า - เลือกไม่ใส่ footnote หรือวงเล็บขยายความ แต่นําไปรวมไว้ในคําปรารถจากคณะผู้แปล - ประชุมกับบรรณาธิการ 2 หน : หนแรก บก.มาเข้าชมการทํางาน / ครั>งที7 2 - 23 ก.ย. 2010 พูดคุยปญหาั - ฉบับตีพิมพ์ครั>งแรก มี.ค. 2015
  • 3. ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 3/6 Statistics บทนํา + 14 บท (บท 1-14) 338 หน้า 151,748 คํา 751,950 ตัวอักษร (ไม่รวมช่องว่าง) ผมแปล 18.96% เกร็ดการแปล - ปัญหาใหญสุดที2เจอ่ คือ ดาร์วินนิยมเขียนโดยใช้ ประโยคที7ยาวมากๆ โดยมีวลีหรือประโยคขยายความที7 ยาวและมีเป็นจํานวนมากตลอดทั>งเล่ม ซึ7ง - การสะกดคําหลักในหนังสือ Charles เลือก ชาร์ลส์ แทนที7จะเป็น ชาลส์ (แบบที7ราชบัณฑิตยสถานกําหนด) species ราชบัณฑิตยสถาน --> สปีชีส์, ชนิด เลือกใช้ สปีชีส์ และสะกดแบบตัวไม่เอียง (ถือตามต้นต้นฉบับ) natural selection ใช้การคัดเลือกธรรมชาติ (ผมเสนอ การคัดสรรตามธรรมชาติ แต่แพ้โหวต 4:3 เสียง) - การเลือกคําแปลให้เข้ากับยุคสมัย I, me ข้าพเจ้า Vestiges of Creation รอยนิรมิต (อาจใช้ เนรมิตร หรือ เสก หรือ สร้าง) - มีคําที7ใกล้เคียง แต่ไม่เทียบเท่าอยู่เยอะ เวลาแปลก็ต้องให้ชัดเจน และแสดงความแตกต่าง เช่น breeder นักปรับปรุงพันธุ์สัตว์ / นักผสมพันธุ์พืชและสัตว์ gardener คนสวน agriculturalist นักการเกษตร horticulturist นักพืชสวน florist นักเพาะพืชดอก - บางคําแปลไทย แล้วเหมือนเขียนนิยามให้ plantigrade สัตว์ที7เดินแบบใช้ฝาเท้าและมีส้นเท้าแนบพื>น่ สรุปว่าใช้ สัตว์เลี>ยงลูกด้วยนมที7เดินบนฝาเท้า่ furcula กระดูกหน้าอกรูปสองง่าม
  • 4. ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 4/6 คําศัพท์ลําดับตามอนุกรมวธานิ (สะกดตามราชบัณฑตฯิ ) kingdom อาณาจักร phylum ไฟลัม class X ชั>น (พยายามใช้ชั>น แต่ไม่ไหวจริงๆ), คลาส order อันดับ family วงศ์ genus, genera สกุล (ชื7อสกุลให้เขียนตัวเอียง) species สปีชีส์ subspecies ชนิดย่อย [ราชบัณฑิตยสถาน] คําศัพท์อื2นๆ ที2ใกล้เคียงกับเรื2องการจัดจําแนกอนุกรมวธานิ breed ให้ใช้สายพันธุ์ พันธุ์, ผสมพันธุ์ [วิทยาศาสตร์] strain สายเชื>อ, สายพันธุ์ [พฤกษศาสตร์, แพทยศาสตร์] variety วาไรตี (สุดท้ายใช้ "พันธุ์") sub-breed สายพันธุ์ย่อย trait ลักษณะสืบสายพันธุ์ [แพทยศาสตร์] race ให้ใช้เชื>อชาติหรือเผ่าพันธุ์ ตามแต่บริบท เชื>อชาติ [นิติศาสตร์, รัฐศาสตร์, ประชากรศาสตร์] เผ่าพันธุ์ [พฤกษศาสตร์] - บางคําต้องเลือกว่าจะแปลอย่างไรดี แปลตรงๆ จะไม่เข้าใจ systematist นักอนุกรมวิธาน (ไม่ใช่นักระบบ !) artificial selection การคัดเลือกพันธุ์โดยมนุษย์ (ไม่ใช่การคัดเลือกเทียม) reversion การย้อนกลับ (ตอนแรกใช้การวกกลับ) - บางคําก็มีประวัติศาสตร์หรือภูมิศาสตร์มาเกี7ยวข้อง จะเลือกแปลอย่างไรดี Ceylon ซีลอน Britain บริเตน Great Britain บริเตนใหญ่ [อังกฤษ,เวลส์และสก๊อตแลนด์] - บางคําเริ7มแปลอย่างหนึ7ง แต่พอแปลไปๆ แล้วก็ต้องเปลี7ยน inhabitant ตอนแรกๆ ใช้ "สิ7งมีชีวิตที7อยู่อาศัย" แต่เปลี7ยนเป็น "ผู้อาศัย" ในที7สุด class ชั>น --> คลาส
  • 5. ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 5/6 - คําที7เห็นไม่ตรงกัน adaptive radiation ราชบัณฑิตยสถาน - การแผ่ขยายพันธุ์ (ราชบัณฑิตฯ) หลวงเจษฎาวิจิตร - การแผ่รัศมีของการปรับตัว พระประดิษฐ์นําชัย - การแผ่ขยายของการปรับตัว living fossil ศัพท์บัญญัติใช้ "สิ7งมีชีวิตคงสภาพดึกดําบรรพ์" ผมเสนอ "ซากดึกดําบรรพ์คงชีพ" (fossil ซากดึกดําบรรพ์) บันทึก อ.โจ้ >> อย่างวันนี>ก็คุยเรื7องข้อตกลงการใช้คําต่างๆ ฯลฯ ยกตัวอย่างเช่น fossil จะเขียนว่า ฟอสซิล หรือเขียน ซากดึกดําบรรพ์ (ราชบัณฑิต) หรือซากบรรพชีวิน หรือ...ซากขุดแข็งโคตร (เพราะ fossil มาจากจากคําว่า fossus แปลว่า have been dug up) 12 เรื2องนาประหลาดใจเกี2ยวกับ่ หนังสือ “กําเนดสปีชีส์ิ ” ของชาร์ลส์ ดาร์วนิ 1. แม้ว่าจะชื7อหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” แต่ดาร์วินไม่ได้ให้ “นิยาม” หรือข้อสรุปไว้ในหนังสือว่า สปีชีส์คืออะไร 2. แม้ว่าดาร์วินตั>งใจให้ “กําเนิดสปีชีส์” เป็นรายงานทางวิทยาศาสตร์ที7คนทั7วไปอ่านเข้าใจได้ และมีการกล่าว อ้างชื7อบุคคลอยู่บ้าง แต่ดาร์วินไม่ได้ให้รายชื7อ “เอกสารอ้างอิง (references)” หรือ “บรรณานุกรม (bibliography)” ดังธรรมเนียมที7รายงานทางวิทยาศาสตร์ส่วนใหญ่ทํา 3. แม้ว่าจะมีการกล่าวถึงข้อมูลในตารางอยู่บางแห่ง แต่ดาร์วินก็ไม่ได้ลงตารางใดๆ ไว้ในหนังสือเล่มนี>เลย 4. แม้ว่าหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” จะมีเนื>อหาเกี7ยวกับวิวัฒนาการ แต่ในหนังสือไม่มีคําว่า “วิวัฒนาการ (evolution)” ปรากฏอยู่เลยและมีคําว่า “การกลายพันธุ์ (mutation หรือ mutations หรือ transmutation)” ปรากฏอยู่เพียง 7 ครั>งใน 4 บทคือ บทที7 9, 10, 11 และ 14 นอกจากนี>แล้ว คําศัพท์ทั>ง 2 คํายังไม่ปรากฏอยู่ใน อภิธานศัพท์ (glossary) อีกด้วย 5. แม้ว่าดาร์วินจะไม่เชื7อเรื7อง “พระผู้สร้าง” แต่ในหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” เขาได้ใส่คําไว้ The Creator ไว้ด้วย ในบทสุดท้าย (บทที7 14) ซึ7งเชื7อกันว่าเป็นความพยายามลดแรงกดดันจากคริสต์ศาสนิกผู้เคร่งครัด (รวมทั>ง ภรรยาของเขาเองด้วย!) 6. ดาร์วินตั>งใจจะเขียน “กําเนิดสปีชีส์” ในรูปแบบของบทคัดย่อ (abstract) ของหนังสือฉบับสมบูรณ์ (ที7ไม่ เคยทําได้สําเร็จตลอดชีวิต) ความยาวก่อนลงมือเขียนคาดว่าจะอยู่ที7ราว 12 หน้า แต่เมื7อลงมือเขียนแล้ว ข้อมูล ต่างๆ ที7เขาสะสมมาถึง 20 ปีทําให้หนังสือมีความยาวเพิ7มขึ>นๆ จนมีความยาวกว่า 500 หน้า เขาตั>งใจจะใช้คํา ว่า “บทคัดย่อ” ในชื7อหนังสือด้วย แต่จอห์น เมอร์เรย์ ที7เป็นผู้จัดพิมพ์เกลี>ยกล่อมจนเขายอมดึงคําดังกล่าวออก ในที7สุด
  • 6. ดร.นําชัย ชีววิวรรธน์ 6/6 7. ดาร์วินใช้เวลาเร่งเขียนหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” จนจบใน 10 เดือน แต่เมื7อเขาอ่านทานต้นฉบับที7ผ่านการ พิสูจน์อักษรแล้ว เขาเองถึงกับตกใจกับสํานวนที7แข็งกระด้างและ “ยากที7จะอ่านเข้าใจและไม่ติดขัด” จนในที7สุด เขาต้องยอมควักกระเปาเป็นค่าใช้จ่ายกับการแก้ไขต้นฉบับ เพราะทําให้ต้องมีการเรียงตัวพิมพ์ใหม่๋ 8. ชื7อเต็มของหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” ในการพิมพ์ครั>งแรกปี ค.ศ. 1859 ยาวมากคือ “ว่าด้วยกําเนิดสปีชีส์ด้วย วิธีการคัดเลือกตามธรรมชาติ หรือการดํารงไว้ซึ7งสายพันธุ์ที7เหมาะสมกว่าในการต่อสู้เพื7อมีชีวิตอยู่ (On the Origin of Species by Means of Natural Selection, or the Preservation of Favored Races in the Struggle for Life)” 9. ภายหลังการตีพิมพ์หนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” ครั>งแรก มีการตีพิมพ์หนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” ซํ>าอีกรวมทั>งหม 6 ครั>งตลอดชีวิตของดาร์วิน มียอดขายรวมราว 25,000 เล่ม (ฉบับพิมพ์ครั>งที7 6 ตีพิมพ์ในปี ค.ศ. 1872 หรือ สิบปีก่อนเขาเสียชีวิตจากหัวใจล้มเหลวในวัย 73 ปี) และทุกครั>งที7พิมพ์ใหม่มีการแก้ไขเพิ7มเติมเนื>อหาต่างๆ โดยผู้เขียน 10. มีหลักฐานว่าต้นฉบับส่วนหนึ7งที7เขาตั>งใจไว้ว่าจะรวมในฉบับสมบูรณ์ของหนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” นั>น ต่อมา เขาดัดแปลงไปเป็นหนังสือเกี7ยวกับการแปรผันที7เกิดขึ>นในสัตว์เลี>ยง ส่วนอีกแปดบทครึ7งนั>น ไม่เคยมีใครได้พบ เห็นอยู่นาน จนนักวิชาการชื7อ อาร์. ซี. สตอฟเฟอร์ ไปพบเข้าและนํามาเรียบเรียงใหม่เพื7อตีพิมพ์เป็นหนังสือ ใหม่ได้ทั>งเล่มในชื7อ “การคัดสรรตามธรรมชาติของชาร์ลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin’s Natural Selection)” 11. มีรายงานใน ค.ศ. 1977 ว่า มีฉบับพิมพ์ที7แตกต่างกันของ “กําเนิดสปีชีส์” อยู่อย่างน้อยถึง 425 ฉบับใน ขณะนั>น (ไม่นับรวมการตีพิมพ์ซํ>าของแต่ละฉบับพิมพ์) ซึ7งรวมทั>งฉบับภาษาญี7ปุน่ (15 สํานวน) ภาษาเกาหลี (4 สํานวน) ภาษาฮังการี (4 สํานวน) ภาษาฮีบรู ภาษาโรมาเนีย และภาษาลัทเวีย อีกอย่างละ 2 สํานวน แต่ยัง ไม่เคยมีฉบับสํานวนไทยเลยแม้แต่สํานวนเดียว 12. หนังสือ “กําเนิดสปีชีส์” เป็นผลงานที7ต่างจากผลงานการคิดค้นของยอดนักคิดนักวิทยาศาสตร์ท่านอื7นๆ มาก (เช่น กาลิเลโอ นิวตัน และไอน์สไตน์) เพราะเป็นหนังสือที7คนธรรมดาสามัญก็อาจอ่านทําความเข้าใจได้ และอันที7จริงแล้ว หนังสือเล่มนี>ฉบับพิมพ์ครั>งที7 1 นั>นจําหน่ายหมดในวันแรกที7เปิดจําหน่ายเลยด้วยซํ>า