SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 0สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 1สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
สารบัญ
ความตระหนักในวิทยาศาสตร์ของประชาชน.........................................................................................2
วิทยาศาสตร์และการกาหนดนโยบาย....................................................................................................6
การมีส่วนร่วมของสาธารณชนในด้านวิทยาศาสตร์ในสหภาพยุโรป.......................................................7
การสร้างความตระหนักด้าน วทน. และส่งเสริมการมีส่วนร่วมการมีส่วนร่วมของประชาชนต่องานด้าน
วทน. ในประเทศไทย
.............................................................................................................................................................16
ปัจจัยการสร้างความตระหนักด้าน วทน. และส่งเสริมการมีส่วนร่วมการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อ
งานด้าน วทน. ในประเทศไทย
.............................................................................................................................................................25
การตรวจสอบข่าวเท็จ.........................................................................................................................27
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 2สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
วิทยาศาสตร์ส่งผลต่อชีวิตประจาวันของเราและมีอิทธิพลต่อการวางนโยบายของรัฐ โดยแรงจูงใจใน
การให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มี 4 ประการดังต่อไปนี้
 ความจาเป็นด้านประโยชน์นิยม —การสร้างทักษะและความรู้เฉพาะทางที่มีประโยชน์ต่อชีวิตใน
วงกว้าง
 ความจาเป็นด้านเศรษฐกิจ —สังคมที่ก้าวหน้าต้องมีแรงงานที่มีทักษะเฉพาะทางและวิทยาศาสตร์
ช่วยเพิ่มผลผลิตของประเทศชาติได้
 ความจาเป็นด้านวัฒนธรรม—วิทยาศาสตร์เป็นมรดกร่วมของประชาชน
 ความจาเป็นด้านประชาธิปไตย— วิทยาศาสตร์มีผลต่อนโยบายหลัก ๆ ในสังคม ดังนั้น
สาธารณชนต้องมีความสามารถในการเข้าใจข้อมูลวิทยาศาสตร์เบื้องต้น
ความตระหนักในวิทยาศาสตร์ของประชาชน
ทัศนคติของสาธารณชนที่มีต่อวิทยาศาสตร์
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 3สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
แม้ว่าในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา สาธารณชนมีทัศนคติด้านบวกต่อวิทยาศาสตร์มากขึ้น แต่คนส่วน
ใหญ่ยังขาดการเชื่อมโยงหรือความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างเช่น ในการสารวจทัศคติของ
สาธารณชนที่มีต่อวิทยาศาสตร์พบว่า สาธารณชนยังไม่ค่อยทราบว่านักวิทยาศาสตร์ทางานอย่างไร
และบางครั้งไม่ค่อยแน่ใจว่าข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ปรากฏในสื่อ เช่นสังคมออนไลน์
ว่าจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด
โลกทัศน์เชิงวัฒนธรรมสามารถส่งผลต่อการเผยแพร่ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และการรับรู้ข้อมูลของ
ประชาชน มุมมองทางการเมือง ศาสนา และ ระบบความเชื่อมีความสาคัญมาก โดยเฉพาะเมื่อสังคม
ไม่สามารถหาข้อตกลงบางประเด็นในเชิงวิทยาศาสตร์ได้ มุมมองเหล่านี้สามารถบิดเบือนข้อมูลเชิง
วิทยาศาสตร์และทาให้คนบางกลุ่มรู้สึกแปลกแยก
การชักชวนบุคคลจากทุกภาคส่วนมาร่วมเป็นผู้ให้ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์จึงมีความสาคัญเป็นอันมาก
ในการริเริ่มการสื่อสารด้านวิทยาศาสตร์ เมื่อมีคนหลายกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม การเผยแพร่ความรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์จึงต้องคานึงถึงลักษณะของชุมชนและจารีตประเพณีที่แตกต่างกัน การแต่งตั้งบุคคล
แม่แบบจากทุกภาคส่วนที่มีความสนใจในการให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์กับสาธารณชน นอกจากจะ
ทาให้คนมีส่วนร่วมในด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้นแล้ว ยังช่วยให้แวดวงวิทยาศาสตร์มีบุคลากรที่มาจาก
วัฒนธรรม สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่หลากหลายมากขึ้นด้วย
แนวทางจัดศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (science,
technology, engineering and mathematics, STEM) ซึ่งมักนิยมเรียกย่อๆว่าสะเต็มศึกษา มี
บทบาทสาคัญในการช่วยให้เยาวชนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นต่อการมีส่วนร่วมและการช่วยเหลือ
สังคม แต่ยังเป็นที่น่ากังวลใจว่าเยาวชนจานวนมากยังขาดทักษะ STEM ซึ่งส่งผลเสียให้กับเศรษฐกิจ
ของประเทศ
การมีส่วนร่วมของเยาวชน
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 4สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การศึกษาพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับผู้ปกครองมีบทบาทสาคัญในการสร้างทัศนคติที่ดีต่อ
การเรียนวิชา STEM ในขณะเดียวกันก็เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เยาวชนคิดว่าวิชาวิทยาศาสตร์และ
นักวิทยาศาสตร์เป็นพวกมีสติปัญญาสูงเท่านั้น ซึ่งทาให้เยาวชนบางคนไม่อยากเรียนวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัย Imperial College London ณ สหราชอาณาจักร ได้แนะนาให้มีเพิ่มบุคคลด้าน
วิทยาศาสตร์ที่ปรากฏในสื่อมวลชนที่มีลักษณะและภูมิหลังที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อให้สาธารณชนไม่
ยึดติดกับทัศนคติเดิม ๆ ที่มีต่อบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์
ในประเด็นเรื่องความสาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็ก โดนเฉพาะบทบาทของแม่ใน
การสร้างทัศนคติต่อวิชา STEM นั้น โครงการ ASPIRES พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อแรง
ปรารถนาของเด็กในชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 คือสมาชิกในครอบครัวหรือคนใกล้ชิดที่ทางานด้าน
วิทยาศาสตร์หรือมีความสนใจด้านวิทยาศาสตร์
เป็นอย่างยิ่ง
กิจกรรมหรือโครงการด้าน STEM ที่ไม่เป็น
ทางการ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียน
โดยเฉพาะกิจกรรมที่นักเรียนได้ลงมือทาเอง
และได้ประสบการณ์ในการเรียน พิพิธภัณฑ์
วิทยาศาสตร์ของท้องถิ่นหรือระดับชาติ ชมรม
ธรรมชาติ และการจัดเทศกาลต่าง ๆ ช่วยเสริม
การเรียนวิชา STEM ในโรงเรียนได้เป็นอันมาก
ในขณะที่นักเรียนจานวนมากที่มาจากครอบครัว
บางประเภทได้รับข้อมูลและทัศคติเชิงลบต่อ
ที่มา: www.shareicon.net
ที่มา: cz.usembassy.gov
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 5สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
วิทยาศาสตร์ และทาให้พวกเขาไม่ต้องการเรียนวิชาด้านวิทยาศาสตร์ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงแนวคิด
ด้านวิทยาศาสตร์และการทาให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโลกวิทยาศาสตร์จึงไม่สามารถทาได้จาก
การจัดกิจกรรมเพียงครั้งเดียวแต่จะต้องมีกลยุทธ์ระยะยาวในการสร้างการมีส่วนร่วมของเยาวชน
มีโครงการริเริ่มเพื่อเพิ่มความตระหนักและการมีส่วนร่วมของสาธารณชนในด้านวิทยาศาสตร์หลาย
โครงการ รวมทั้งโครงการที่มีวัตถุประสงค์ช่วยส่งเสริมการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน กิจกรรม
เหล่านี้มีความสาคัญยิ่งในการเพิ่มทุนด้านวิทยาศาสตร์
ปัญหา 3 ประการที่เกิดจากนาเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ของสื่อที่อาจจะทาให้คนเกิดความเคลือบ
แคลงในวิทยาศาสตร์นั้น คือ
 นักข่าวจานวนน้อยมากที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงมีการนาเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์
ทั้งที่ขาดความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ โดยเห็นได้บ่อยว่าสื่อไม่สามารถนาข้อมูลสถิติมาใช้ได้อย่าง
ถูกต้อง
 สื่อต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์บางครั้งมีวาระซ่อนเร้นอยู่ สื่อจึงจงใจบิดเบือน
ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนวาระที่ตนวางไว้
 สื่อต้องการนาเสนอเนื้อหาที่น่าเร้าใจ ในขณะที่วิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องที่น่าเร้าใจเสมอไป
ดังนั้นจึงพบว่ามีการบิดเบือนผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ดูน่าเร้าใจมากขึ้นเพราะ
เนื้อหาแบบนี้จะถูกนาไปเผยแพร่ต่อในวงกว้าง แต่ผลการวิจัยที่นาเสนอข้อเท็จจริงมาค้าน
ข้อมูลที่บิดเบือนนั้นกลับไม่ได้รับความสนใจเท่าเทียมกัน
นอกเหนือจากการนาเสนอข่าวของสื่อ รายการบันเทิงก็สามารถเปลี่ยนความคิดและความนิยมในด้าน
วิทยาศาสตร์ได้ อย่างที่เห็นได้จาก “อิทธิพลจากละครเรื่อง CSI” ซึ่งเป็นละครแนวนิติวิทยาศาสตร์ที่
ทาให้นักศึกษาหันมาสนใจเรียนสาขานิติวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นเป็นจานวนมาก
บทบาทของสื่อ
ที่มา: eduadvisor.my
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 6สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
ความพยายามในการสื่อสารข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ในระยะเริ่มแรก ใช้”รูปแบบการขาดความรู้” ซึ่ง
เป็นแนวคิดที่เชื่อว่าความเคลือบแคลงสงสัยในวิทยาศาสตร์ของสาธารณชนเกิดจากการขาดความรู้
หรือความเข้าใจ และสามารถแก้ไขได้โดยการเผยแพร่หรือให้ความรู้มากขึ้น การใช้แนวคิดนี้ถูกวิจารณ์
ว่าไม่ได้คานึงถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลและบริบททางวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อความเข้าใจใน
วิทยาศาสตร์ของคนเหล่านั้น นักวิจัยจึงได้พัฒนาทฤษฎีที่เน้นกรอบแนวคิดเชิงบริบทเพื่อให้การซึมซับ
ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์เกิดจากทัศคติและสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยสรุป ผู้ที่ทาหน้าที่ให้ข้อมูลด้าน
วิทยาศาสตร์จะต้องเข้าใจกลุ่มผู้รับสารจึงสามารถทาให้ผู้รับสารรู้สึกมีส่วนร่วมด้านวิทยาศาสตร์ได้
การสื่อสารด้านวิทยาศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างนักวิจัยและสาธารณชนเป็นเรื่องสาคัญ แต่
ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและประชาชนก็มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่ากัน และโดยเป็นแรง
ขับเคลื่อนหลักในสถาบันการวิจัย ในขณะที่ถูกกาหนดจากการวางกรอบนโยบาย
รัฐบาลมีบทบาทสาคัญในการให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ รัฐบาลเป็นผู้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับสูงที่
สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและทาให้การเผยแพร่ความรู้ด้าน
วิทยาศาสตร์และการกาหนดนโยบาย
ที่มา: enterprise.microsoft.com
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 7สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
วิทยาศาสตร์มีคุณภาพ รัฐต้องเข้าใจระบบการวิจัย ตระหนักถึงความสาคัญของความมีอิสระของ
นักวิจัย และความเชื่อมั่นของสาธารณชนที่มีต่อการทาวิจัย
มีความกังวลว่า นักวิทยาศาสตร์ที่
ทางานในภาครัฐสามารถเผยแพร่
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ได้อย่าง
จากัด นักวิทยาศาสตร์ที่ทางานใน
องค์กรของรัฐไม่สามารถให้ข้อมูล
วิท ยาศ าสต ร์ใน ส าข าที่ ต น
เชี่ยวชาญกับสื่อได้อย่างเสรี
สามารถให้ข้อมูลบางอย่างได้
เท่านั้น นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้
ได้รับทุนสนับสนุนจากสาธารณชน
เพื่อทางานวิจัยเพื่อประโยชน์ของ
สาธารณชนในด้านต่าง ๆ เช่น
การผลิตวัคซีน ผึ้งและยาฆ่าแมลง โรคในพืช บุหรี่ไฟฟ้า โรคอีโบล่า การตัดแต่งพันธุกรรม เป็นต้น
นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้พยายามเผยแพร่ผลการวิจัย แต่จะทาได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากกรม
ประชาสัมพันธ์และอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเคร่งครัด
หลักสาคัญของการวิจัยคือ การเปิดกว้างเพื่อทาให้สาธารณชนมีความไว้วางใจ เพิ่มความโปร่งใส
สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างกว้างขวางที่สุดเท่าที่จะทาได้ และสามารถอภิปรายผลการวิจัย
ได้อย่างตรงไปตรงมา
รัฐบาลมีหน้าที่เบื้องต้นในการอุ้มชูและนาวิทยาศาสตร์มาบรรจุในการวางนโยบาย รัฐบาลควรดาเนิน
โครงการระดับชาติอย่างต่อเนื่องและเสริมความแข็งแกร่งให้โครงการเหล่านั้น และควรจะนามาใช้ใน
องค์กรของรัฐหลาย ๆ หน่วยงานเพื่อรวบรวมความเห็นของประชาชนในการวางนโยบายของรัฐที่
เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
ที่มา: sunleafmedical.com
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 8สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การสารวจทัศคติต่อวิทยาศาสตร์ในปี ค.ศ. 2014 พบว่า ผู้ออกกฎหมาย รัฐบาล และนักวิทยาศาสตร์
จาเป็นต้องมีการเสวนากับสาธารณชน โดยปกติแล้วหน่วยงานของรัฐมีการปรึกษาหารือกับ
สาธารณชนด้านนโยบายในขั้นตอนท้าย ๆ ของการกาหนดนโยบาย
การปรึกษาหารือเป็นเครื่องมือสาคัญในการเข้าใจมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเป็นหลักฐานที่
สามารถนาไปสู่การออกนโยบายของรัฐได้ ผู้ที่เข้าร่วมการปรึกษาหารือด้านนโยบายนั้นมักจะเป็น
ตัวแทนจากองค์กรที่มีความสนใจในนโยบายเป็นพิเศษเท่านั้น แต่ไม่ได้มาจากประชาชนที่ได้รับ
ผลกระทบจากนโยบายนั้น ๆ
การกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการกาหนดนโยบายด้านเทคโนโลยีจาเป็นต้อง
มีการตั้งคาถามที่ประชาชนสามารถตอบได้ อีกทั้งองค์ประกอบ “ทางการเมือง” ในการกาหนด
นโยบายด้านเทคโนโลยีจะต้องแยกออกจากองค์ประกอบ “ทางวิชาการ” ในบริบทนี้องค์ประกอบ
“ทางวิชาการ” หมายถึงสิ่งที่กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเห็นประจักษ์แล้ว (เช่น มีความเป็นไปได้มากที่กิจกรรม
ของมนุษย์ทาให้เกิดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) ในขณะที่องค์ประกอบ “ทางการเมือง”
คือการนาความรู้ที่ได้นั้นมาดาเนินการ (เช่น การจัดการที่เหมาะสม ระหว่างการปรับ หรือการบรรเทา
ทุกข์) ถึงแม้ว่าการตัดสินใจทางการเมืองควรคานึงถึงคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แต่นักกาหนดนโยบาย
มีสิทธิที่จะไม่ทาตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญและใช้ทางเลือกอื่นแทน
หน่วยงานของรัฐควรมีความรอบคอบในการแยกแยะระหว่างกระบวนการขอคาแนะนาจาก
ผู้เชี่ยวชาญ การกระตุ้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และความเห็นที่ได้รับความนิยมจากคนส่วนใหญ่
กระบวนการทั้งสามกระบวนการนี้มีวัตถุประสงค์ที่ถูกต้องตามกระบวนการทั้งสิ้นแต่ต้องมีวิธีการที่
การกาหนดนโยบายของรัฐและการปรึกษาหารือด้านนโยบาย
ที่มา: feedbacklabs.org
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 9สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
ต่างกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน การกาหนดนโยบายมีความจาเป็นต้องใช้ความเห็นของ
ผู้เชี่ยวชาญ แต่ในขณะเดียวกันต้องมีการแยกแยะว่าคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญนามาใช้ในการ
แก้ปัญหาเชิงวิชาการเท่านั้น ปัญหาทางการเมืองจาเป็นต้องใช้วิธีแก้ไขเชิงการเมือง นักกาหนด
นโยบายต้องไม่นาเอาความเห็นของนักวิชาการมาใช้อย่างผิด ๆ นั่นหมายความว่านักกาหนดนโยบายมี
เสรีภาพในการเลือกที่จะไม่ทาตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แต่ประชาชนต้องรับทราบกระบวนการ
ดังกล่าวด้วย
วิทยาศาสตร์และการเมือง (รวมทั้งดุลพินิจทางการเงินและกฎหมาย) เป็นหัวใจสาคัญของการกาหนด
นโยบายของรัฐ ถ้าองค์ประกอบทั้งสองประการนี้ไม่ไปในทางเดียวกัน รัฐบาลต้องเลือกระหว่างข้อมูล
เชิงวิทยาศาสตร์ สิ่งที่ทาได้และเป็นไปตามตัวบทกฎหมาย และสิ่งที่สาธารณชนเห็นว่าโปร่งใส
กระบวนการปรึกษาหารือกับประชาชนในการกาหนดนโยบายมักจะอ้างถึงข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์กับ
ปัจจัยอื่น ๆ ไปด้วยกัน เพื่อว่าในการอภิปรายทางการเมืองนั้นสามารถนาความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์
มาใช้ตามความเหมาะสม รัฐสามารถนาข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์มาใช้มากหรือน้อย แต่เมื่อรัฐเลือกที่จะ
ไม่ใช้ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์มาประกอบการวางนโยบาย รัฐต้องชี้แจงว่าการไม่ใช้ข้อมูลนั้นไม่ได้เป็น
เพราะรัฐไม่เชื่อในข้อมูลเชิงวิทยศาสตร์ที่ได้รับ
การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาในโลกปัจจุบันได้อย่างรวดเร็วและเห็นผลนั้น
ไม่ได้เกิดจากความสาเร็จของการวิจัยเพียงอย่างเดียวแต่ยังมาจากการยอมรับของสาธารณชนใน
ผลการวิจัยนั้นด้วย การยอมรับของสาธารณชนขึ้นอยู่กับทัศนคติต่อสิ่งที่วิจัยและลักษณะนิสัยของ
นักวิจัยด้วย ในทศวรรษที่ผ่านมา วงการ
วิทยาศาสตร์ได้สร้างความเคลือบแคลงใจให้กับ
สาธารณชนหลายเรื่องเมื่อความก้าวหน้าหรือ
ทฤษฎีด้านวิทยาศาสตร์ขัดแย้งกับค่านิยมเชิง
วัฒนธรรมหรือความเชื่อทางศาสนา
การลดทอนความตึงเครียดที่เกิดขึ้นนี้ทาได้โดยการ
จัดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา
ที่มา: feedbacklabs.orgการมีส่วนร่วมของสาธารณชนในด้านวิทยาศาสตร์ในสหภาพยุโรป
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 10สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
เท่าที่จะทาได้ ในกระบวนการนี้ นักวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นผู้ฟัง ตอบข้อสงสัยของประชาชน และให้
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์กับประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนได้ถูกผลักดันมากขึ้นเรื่อย ๆ โดย
องค์กรของรัฐและที่ไม่ใช่ของรัฐ และกลายมามีบทบาทสาคัญต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ห ม าย ถึ ง ก าร เส ว น าแ ล ะ
แลกเปลี่ยนระหว่างคนหลายกลุ่ม
เพื่อสร้างความ เข้าใจร่วมกัน การ
ร่วมกันกาหนดผลลัพธ์ของการวิจัย
และนวัตกรรม และนาผลผลิตที่
ได้มาบรรจุในนโยบาย การมีส่วน
ร่วมของประชาชนเป็นการทางาน
ร่วมกันระหว่างนักวิจัย นักกาหนด
นโยบาย ภาคธุรกิจ องค์กรประชาสังคมและองค์กรการกุศล และประชาชน เพื่อพิจารณาประเด็น
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นกระบวนการที่เน้นความถูกต้องตามจรรยาบรรณ ทาให้
กระบวนการด้านงานวิจัยและนวัตกรรมครอบคลุมคนทุกกลุ่ม มีความโปร่งใส ความหลากหลาย และ
สร้างสรรค์
นอกจากนี้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนทาให้บุคคลที่เกี่ยวข้องสื่อสารด้วยภาษาเดียวกัน มี
ความเข้าใจร่วมกัน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน จัดการกับประเด็นที่ขัดแย้ง ร่วมกันเสนอความคิด สร้าง
ความรู้ และหาวิธีแก้ปัญหาร่วมกันให้เกิดผลมากที่สุด การมีส่วนร่วมของประชาชนต้องเป็น
กระบวนการสองทาง ทั้งเป็นผู้ให้และผู้รับ มีการติชมซึ่งกันและกัน เพื่อว่าผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนนี้
สามารถนามาป้อนกลับสู่กระบวนการวิจัยและนวัตกรรม
ประโยชน์ของการนาบุคคลจากทุกภาคส่วนมาทางานร่วมกันในด้านการวิจัยและนวัตกรรมคือ การ
สร้างองค์ความรู้ใหม่และการพิจารณาถึงความต้องการเชิงสังคมที่กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่จะ
ทาให้เราสามารถจัดการกับปัญหาทางสังคมที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน นอกจากนี้การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในด้านวิจัยและนวัตกรรมยังทาให้เกิด
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิจัยและนวัตกรรม
ที่มา: srbbm-banat.ro
ความสาคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 11สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
 การเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ในกระบวนการออกแบบการวิจัยและนวัตกรรมและผลลัพธ์ที่ได้
 ผลลัพธ์จากการวิจัยและนวัตกรรมตอบสนองความต้องการของสังคมได้มากที่สุด
 การใช้เวลาในการประชาสัมพันธ์น้อยลงและผลที่ได้จากการวิจัยและนวัตกรรมมีการยอมรับมาก
ขึ้น
 การสร้างสังคมที่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ทาให้ประชากรสามารถใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการ
กล้าคิดกล้าทา มีความสนใจในการมีส่วนร่วมและส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย รวมทั้งมีส่วน
ร่วมในการตัดสินใจการกาหนดงบประมาณและวางนโยบายด้านวิจัยและนวัตกรรม
กองอานวยการด้านวิจัยและนวัตกรรมของคณะกรรมาธิการยุโรปมีนโยบายสร้างความร่วมมือระหว่าง
นักวิทยาศาสตร์กับสังคม โดยมีการพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อถือได้
(Responsible Research and Innovation, RRI) ซึ่งเป็นนโยบายที่เกิดจากความต้องการของสังคม
และเปิดโอกาสให้คนจากทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง RRI ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทา
ให้การวิจัยและนวัตกรรมเดินทางคู่ขนานไปกับค่านิยม ความต้องการ และความคาดหวังของสังคม
การวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อถือได้
ที่มา: eesc.europa.eu
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 12สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
อีกทั้งยังเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างเหนียวแน่นระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุก
ภาคส่วนมาทางานร่วมกันในด้านต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย ด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ การกาหนด
วาระทางการวิจัย การเข้าถึงผลการวิจัยและการนาองค์ความรู้ใหม่มาใช้โดยคานึงถึงความเหมะสม
ด้านเพศและจรรยาบรรณ
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 13สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
สาหรับประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโลยี นั้นมีพันธกิจในการสร้างความตระหนักด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาขนต่องานด้าน
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เช่นเดียวกัน การสร้างความตระหนักด้าน
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทย ได้ให้คานิยามของ “การสร้างความตระหนัก
ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ไว้ว่าเป็น “การดาเนินการเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีความรู้ ความ
เข้าใจ ตลอดจนมีกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ และตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีที่มีผลต่อการดารงชีวิตของประชาชนในยุคปัจจุบัน และผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมของประเทศ ส่วนสื่อที่สร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ โทรทัศน์
สื่ออินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ นิทรรศการแหล่งเรียนรู้ นิตยสาร และ วิทยุ”
โดยวัตถุประสงค์ของการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) คือ
1) ทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีเหตุผลไม่หลงงมงาย
2) ทาให้ประชาชนไทยมีความสนใจในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ
3) ส่งเสริมให้เกิดการนาวิทยาศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
โดยหนึ่งในกลยุทธ์ของนโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1
(พ.ศ. 2555 – 2564) คือ การใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการสร้างเสริมสังคม
ฐานความรู้ โดยมีการประกาศใช้ 5 มาตรการหลักดังนี้
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 14สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การพัฒนาเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารข้อมูลวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สังคม
ตระหนักและเข้าใจในความสาคัญของ วทน. ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวและเกี่ยวข้องกับทุกคนในสังคม
ตลอดจนการเสริมสร้างจริยธรรมทางด้าน วทน.
พัฒนาและนางานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ
ประชาชน เช่น การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการเรียนรู้ปัญญาประดิษฐ์การพัฒนารูปแบบ
การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับกลุ่มคนในแต่ละช่วงวัยและระดับเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ใช้
เทคโนโลยี สนับสนุนผู้นาชุมชนหรือผู้มีองค์ความรู้เพื่อการถ่ายทอดความรู้จากประสบการณ์ (Tacit
Knowledge) ใช้เทคโนโลยีสนับสนุนกลไกของรัฐด้านการบาบัดทุกข์บารุงสุขแก่คนในสังคมด้วยการ
อานวยความสะดวกในการ เรียนรู้ในพื้นที่ของตน (Learning Facilitation) ใช้เทคโนโลยีเป็นช่องทาง
สื่อสารการเรียนรู้ของชุมชนผ่าน ห้องสมุด วัด โรงเรียน การพัฒนานวัตกรรมในชุมชน เทคโนโลยีเพื่อ
การเรียนการสอนในชุมชนแบบ Project Based Learning (PBL) เพื่อกระตุ้นการคิดวิเคราะห์และ
การแก้ไขปัญหาพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งใน มิติเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสร้างช่อง
ทางการเผยแพร่ความรู้เพื่อสร้างแรงจูงใจ และบรรยากาศ แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมถึงให้
ความสาคัญกับการวิจัยในแนวประยุกต์ที่ใช้ความรู้ที่มีอยู่เดิม (Translational Research )
1
การสรางความตื่นตัว ความตระหนัก จิตสานึก
ธรรมาภิบาล ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แก่ประชาชน
2 การพัฒนา วทน. เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 15สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การสร้างและพัฒนาเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประชาชนในชุมชนท้องถิ่น เกษตรกร อุตสาหกรรม
และสถาบันการศึกษาในพื้นที่เพื่อพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เหมาะสมและ
ประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนใน
ชุมชน เช่น การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน (Work-Integrated Learning:
WIL) เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และทางานจริงกับอุตสาหกรรม ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น
จัดให้มีการส่งเสริมเชิดชูเกียรติ์นักวิทยาศาสตร์นักประดิษฐ์และปราชญ์ชาวบ้านที่มี ผลงานโดดเด่น
ด้านการพัฒนาและการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเป็นต้นแบบและ แรง
บันดาลใจให้คนในสังคม และเป็นแรงจูงใจให้เกิดการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่
เป็น ประโยชน์ต่อประเทศ
3
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกร
อุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา ในพื้นที่เพี่อการ
พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชน
4
การส่งเสริมเชิดชูเกียรติ์นักวิทยาศาสตร์นักประดิษฐ์
ปราชญ์ชาวบ้าน
5
การสนับสนุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม เพื่อการต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยการมี
ส่วนร่วมของชุมชน
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 16สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
ส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างและพัฒนาระบบฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น และนา
วิทยาศาสตร์ไปอธิบายให้เป็นหลักการ ตลอดจนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างคุณค่าและ
มูลค่าเพิ่มในการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างเป็นระบบมีแบบแผนของชุมชน เช่น
ส่งเสริมให้นักวิชาการร่วมมือกับชุมชนในการสร้างนวัตกรรมจากการวิจัยและพัฒนาที่ใช้ทรัพยากรที่มี
อยู่ ในท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืนให้กับชุมชน และการสร้างเครือข่ายในการต่อยอดภูมิ
ปัญญา ระหว่างท้องถิ่น เป็นต้น
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดาเนินกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ มากมายที่ช่วยสร้างความ
ตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาขนต่องาน
ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งตัวอย่างของกิจกรรมสามารถสรุปได้ดังนี้
1) โครงการนโยบายสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาและนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี
วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ (STEM) เพื่อเพิ่มผลิตภาพ(productivity) และความสามารถ
ทางนวัตกรรมของภาคการผลิตและบริการ
กาลังคนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม (วทน.) นับได้ว่าเป็นปัจจัยสาคัญ
ที่สุดประการหนึ่งสาหรับการพัฒนา
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นที่
ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นปัจจัยที่จะ
นาไปสู่การพัฒนา และเป็นแรงขับเคลื่อนที่
สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อมให้มีความยั่งยืนในระยะยาว
หากประเทศขาดความพร้อมและความ
เพียงพอในด้านกาลังคนด้าน วทน. แล้ว ไม่
ว่าจะลงทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีไปมากมายเพียงใด ก็จะไม่
สามารถพัฒ นาระบบวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศให้มี
ประสิทธิภาพได้
ดังนั้นจึงมีการจัดโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับการพัฒนากาลังคนด้าน STEM เพื่อเพิ่มขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยมีความมุ่งหมายเพื่อที่จะยกระดับคุณภาพการพัฒนา
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 17สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
บุคลากรด้าน วทน. ทั้งในระบบการศึกษาและในตลาดแรงงาน เกิดการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของ
บุคลากรด้าน วทน. ที่มีจานวนและคุณภาพเพียงพอเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ และนาไปสู่การ
เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในตลอดจนสร้างเครือข่ายความเชื่อมโยงในการพัฒนา
กาลังคนด้าน วทน. ให้เกิดขึ้นในทุกภาคส่วนทั่วทั้งประเทศ
สถานที่ : ทั่วประเทศ
กลุ่มเป้าหมาย : ครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และบุคลากรใน
ภาคการผลิตและบริการ
ระยะเวลาดาเนินการ : 5 ปี เริ่มต้น ตุลาคม 2556 สิ้นสุด กันยายน 2561
ผลที่คาดว่าจะได้รับ : สามารถเพิ่มทักษะและองค์ความรู้ด้าน วทน. ให้แก่กาลังคนของประเทศมี
ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการ เกิดแรงจูงในการขยายฐาน
บุคลากรด้าน วทน. ให้มีมวลวิกฤตและมีเส้นทางอาชีพ รวมถึงบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคม
หน่วยงานทีรับผิดชอบ: สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม
แห่งชาติ (สวทน.)
ตัวอย่างกิจกรรม
(1) นาร่องการขับเคลื่อนกลไกในโรงเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมนักเรียนเข้าสู่อาชีพด้าน วทน. (STI
Career Academy) โดยความร่วมมือและการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและภาคการผลิตและบริการ
(2) นาร่องกลไกการดาเนินงานให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน STEM ใน
โรงเรียน
(3) นาร่องกลไกการดาเนินงานเพื่อพัฒนาครูผู้สอนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี
ได้รับการพัฒนาทักษะการสอนแบบ Active Learning
2) โครงการ The surveyor เที่ยวสนุกทุกพิกัด
โครงการนี้มุ่งเน้นการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
และภูมิสารสนเทศ เพื่อการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยนาเสนอสาระ
ความรู้เกี่ยวกับลักษณะธรณีสัณฐานและภูมิศาสตร์ของประเทศไทย โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ
และภูมิสารสนเทศ (ภาพถ่ายจากดาวเทียมไทยโชต) สอดแทรกด้วยเกร็ดความรู้ด้านภูมิศาสตร์ รวมไป
ถึงเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อีกทั้งยังเป็นรายการท่องเที่ยวกึ่ง
สารคดี ที่นาเสนอสถานที่ท่องเที่ยวที่มีเอกลักษณ์และความโดดเด่นทางด้านภูมิศาสตร์ ด้วยมุมมองที่
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 18สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
แตกต่างน่าสนใจ มีสาระและ
ความบันเทิงสนุกสนาน ไม่น่า
เบื่อและสามารถรับชมได้ทุก
เพศและวัย โดยจุดประสงค์
หลักของการจัดทารายการ
โทรทัศน์นี้ขึ้นมาก็เพื่อสร้าง
ความตระหนักทางด้านการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิ
สารสนเทศในกลุ่มนักเรียน
นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
สถานที่ : สถานีโทรทัศน์ Thai
PBS
กลุ่มเป้าหมาย : เด็ก นักเรียน
นักศึกษา และประชาชนทั่วไป
ระยะเวลาดาเนินการ : เดือน
มีนาคม 2558 เป็นต้นไป
ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ประชาชนได้รู้จักและเข้าใจถึงเรื่องเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกับชีวิตประจาวัน
ได้อย่างง่าย
หน่วยงานทีรับผิดชอบ: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน)
(สทอภ.)
3) โครงการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) เพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด
ย่อม และวิสาหกิจชุมชน/โอทอป (STI for SMEs and Community/OTOP)
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการดาเนินโครงการ STI for SMEs ตามแผนงานบูรณาการนโยบายภาครัฐ
ภายใต้แผนงาน Agenda Based ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์ประเทศ แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และยุทธศาสตร์
พัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ โดยดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานหลักภายในกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
และหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐภาคเอกชน และมหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนให้ SMEs มีความรู้
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 19สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
ความเข้าใจ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น และสามารถนามาใช้ในการสร้างนวัตกรรม สร้าง
รายได้ เพิ่มการส่งออก บนฐานความรู้ เพื่อให้ประเทศก้าวพ้นกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง ลด
ช่องว่างทางสังคม พัฒนาเศรษฐกิจภูมิภาคเพื่อให้เกิดการกระจายรายได้ ซึ่งจะช่วยสร้างขีด
ความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมและส่งผลระยะยาวต่อการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม
ของประเทศ รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาบุคลากรด้าน วทน. ทั้งในภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ที่
สามารถทางานร่วมกัน และเชื่อมโยงความต้องการของอุตสาหกรรม
ที่มา: http://www.nia.or.th
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 20สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
4) มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)
จัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปีของประเทศและภูมิภาคเอเชีย เพื่อ
เฉลิมฉลองวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปี และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย
เดช พระบิดาแห่งเทคโนโลยีไทย และพระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย
5) นิทรรศการ “enjoy science careers: สนุกกับอาชีพวิทย์”
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) โดย องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.)
และ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสารวจและผลิต จากัด ร่วมด้วย สถาบันคีนันแห่งเอเซีย จัดทา
โครงการ “Enjoy Science Careers : สนุกกับอาชีพวิทย์” นิทรรศการสร้างความสนใจและแรง
บันดาลใจแก่เยาวชนในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม
และคณิตศาสตร์ หรือ สะเต็ม หนึ่งในโครงการเชิงยุทธศาสตร์ของกระทรวงวิทย์ฯ
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 21สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 22สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
โดยเปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนรู้และทดลองสวมบทบาทเป็นผู้เชี่ยวชาญใน 10 อาชีพสาขาสะเต็มซึ่ง
ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักในสังคมไทย แต่เป็นที่ต้องการของตลาดและมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนา
นวัตกรรมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศประกอบด้วย 1. นักธรณีวิทยา
ปิโตรเลียม 2. นักคิดค้นยา 3. นักวิทยาศาสตร์การอาหาร 4. วิศวกรชีวการแพทย์ 5. นักวิทยาศาสตร์
เครื่องสาอาง 6. นักนิติวิทยาศาสตร์ 7. นักปรับปรุงพันธุ์พืช 8. นักออกแบบผลิตภัณฑ์ 9. นักพัฒนา
ซอฟต์แวร์ และ 10. นักออกแบบและสร้าง ภาพเคลื่อนไหว โดยเยาวชนได้ทดลองสวมบทบาทเป็น
ผู้เชี่ยวชาญ และได้สนุกกับการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือจริงในการประกอบอาชีพ ทั้งยังได้พบปะกับ
บุคคลต้นแบบที่จะมาแนะแนวเส้นทางสู่การประกอบ 10 อาชีพสะเต็ม เพื่อให้เยาวชนสามารถเดินไป
ถูกทางว่า หากอยากประกอบอาชีพนั้น ๆ ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวอย่างไร
6) โครงการอื่น ๆ
โดยหนึ่งในองค์กรภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ที่ทาหน้าที่ช่วยสร้างความตระหนักและการมีส่วน
ร่วมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ก็คือ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งแนวคิดหลักของการดาเนินโครงการสร้างความตระหนักของ สวทช. นั้น เน้นไป
ที่การใช้ทรัพยากร ได้แก่ องค์ความรู้ บุคลากร และเครือข่ายที่มีอยู่ และเน้นการหาพันธิตร หรือ
ผู้สนับสนุนร่วมในการดาเนินงาน โดยมีเป้าหมายของการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่คานึงถึงคุณภาพ
มากกว่าที่จะเน้นเชิงปริมาณ และเน้นไปที่การดาเนินงานในเรื่องที่มีผลกระทบสูงกับสังคม ซึ่ง สวทช.
ได้ดาเนินโครงการประกอบด้วย 1) การเสริมสร้างความรู้ผ่านสื่อ 2) การพัฒนาผู้ผลิตสื่อ 3) การจัด
นิทรรศการและกิจกรรมวิชาการ 4) การพัฒนาครู เป็นต้น
โดยที่ผ่านมา สวทช. ได้จัดกิจกรรมด้านการเสริมสร้างความรู้ผ่านสื่อ เช่น การสนับสนุนรายการ
โทรทัศน์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชม ซึ่งจากการสารวจโดยบริษัท
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 23สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
จัดอันดับความนิยม พบว่ารายการ Mega Clever, Sponge และ Beyond Tomorrow มีจานวน
ผู้ชมเฉลี่ยเกิน 2 ล้านคนต่อตอน สาหรับการพัฒนาผู้ผลิตสื่อนั้น ทาง สวทช. ได้จัดให้ ศูนย์สื่อสาร
วิทยาศาสตร์ไทย (Thai Science Media Center, TSMC) เป็นหน่วยงานกลางในการประสาน
ผู้เชี่ยวชาญให้ตอบข้อสงสัยที่เกิดขึ้นในสังคม ตลอดจนการจัดอภิปรายหรือเสวนากับความก้าวหน้า
ทางวิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจ แก่สื่อสาธารณะเป็นระยะ ๆ และสร้างเครือข่ายระหว่างนักวิจัยกับ
สื่อมวลชนให้สามารถทางานร่วมกันได้สะดวกขึ้น สาหรับการจัดกิจกรรมวิชาการและการพัฒนาครู
นั้น ทาง สวทช.ได้จัดกิจกรรมในด้านดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ดังเช่น มหกรรมประกวดเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสาร รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น โครงการส่งเสริมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ โครงการบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร กิจกรรมค่ายหุ่นยนต์ปลา โครงการอบรมและ
สัมมนาหลักสูตรนาโนเทคโนโลยี ฯลฯ
นอกจากนี้ สวทช. ได้ดาเนินโครงการหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์ และโครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีในโรงเรียนชนบทต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน โดยเข้าไปช่วยจัดสร้างกระบวนการเพื่อดึง
ศักยภาพที่เข้มแข้งของชุมชนบนฐานเกษตรกรรมออกมาได้อย่างชัดเจนและเป็นระบบ เช่น การ
พัฒนาเทคโนโลยีการการคัดพันธุ์ข้าวสาลีของบ้านผาคับ จ.น่าน การปลูกแมกคาเดเมียที่สร้างมูลค่า
หลายล้านบาทต่อปีของหมู่บ้านบ่อเหมืองน้อย-ห้วยผัก จ.เลย การศึกษาความหลากหลายท้องถิ่นและ
เทคโนโลยีการขยายพันธุ์ดอกดาหลาเป็นพืชเศรฐกิจ ในหมู่บ้านบาลา-เจ๊ะเด็ง จ. นราธิวาสเป็นต้น
นอกจากนี้ประเทศไทยยังเคยมีโอกาสร่วมมือกับสหภาพยุโรปในการสร้างความตระหนักด้าน
วิทยาศาสตร์ในเมืองไทย โดยในปี พ.ศ. 2556 สวทช. ร่วมกับ โครงการร่วมมือหารือทางนโยบาย
ระหว่างไทยและสหภาพยุโรป สานักงานคณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจาประเทศไทย จัดการประชุม
นานาชาติว่าด้วยเรื่อง “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาหรับเยาวชนและบุคคลทั่วไป” โดยมี
ผู้เชี่ยวชาญจากสหภาพยุโรปทั้งด้านการทาหนังสือ ตารา หรือพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ มาช่วยไทย
สร้างความตระหนักทางด้านวิทยาศาสตร์แก่เยาวชนและประชาชน
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 24สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
จากการศึกษากรอบแนวคิดการวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อถือได้ (Responsible Research and
Innovation, RRI) ของสหภาพยุโรป พบว่ามีปัจจัยหลักสาคัญทั้งหมด 6 ข้อ ที่ประเทศไทยสามารถ
นามาใช้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ได้
ประเด็นแรกคือการมีส่วนร่วมของบุคคลจากทุกภาคส่วน รวมถึงนักวิจัย ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ผู้
กาหนดนโยบาย และองค์กรประชาสังคม มาทางานร่วมกันในกระบวนการวิจัยและนวัตกรรม เป็น
การทางานที่ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม ซึ่งในสหภาพยุโรปได้มีการระบุไว้ในกฎบัตรสิทธิขั้นพื้นฐาน กรอบ
แนวคิดการวิจัยและนวัตกรรมที่ยอดเยี่ยมนั้นต้องครอบคลุมความท้าทายเชิงสังคมโดยพิจารณาจาก
ประเด็นด้านสังคม เศรษฐกิจ จรรยาบรรณ และหลักการร่วมกัน นอกจากนี้ต้องมีการเรียนรู้และ
ข้อตกลงในการทางานร่วมกัน เพื่อหาทางแก้ปัญหาเชิงสังคมและสร้างโอกาสทางสังคมโดยใช้การวิจัย
และนวัตกรรม รวมถึงการคาดการณ์ความล้มเหลวที่อาจจะเกิดขึ้นเพื่อสร้างนวัตกรรมในอนาคต
1
การมีส่วนร่วมของบุคคลจากทุกภาคส่วน
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 25สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
การมีส่วนร่วมแปลว่าเพศหญิงและเพศชายต้องทางานร่วมกัน ในปัจจุบันพบว่ามีผู้หญิงจานวนน้อยที่
ทางานด้านวิจัยและนวัตกรรม ปัญหานี้ต้องได้รับการแก้ไข การบริหารทรัพยากรบุคคลของ
สถาบันวิจัยต้องมีการปรับให้ทันสมัยขึ้น ต้องมีการบรรจุประเด็นเรื่องเพศภาวะเป็นเนื้อหาด้านการ
วิจัยและนวัตกรรมด้วย
นอกจากต้องเพิ่มจานวนนักวิจัยแล้ว ยังมีความจาเป็นต้องเสริมสร้างระบบการศึกษาที่สร้างนักวิจัย
และผู้ที่ทางานด้านสังคมในอนาคตที่มีความรู้และเครื่องมือในการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ
กระบวนการด้านการวิจัยและนวัตกรรมได้ การเพิ่มความสนใจของเด็กและเยาวชนในวิชาคณิตศาสตร์
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นความจาเป็นอย่างเร่งด่วน เพื่อให้เด็กเหล่านี้เป็นนักวิจัยในอนาคต
และช่วยสร้างสังคมที่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์
เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ การวิจัยและนวัตกรรม ต้องโปร่งใสและเข้าถึงได้ ประชาชนต้องสามารถ
เข้าถึงข้อมูลการวิจัยได้โดยเสรี โดยที่ประชาชนสามารถเข้าไปอ่านผลการวิจัยที่รับทุนจากกองทุนของ
2
ความเสมอภาคด้านเพศภาวะ
3
การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์
4
การเข้าถึงข้อมูลการวิจัยได้โดยเสรี
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 26สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
รัฐ (การตีพิมพ์บทความและข้อมูลวิจัย) จากฐานข้อมูลออนไลน์ได้ เพื่อให้สังคมมีการสร้างนวัตกรรม
เพิ่มขึ้นและใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยในทุกภาคส่วน
สังคมโดยทั่วไปตั้งอยู่บนพื้นฐานของค่านิยมร่วม ในการแก้ปัญหาที่ท้าทายสังคมนั้น การวิจัยและ
นวัตกรรมต้องเคารพในสิทธิขั้นพื้นฐานและมีจรรยาบรรณสูงสุด นอกเหนือจากประเด็นทางด้าน
กฏหมายแล้วการวิจัยและนวัตกรรมต้องเชื่อมโยงกับสังคมและเป็นที่ยอมรับของสังคมมากที่สุด
ไม่ใช่การทาวิจัยเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่มีคุณภาพเท่านั้น
ประเด็นสุดท้ายเป็นร่มใหญ่ของประเด็นอื่น ๆ ทุกด้าน นั่นคือ ระบบอภิบาล ผู้กาหนดนโยบายมีหน้าที่
ป้องกันไม่ให้มีการวิจัยและนวัตกรรมที่เป็นอันตรายหรือขาดจรรยาบรรณ โดยเหตุผลประการนี้ เราจึง
พัฒนาแม่แบบด้านการวิจัยและพัฒนาที่ประสานระหว่างการมีส่วนร่วมของประชาชน ความเสมอภาค
ด้านเพศภาวะ การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ การเข้าถึงแบบเสรี และจรรยาบรรณเข้าด้วยกัน
5
จรรยาบรรณ
6
ระบบอภิบาล
การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์
หน้า 27สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์
สาหรับประเด็นข่าวเท็จ ด้าน วทน. ที่มีการเผยแพร่ตามสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ทาให้ประชาชนเกิดความ
เข้าใจผิดนั้น มีสาเหตุมาจากการใช้สังคมออนไลน์ในทางที่ผิด โดยข่าวสารที่เป็นเท็จถูกส่งต่อจากอีก
คนไปยังอีกคนอย่างรวดเร็วมาก อาทิเช่น “ตารายารักษาโรคมะเร็ง หายขาดภายใน 6 วัน” และ
“ข้าวปลอมจากพลาสติกจากประเทศไนจีเรีย ตรวจจับได้กว่า 100 ถุง” เป็นต้น ข้อมูลหรือข่าว
มากมายที่ถูกส่งต่อเพียงแค่กดแชร์โดยไม่ได้รับการตรวจสอบ หลายคนเมื่อได้รับข่าว รูปภาพหรือ
ข้อมูลเรื่องใด ๆ มา ก็เชื่อและกดแชร์ในทันที โดยไม่ได้ตรวจสอบก่อนว่าข่าวดังกล่าวนั้นจริงหรือไม่
ข้อมูลบางอย่างนอกจากจะก่อให้เกิดการเข้าใจผิดหรือความวิตกกังวลโดยใช่เหตุแล้ว หากถูกนาเอาไป
ปฏิบัติใช้จริง ผลที่ตามมาอาจจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินของผู้รับสาร
สาหรับการตรวจสอบว่าข้อมูลที่เราเห็นในสังคมออนไลน์นั้นเป็นเท็จหรือจริงสามารถทาได้เบื้องต้น
ดังนี้
- เมื่อเราเห็นข่าวบนสังคมออนไลน์ เราควรนา keywords ของข่าวนั้นมาค้นหาผ่าน search
engine อย่าง google เพื่อดูว่ามีสานักข่าวอื่น ๆ เผยแพร่ข่าวในทานองเดียวกันหรือไม่
เพราะถ้าข่าวที่เราได้ทราบมาเป็นข่าวจริง มันย่อมไม่ถูกนาเสนอโดยจากแหล่งข่าวเดียวอย่าง
แน่นอน
- การตรวจสอบแหล่งข่าว นั้นเป็นสิ่งที่สาคัญเช่นเดียวกัน โดยปกติแล้วข่าวที่น่าเชื่อถือได้มาก
ที่สุด ก็คือข่าวที่เราได้เป็นผู้ประสบเองโดยตรง แต่สาหรับข่าวที่เราได้อ่านและฟังมาอีกทีหนึ่ง
การตรวจสอบข่าวเท็จ
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์
รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์

More Related Content

More from Namchai Chewawiwat

ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ Namchai Chewawiwat
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ Namchai Chewawiwat
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9Namchai Chewawiwat
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Namchai Chewawiwat
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ Namchai Chewawiwat
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ Namchai Chewawiwat
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) Namchai Chewawiwat
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO Namchai Chewawiwat
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Namchai Chewawiwat
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV Namchai Chewawiwat
 
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น Namchai Chewawiwat
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้Namchai Chewawiwat
 
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Namchai Chewawiwat
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Namchai Chewawiwat
 
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" Namchai Chewawiwat
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโตNamchai Chewawiwat
 
A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay  A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay Namchai Chewawiwat
 
ฝังความคิด - Inception
ฝังความคิด - Inception ฝังความคิด - Inception
ฝังความคิด - Inception Namchai Chewawiwat
 

More from Namchai Chewawiwat (20)

ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ  ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
ไฮเปอร์ลูป (hyperloop) สำหรับคนทั่วไป: แนวคิดและผลกระทบ
 
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์ ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
ในหลวงรัชกาลที่ ๙ กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของไทย โดย ดร.นำชัย ช่ีววิวรรธน์
 
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
ปฏิทินเทิดพระเกียรติพระอัจฉริยภาพทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของในหลวง ร.9
 
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
Note on Cosmos for Facebook Live by Namchai
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์ กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
กว่าจะเป็นหนังสือกำเนิดสปีชีส์
 
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
รายงานเรื่องอาหาร GMOs กับมนุษย์ โดยราชสมาคม, อังกฤษ
 
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย) การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
การสอบสวนเรื่องข้าวโพด GMOs โดย CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกา (แปลไทย)
 
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO 20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
20 คำถามเกี่ยวกับอาหาร GMOs โดย WHO
 
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
Maker Faire Berlin, Science & Other Museums
 
Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books Sharing Experiences on Books
Sharing Experiences on Books
 
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
ข้อควรรู้เีกี่ยวกับ MERS และ MERS-CoV
 
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
แผ่นดินไหว : วิทยาศาสตร์เบื้องต้น
 
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
คำนิยม หนังสือ "กำเนิดสปีชีส์" โดย ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. วิสุทธิ์ ใบไม้
 
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
Cryogenics แช่แข็งสู่โลกหน้า
 
Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416Note from translators final-20150416
Note from translators final-20150416
 
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ" คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
คำนิยมหนังสือ "โลกที่เต็มไปด้วยปีศาจ"
 
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
50 วรรณกรรมที่ต้องได้อ่านก่อนโต
 
A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay  A Fish Caught in Time - Review by Fay
A Fish Caught in Time - Review by Fay
 
ฝังความคิด - Inception
ฝังความคิด - Inception ฝังความคิด - Inception
ฝังความคิด - Inception
 

รายงานผลการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลนโยบาย มาตรการในสหภาพยุโรป โดย สำนักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบรัสเซลส์

  • 2. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 1สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ สารบัญ ความตระหนักในวิทยาศาสตร์ของประชาชน.........................................................................................2 วิทยาศาสตร์และการกาหนดนโยบาย....................................................................................................6 การมีส่วนร่วมของสาธารณชนในด้านวิทยาศาสตร์ในสหภาพยุโรป.......................................................7 การสร้างความตระหนักด้าน วทน. และส่งเสริมการมีส่วนร่วมการมีส่วนร่วมของประชาชนต่องานด้าน วทน. ในประเทศไทย .............................................................................................................................................................16 ปัจจัยการสร้างความตระหนักด้าน วทน. และส่งเสริมการมีส่วนร่วมการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อ งานด้าน วทน. ในประเทศไทย .............................................................................................................................................................25 การตรวจสอบข่าวเท็จ.........................................................................................................................27
  • 3. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 2สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ วิทยาศาสตร์ส่งผลต่อชีวิตประจาวันของเราและมีอิทธิพลต่อการวางนโยบายของรัฐ โดยแรงจูงใจใน การให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มี 4 ประการดังต่อไปนี้  ความจาเป็นด้านประโยชน์นิยม —การสร้างทักษะและความรู้เฉพาะทางที่มีประโยชน์ต่อชีวิตใน วงกว้าง  ความจาเป็นด้านเศรษฐกิจ —สังคมที่ก้าวหน้าต้องมีแรงงานที่มีทักษะเฉพาะทางและวิทยาศาสตร์ ช่วยเพิ่มผลผลิตของประเทศชาติได้  ความจาเป็นด้านวัฒนธรรม—วิทยาศาสตร์เป็นมรดกร่วมของประชาชน  ความจาเป็นด้านประชาธิปไตย— วิทยาศาสตร์มีผลต่อนโยบายหลัก ๆ ในสังคม ดังนั้น สาธารณชนต้องมีความสามารถในการเข้าใจข้อมูลวิทยาศาสตร์เบื้องต้น ความตระหนักในวิทยาศาสตร์ของประชาชน ทัศนคติของสาธารณชนที่มีต่อวิทยาศาสตร์
  • 4. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 3สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ แม้ว่าในช่วงเวลา 30 ปีที่ผ่านมา สาธารณชนมีทัศนคติด้านบวกต่อวิทยาศาสตร์มากขึ้น แต่คนส่วน ใหญ่ยังขาดการเชื่อมโยงหรือความเข้าใจในวิทยาศาสตร์ ตัวอย่างเช่น ในการสารวจทัศคติของ สาธารณชนที่มีต่อวิทยาศาสตร์พบว่า สาธารณชนยังไม่ค่อยทราบว่านักวิทยาศาสตร์ทางานอย่างไร และบางครั้งไม่ค่อยแน่ใจว่าข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ปรากฏในสื่อ เช่นสังคมออนไลน์ ว่าจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด โลกทัศน์เชิงวัฒนธรรมสามารถส่งผลต่อการเผยแพร่ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์และการรับรู้ข้อมูลของ ประชาชน มุมมองทางการเมือง ศาสนา และ ระบบความเชื่อมีความสาคัญมาก โดยเฉพาะเมื่อสังคม ไม่สามารถหาข้อตกลงบางประเด็นในเชิงวิทยาศาสตร์ได้ มุมมองเหล่านี้สามารถบิดเบือนข้อมูลเชิง วิทยาศาสตร์และทาให้คนบางกลุ่มรู้สึกแปลกแยก การชักชวนบุคคลจากทุกภาคส่วนมาร่วมเป็นผู้ให้ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์จึงมีความสาคัญเป็นอันมาก ในการริเริ่มการสื่อสารด้านวิทยาศาสตร์ เมื่อมีคนหลายกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วม การเผยแพร่ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์จึงต้องคานึงถึงลักษณะของชุมชนและจารีตประเพณีที่แตกต่างกัน การแต่งตั้งบุคคล แม่แบบจากทุกภาคส่วนที่มีความสนใจในการให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์กับสาธารณชน นอกจากจะ ทาให้คนมีส่วนร่วมในด้านวิทยาศาสตร์มากขึ้นแล้ว ยังช่วยให้แวดวงวิทยาศาสตร์มีบุคลากรที่มาจาก วัฒนธรรม สภาพเศรษฐกิจและสังคมที่หลากหลายมากขึ้นด้วย แนวทางจัดศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ (science, technology, engineering and mathematics, STEM) ซึ่งมักนิยมเรียกย่อๆว่าสะเต็มศึกษา มี บทบาทสาคัญในการช่วยให้เยาวชนมีความรู้และทักษะที่จาเป็นต่อการมีส่วนร่วมและการช่วยเหลือ สังคม แต่ยังเป็นที่น่ากังวลใจว่าเยาวชนจานวนมากยังขาดทักษะ STEM ซึ่งส่งผลเสียให้กับเศรษฐกิจ ของประเทศ การมีส่วนร่วมของเยาวชน
  • 5. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 4สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ การศึกษาพบว่าความสัมพันธ์ระหว่างเยาวชนกับผู้ปกครองมีบทบาทสาคัญในการสร้างทัศนคติที่ดีต่อ การเรียนวิชา STEM ในขณะเดียวกันก็เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้เยาวชนคิดว่าวิชาวิทยาศาสตร์และ นักวิทยาศาสตร์เป็นพวกมีสติปัญญาสูงเท่านั้น ซึ่งทาให้เยาวชนบางคนไม่อยากเรียนวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย Imperial College London ณ สหราชอาณาจักร ได้แนะนาให้มีเพิ่มบุคคลด้าน วิทยาศาสตร์ที่ปรากฏในสื่อมวลชนที่มีลักษณะและภูมิหลังที่หลากหลายมากขึ้น เพื่อให้สาธารณชนไม่ ยึดติดกับทัศนคติเดิม ๆ ที่มีต่อบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์ ในประเด็นเรื่องความสาคัญของความสัมพันธ์ระหว่างผู้ปกครองและเด็ก โดนเฉพาะบทบาทของแม่ใน การสร้างทัศนคติต่อวิชา STEM นั้น โครงการ ASPIRES พบว่าปัจจัยที่มีอิทธิพลมากที่สุดต่อแรง ปรารถนาของเด็กในชั้นมัธยมศึกษาที่ 2 คือสมาชิกในครอบครัวหรือคนใกล้ชิดที่ทางานด้าน วิทยาศาสตร์หรือมีความสนใจด้านวิทยาศาสตร์ เป็นอย่างยิ่ง กิจกรรมหรือโครงการด้าน STEM ที่ไม่เป็น ทางการ ช่วยสร้างแรงบันดาลใจให้กับนักเรียน โดยเฉพาะกิจกรรมที่นักเรียนได้ลงมือทาเอง และได้ประสบการณ์ในการเรียน พิพิธภัณฑ์ วิทยาศาสตร์ของท้องถิ่นหรือระดับชาติ ชมรม ธรรมชาติ และการจัดเทศกาลต่าง ๆ ช่วยเสริม การเรียนวิชา STEM ในโรงเรียนได้เป็นอันมาก ในขณะที่นักเรียนจานวนมากที่มาจากครอบครัว บางประเภทได้รับข้อมูลและทัศคติเชิงลบต่อ ที่มา: www.shareicon.net ที่มา: cz.usembassy.gov
  • 6. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 5สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ วิทยาศาสตร์ และทาให้พวกเขาไม่ต้องการเรียนวิชาด้านวิทยาศาสตร์ ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงแนวคิด ด้านวิทยาศาสตร์และการทาให้นักเรียนรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโลกวิทยาศาสตร์จึงไม่สามารถทาได้จาก การจัดกิจกรรมเพียงครั้งเดียวแต่จะต้องมีกลยุทธ์ระยะยาวในการสร้างการมีส่วนร่วมของเยาวชน มีโครงการริเริ่มเพื่อเพิ่มความตระหนักและการมีส่วนร่วมของสาธารณชนในด้านวิทยาศาสตร์หลาย โครงการ รวมทั้งโครงการที่มีวัตถุประสงค์ช่วยส่งเสริมการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน กิจกรรม เหล่านี้มีความสาคัญยิ่งในการเพิ่มทุนด้านวิทยาศาสตร์ ปัญหา 3 ประการที่เกิดจากนาเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ของสื่อที่อาจจะทาให้คนเกิดความเคลือบ แคลงในวิทยาศาสตร์นั้น คือ  นักข่าวจานวนน้อยมากที่เป็นนักวิทยาศาสตร์ ดังนั้นจึงมีการนาเสนอข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ ทั้งที่ขาดความเข้าใจในเรื่องนั้น ๆ โดยเห็นได้บ่อยว่าสื่อไม่สามารถนาข้อมูลสถิติมาใช้ได้อย่าง ถูกต้อง  สื่อต่าง ๆ ทั้งที่เป็นสื่อสิ่งพิมพ์และสื่อออนไลน์บางครั้งมีวาระซ่อนเร้นอยู่ สื่อจึงจงใจบิดเบือน ผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนวาระที่ตนวางไว้  สื่อต้องการนาเสนอเนื้อหาที่น่าเร้าใจ ในขณะที่วิทยาศาสตร์ไม่ใช่เรื่องที่น่าเร้าใจเสมอไป ดังนั้นจึงพบว่ามีการบิดเบือนผลการวิจัยทางวิทยาศาสตร์เพื่อให้ดูน่าเร้าใจมากขึ้นเพราะ เนื้อหาแบบนี้จะถูกนาไปเผยแพร่ต่อในวงกว้าง แต่ผลการวิจัยที่นาเสนอข้อเท็จจริงมาค้าน ข้อมูลที่บิดเบือนนั้นกลับไม่ได้รับความสนใจเท่าเทียมกัน นอกเหนือจากการนาเสนอข่าวของสื่อ รายการบันเทิงก็สามารถเปลี่ยนความคิดและความนิยมในด้าน วิทยาศาสตร์ได้ อย่างที่เห็นได้จาก “อิทธิพลจากละครเรื่อง CSI” ซึ่งเป็นละครแนวนิติวิทยาศาสตร์ที่ ทาให้นักศึกษาหันมาสนใจเรียนสาขานิติวิทยาศาสตร์เพิ่มขึ้นเป็นจานวนมาก บทบาทของสื่อ ที่มา: eduadvisor.my
  • 7. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 6สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ ความพยายามในการสื่อสารข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์ในระยะเริ่มแรก ใช้”รูปแบบการขาดความรู้” ซึ่ง เป็นแนวคิดที่เชื่อว่าความเคลือบแคลงสงสัยในวิทยาศาสตร์ของสาธารณชนเกิดจากการขาดความรู้ หรือความเข้าใจ และสามารถแก้ไขได้โดยการเผยแพร่หรือให้ความรู้มากขึ้น การใช้แนวคิดนี้ถูกวิจารณ์ ว่าไม่ได้คานึงถึงลักษณะเฉพาะของบุคคลและบริบททางวัฒนธรรมที่ส่งผลต่อความเข้าใจใน วิทยาศาสตร์ของคนเหล่านั้น นักวิจัยจึงได้พัฒนาทฤษฎีที่เน้นกรอบแนวคิดเชิงบริบทเพื่อให้การซึมซับ ข้อมูลด้านวิทยาศาสตร์เกิดจากทัศคติและสิ่งแวดล้อมทางสังคม โดยสรุป ผู้ที่ทาหน้าที่ให้ข้อมูลด้าน วิทยาศาสตร์จะต้องเข้าใจกลุ่มผู้รับสารจึงสามารถทาให้ผู้รับสารรู้สึกมีส่วนร่วมด้านวิทยาศาสตร์ได้ การสื่อสารด้านวิทยาศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพระหว่างนักวิจัยและสาธารณชนเป็นเรื่องสาคัญ แต่ ความร่วมมือระหว่างภาครัฐและประชาชนก็มีความสาคัญไม่น้อยไปกว่ากัน และโดยเป็นแรง ขับเคลื่อนหลักในสถาบันการวิจัย ในขณะที่ถูกกาหนดจากการวางกรอบนโยบาย รัฐบาลมีบทบาทสาคัญในการให้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ รัฐบาลเป็นผู้ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ระดับสูงที่ สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพและทาให้การเผยแพร่ความรู้ด้าน วิทยาศาสตร์และการกาหนดนโยบาย ที่มา: enterprise.microsoft.com
  • 8. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 7สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ วิทยาศาสตร์มีคุณภาพ รัฐต้องเข้าใจระบบการวิจัย ตระหนักถึงความสาคัญของความมีอิสระของ นักวิจัย และความเชื่อมั่นของสาธารณชนที่มีต่อการทาวิจัย มีความกังวลว่า นักวิทยาศาสตร์ที่ ทางานในภาครัฐสามารถเผยแพร่ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ได้อย่าง จากัด นักวิทยาศาสตร์ที่ทางานใน องค์กรของรัฐไม่สามารถให้ข้อมูล วิท ยาศ าสต ร์ใน ส าข าที่ ต น เชี่ยวชาญกับสื่อได้อย่างเสรี สามารถให้ข้อมูลบางอย่างได้ เท่านั้น นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้ ได้รับทุนสนับสนุนจากสาธารณชน เพื่อทางานวิจัยเพื่อประโยชน์ของ สาธารณชนในด้านต่าง ๆ เช่น การผลิตวัคซีน ผึ้งและยาฆ่าแมลง โรคในพืช บุหรี่ไฟฟ้า โรคอีโบล่า การตัดแต่งพันธุกรรม เป็นต้น นักวิทยาศาสตร์เหล่านี้พยายามเผยแพร่ผลการวิจัย แต่จะทาได้ก็ต่อเมื่อได้รับอนุญาตจากกรม ประชาสัมพันธ์และอยู่ภายใต้การควบคุมอย่างเคร่งครัด หลักสาคัญของการวิจัยคือ การเปิดกว้างเพื่อทาให้สาธารณชนมีความไว้วางใจ เพิ่มความโปร่งใส สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ข้อมูลอย่างกว้างขวางที่สุดเท่าที่จะทาได้ และสามารถอภิปรายผลการวิจัย ได้อย่างตรงไปตรงมา รัฐบาลมีหน้าที่เบื้องต้นในการอุ้มชูและนาวิทยาศาสตร์มาบรรจุในการวางนโยบาย รัฐบาลควรดาเนิน โครงการระดับชาติอย่างต่อเนื่องและเสริมความแข็งแกร่งให้โครงการเหล่านั้น และควรจะนามาใช้ใน องค์กรของรัฐหลาย ๆ หน่วยงานเพื่อรวบรวมความเห็นของประชาชนในการวางนโยบายของรัฐที่ เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ ที่มา: sunleafmedical.com
  • 9. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 8สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ การสารวจทัศคติต่อวิทยาศาสตร์ในปี ค.ศ. 2014 พบว่า ผู้ออกกฎหมาย รัฐบาล และนักวิทยาศาสตร์ จาเป็นต้องมีการเสวนากับสาธารณชน โดยปกติแล้วหน่วยงานของรัฐมีการปรึกษาหารือกับ สาธารณชนด้านนโยบายในขั้นตอนท้าย ๆ ของการกาหนดนโยบาย การปรึกษาหารือเป็นเครื่องมือสาคัญในการเข้าใจมุมมองของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและเป็นหลักฐานที่ สามารถนาไปสู่การออกนโยบายของรัฐได้ ผู้ที่เข้าร่วมการปรึกษาหารือด้านนโยบายนั้นมักจะเป็น ตัวแทนจากองค์กรที่มีความสนใจในนโยบายเป็นพิเศษเท่านั้น แต่ไม่ได้มาจากประชาชนที่ได้รับ ผลกระทบจากนโยบายนั้น ๆ การกระตุ้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมอย่างจริงจังในการกาหนดนโยบายด้านเทคโนโลยีจาเป็นต้อง มีการตั้งคาถามที่ประชาชนสามารถตอบได้ อีกทั้งองค์ประกอบ “ทางการเมือง” ในการกาหนด นโยบายด้านเทคโนโลยีจะต้องแยกออกจากองค์ประกอบ “ทางวิชาการ” ในบริบทนี้องค์ประกอบ “ทางวิชาการ” หมายถึงสิ่งที่กลุ่มผู้เชี่ยวชาญเห็นประจักษ์แล้ว (เช่น มีความเป็นไปได้มากที่กิจกรรม ของมนุษย์ทาให้เกิดปัญหาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ) ในขณะที่องค์ประกอบ “ทางการเมือง” คือการนาความรู้ที่ได้นั้นมาดาเนินการ (เช่น การจัดการที่เหมาะสม ระหว่างการปรับ หรือการบรรเทา ทุกข์) ถึงแม้ว่าการตัดสินใจทางการเมืองควรคานึงถึงคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แต่นักกาหนดนโยบาย มีสิทธิที่จะไม่ทาตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญและใช้ทางเลือกอื่นแทน หน่วยงานของรัฐควรมีความรอบคอบในการแยกแยะระหว่างกระบวนการขอคาแนะนาจาก ผู้เชี่ยวชาญ การกระตุ้นการมีส่วนร่วมของประชาชน และความเห็นที่ได้รับความนิยมจากคนส่วนใหญ่ กระบวนการทั้งสามกระบวนการนี้มีวัตถุประสงค์ที่ถูกต้องตามกระบวนการทั้งสิ้นแต่ต้องมีวิธีการที่ การกาหนดนโยบายของรัฐและการปรึกษาหารือด้านนโยบาย ที่มา: feedbacklabs.org
  • 10. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 9สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ ต่างกันเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์ที่ต่างกัน การกาหนดนโยบายมีความจาเป็นต้องใช้ความเห็นของ ผู้เชี่ยวชาญ แต่ในขณะเดียวกันต้องมีการแยกแยะว่าคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญนามาใช้ในการ แก้ปัญหาเชิงวิชาการเท่านั้น ปัญหาทางการเมืองจาเป็นต้องใช้วิธีแก้ไขเชิงการเมือง นักกาหนด นโยบายต้องไม่นาเอาความเห็นของนักวิชาการมาใช้อย่างผิด ๆ นั่นหมายความว่านักกาหนดนโยบายมี เสรีภาพในการเลือกที่จะไม่ทาตามคาแนะนาของผู้เชี่ยวชาญ แต่ประชาชนต้องรับทราบกระบวนการ ดังกล่าวด้วย วิทยาศาสตร์และการเมือง (รวมทั้งดุลพินิจทางการเงินและกฎหมาย) เป็นหัวใจสาคัญของการกาหนด นโยบายของรัฐ ถ้าองค์ประกอบทั้งสองประการนี้ไม่ไปในทางเดียวกัน รัฐบาลต้องเลือกระหว่างข้อมูล เชิงวิทยาศาสตร์ สิ่งที่ทาได้และเป็นไปตามตัวบทกฎหมาย และสิ่งที่สาธารณชนเห็นว่าโปร่งใส กระบวนการปรึกษาหารือกับประชาชนในการกาหนดนโยบายมักจะอ้างถึงข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์กับ ปัจจัยอื่น ๆ ไปด้วยกัน เพื่อว่าในการอภิปรายทางการเมืองนั้นสามารถนาความเข้าใจด้านวิทยาศาสตร์ มาใช้ตามความเหมาะสม รัฐสามารถนาข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์มาใช้มากหรือน้อย แต่เมื่อรัฐเลือกที่จะ ไม่ใช้ข้อมูลเชิงวิทยาศาสตร์มาประกอบการวางนโยบาย รัฐต้องชี้แจงว่าการไม่ใช้ข้อมูลนั้นไม่ได้เป็น เพราะรัฐไม่เชื่อในข้อมูลเชิงวิทยศาสตร์ที่ได้รับ การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ในการแก้ปัญหาในโลกปัจจุบันได้อย่างรวดเร็วและเห็นผลนั้น ไม่ได้เกิดจากความสาเร็จของการวิจัยเพียงอย่างเดียวแต่ยังมาจากการยอมรับของสาธารณชนใน ผลการวิจัยนั้นด้วย การยอมรับของสาธารณชนขึ้นอยู่กับทัศนคติต่อสิ่งที่วิจัยและลักษณะนิสัยของ นักวิจัยด้วย ในทศวรรษที่ผ่านมา วงการ วิทยาศาสตร์ได้สร้างความเคลือบแคลงใจให้กับ สาธารณชนหลายเรื่องเมื่อความก้าวหน้าหรือ ทฤษฎีด้านวิทยาศาสตร์ขัดแย้งกับค่านิยมเชิง วัฒนธรรมหรือความเชื่อทางศาสนา การลดทอนความตึงเครียดที่เกิดขึ้นนี้ทาได้โดยการ จัดให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา ที่มา: feedbacklabs.orgการมีส่วนร่วมของสาธารณชนในด้านวิทยาศาสตร์ในสหภาพยุโรป
  • 11. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 10สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ เท่าที่จะทาได้ ในกระบวนการนี้ นักวิทยาศาสตร์จะต้องเป็นผู้ฟัง ตอบข้อสงสัยของประชาชน และให้ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์กับประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนได้ถูกผลักดันมากขึ้นเรื่อย ๆ โดย องค์กรของรัฐและที่ไม่ใช่ของรัฐ และกลายมามีบทบาทสาคัญต่อนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก การมีส่วนร่วมของประชาชน ห ม าย ถึ ง ก าร เส ว น าแ ล ะ แลกเปลี่ยนระหว่างคนหลายกลุ่ม เพื่อสร้างความ เข้าใจร่วมกัน การ ร่วมกันกาหนดผลลัพธ์ของการวิจัย และนวัตกรรม และนาผลผลิตที่ ได้มาบรรจุในนโยบาย การมีส่วน ร่วมของประชาชนเป็นการทางาน ร่วมกันระหว่างนักวิจัย นักกาหนด นโยบาย ภาคธุรกิจ องค์กรประชาสังคมและองค์กรการกุศล และประชาชน เพื่อพิจารณาประเด็น ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป็นกระบวนการที่เน้นความถูกต้องตามจรรยาบรรณ ทาให้ กระบวนการด้านงานวิจัยและนวัตกรรมครอบคลุมคนทุกกลุ่ม มีความโปร่งใส ความหลากหลาย และ สร้างสรรค์ นอกจากนี้ กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนทาให้บุคคลที่เกี่ยวข้องสื่อสารด้วยภาษาเดียวกัน มี ความเข้าใจร่วมกัน เรียนรู้ซึ่งกันและกัน จัดการกับประเด็นที่ขัดแย้ง ร่วมกันเสนอความคิด สร้าง ความรู้ และหาวิธีแก้ปัญหาร่วมกันให้เกิดผลมากที่สุด การมีส่วนร่วมของประชาชนต้องเป็น กระบวนการสองทาง ทั้งเป็นผู้ให้และผู้รับ มีการติชมซึ่งกันและกัน เพื่อว่าผลลัพธ์ที่ได้จากกระบวนนี้ สามารถนามาป้อนกลับสู่กระบวนการวิจัยและนวัตกรรม ประโยชน์ของการนาบุคคลจากทุกภาคส่วนมาทางานร่วมกันในด้านการวิจัยและนวัตกรรมคือ การ สร้างองค์ความรู้ใหม่และการพิจารณาถึงความต้องการเชิงสังคมที่กว้างขวางขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่จะ ทาให้เราสามารถจัดการกับปัญหาทางสังคมที่ซับซ้อนและเชื่อมโยงกัน นอกจากนี้การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในด้านวิจัยและนวัตกรรมยังทาให้เกิด การมีส่วนร่วมของประชาชนในการวิจัยและนวัตกรรม ที่มา: srbbm-banat.ro ความสาคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชน
  • 12. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 11สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์  การเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ในกระบวนการออกแบบการวิจัยและนวัตกรรมและผลลัพธ์ที่ได้  ผลลัพธ์จากการวิจัยและนวัตกรรมตอบสนองความต้องการของสังคมได้มากที่สุด  การใช้เวลาในการประชาสัมพันธ์น้อยลงและผลที่ได้จากการวิจัยและนวัตกรรมมีการยอมรับมาก ขึ้น  การสร้างสังคมที่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ ทาให้ประชากรสามารถใช้ความรู้เป็นเครื่องมือในการ กล้าคิดกล้าทา มีความสนใจในการมีส่วนร่วมและส่งเสริมกระบวนการประชาธิปไตย รวมทั้งมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจการกาหนดงบประมาณและวางนโยบายด้านวิจัยและนวัตกรรม กองอานวยการด้านวิจัยและนวัตกรรมของคณะกรรมาธิการยุโรปมีนโยบายสร้างความร่วมมือระหว่าง นักวิทยาศาสตร์กับสังคม โดยมีการพัฒนากรอบแนวคิดการวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อถือได้ (Responsible Research and Innovation, RRI) ซึ่งเป็นนโยบายที่เกิดจากความต้องการของสังคม และเปิดโอกาสให้คนจากทุกกลุ่มเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการสร้าง RRI ซึ่งเป็นกระบวนการที่ทา ให้การวิจัยและนวัตกรรมเดินทางคู่ขนานไปกับค่านิยม ความต้องการ และความคาดหวังของสังคม การวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อถือได้ ที่มา: eesc.europa.eu
  • 13. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 12สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ อีกทั้งยังเป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยความร่วมมืออย่างเหนียวแน่นระหว่างผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากทุก ภาคส่วนมาทางานร่วมกันในด้านต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย ด้านการศึกษาวิทยาศาสตร์ การกาหนด วาระทางการวิจัย การเข้าถึงผลการวิจัยและการนาองค์ความรู้ใหม่มาใช้โดยคานึงถึงความเหมะสม ด้านเพศและจรรยาบรรณ
  • 14. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 13สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ สาหรับประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโลยี นั้นมีพันธกิจในการสร้างความตระหนักด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาขนต่องานด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เช่นเดียวกัน การสร้างความตระหนักด้าน กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ของประเทศไทย ได้ให้คานิยามของ “การสร้างความตระหนัก ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี” ไว้ว่าเป็น “การดาเนินการเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนมีความรู้ ความ เข้าใจ ตลอดจนมีกระบวนการคิดแบบวิทยาศาสตร์ และตระหนักถึงความสาคัญของวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีที่มีผลต่อการดารงชีวิตของประชาชนในยุคปัจจุบัน และผลกระทบต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศ ส่วนสื่อที่สร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้แก่ โทรทัศน์ สื่ออินเทอร์เน็ต หนังสือพิมพ์ นิทรรศการแหล่งเรียนรู้ นิตยสาร และ วิทยุ” โดยวัตถุประสงค์ของการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม (วทน.) คือ 1) ทาให้สังคมไทยเป็นสังคมที่มีเหตุผลไม่หลงงมงาย 2) ทาให้ประชาชนไทยมีความสนใจในวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และ 3) ส่งเสริมให้เกิดการนาวิทยาศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยหนึ่งในกลยุทธ์ของนโยบายและแผนวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2555 – 2564) คือ การใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการสร้างเสริมสังคม ฐานความรู้ โดยมีการประกาศใช้ 5 มาตรการหลักดังนี้
  • 15. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 14สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ การพัฒนาเนื้อหาและช่องทางการสื่อสารข้อมูลวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สังคม ตระหนักและเข้าใจในความสาคัญของ วทน. ว่าเป็นเรื่องใกล้ตัวและเกี่ยวข้องกับทุกคนในสังคม ตลอดจนการเสริมสร้างจริยธรรมทางด้าน วทน. พัฒนาและนางานวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของ ประชาชน เช่น การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เพื่อการเรียนรู้ปัญญาประดิษฐ์การพัฒนารูปแบบ การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับกลุ่มคนในแต่ละช่วงวัยและระดับเพื่อการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ใช้ เทคโนโลยี สนับสนุนผู้นาชุมชนหรือผู้มีองค์ความรู้เพื่อการถ่ายทอดความรู้จากประสบการณ์ (Tacit Knowledge) ใช้เทคโนโลยีสนับสนุนกลไกของรัฐด้านการบาบัดทุกข์บารุงสุขแก่คนในสังคมด้วยการ อานวยความสะดวกในการ เรียนรู้ในพื้นที่ของตน (Learning Facilitation) ใช้เทคโนโลยีเป็นช่องทาง สื่อสารการเรียนรู้ของชุมชนผ่าน ห้องสมุด วัด โรงเรียน การพัฒนานวัตกรรมในชุมชน เทคโนโลยีเพื่อ การเรียนการสอนในชุมชนแบบ Project Based Learning (PBL) เพื่อกระตุ้นการคิดวิเคราะห์และ การแก้ไขปัญหาพร้อมรองรับการเปลี่ยนแปลงทั้งใน มิติเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสร้างช่อง ทางการเผยแพร่ความรู้เพื่อสร้างแรงจูงใจ และบรรยากาศ แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต รวมถึงให้ ความสาคัญกับการวิจัยในแนวประยุกต์ที่ใช้ความรู้ที่มีอยู่เดิม (Translational Research ) 1 การสรางความตื่นตัว ความตระหนัก จิตสานึก ธรรมาภิบาล ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม แก่ประชาชน 2 การพัฒนา วทน. เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ตลอดชีวิต
  • 16. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 15สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ การสร้างและพัฒนาเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างประชาชนในชุมชนท้องถิ่น เกษตรกร อุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษาในพื้นที่เพื่อพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เหมาะสมและ ประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คนใน ชุมชน เช่น การจัดหลักสูตรแบบบูรณาการการเรียนรู้กับการทางาน (Work-Integrated Learning: WIL) เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้และทางานจริงกับอุตสาหกรรม ชุมชน ปราชญ์ชาวบ้าน เป็นต้น จัดให้มีการส่งเสริมเชิดชูเกียรติ์นักวิทยาศาสตร์นักประดิษฐ์และปราชญ์ชาวบ้านที่มี ผลงานโดดเด่น ด้านการพัฒนาและการประยุกต์ใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรมเพื่อเป็นต้นแบบและ แรง บันดาลใจให้คนในสังคม และเป็นแรงจูงใจให้เกิดการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ เป็น ประโยชน์ต่อประเทศ 3 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างเกษตรกร อุตสาหกรรม และสถาบันการศึกษา ในพื้นที่เพี่อการ พัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมชุมชน 4 การส่งเสริมเชิดชูเกียรติ์นักวิทยาศาสตร์นักประดิษฐ์ ปราชญ์ชาวบ้าน 5 การสนับสนุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม เพื่อการต่อยอด ภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยการมี ส่วนร่วมของชุมชน
  • 17. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 16สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ ส่งเสริมให้ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการสร้างและพัฒนาระบบฐานข้อมูลภูมิปัญญาท้องถิ่น และนา วิทยาศาสตร์ไปอธิบายให้เป็นหลักการ ตลอดจนต่อยอดภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างคุณค่าและ มูลค่าเพิ่มในการใช้ประโยชน์ของทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างเป็นระบบมีแบบแผนของชุมชน เช่น ส่งเสริมให้นักวิชาการร่วมมือกับชุมชนในการสร้างนวัตกรรมจากการวิจัยและพัฒนาที่ใช้ทรัพยากรที่มี อยู่ ในท้องถิ่น เพื่อสร้างรายได้ที่มั่นคงและยั่งยืนให้กับชุมชน และการสร้างเครือข่ายในการต่อยอดภูมิ ปัญญา ระหว่างท้องถิ่น เป็นต้น กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้ดาเนินกิจกรรมและโครงการต่าง ๆ มากมายที่ช่วยสร้างความ ตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาขนต่องาน ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ซึ่งตัวอย่างของกิจกรรมสามารถสรุปได้ดังนี้ 1) โครงการนโยบายสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาและนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์และคณิตศาสตร์ (STEM) เพื่อเพิ่มผลิตภาพ(productivity) และความสามารถ ทางนวัตกรรมของภาคการผลิตและบริการ กาลังคนด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและ นวัตกรรม (วทน.) นับได้ว่าเป็นปัจจัยสาคัญ ที่สุดประการหนึ่งสาหรับการพัฒนา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเป็นที่ ยอมรับกันโดยทั่วไปว่าเป็นปัจจัยที่จะ นาไปสู่การพัฒนา และเป็นแรงขับเคลื่อนที่ สาคัญของการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ สิ่งแวดล้อมให้มีความยั่งยืนในระยะยาว หากประเทศขาดความพร้อมและความ เพียงพอในด้านกาลังคนด้าน วทน. แล้ว ไม่ ว่าจะลงทุนเพื่อการพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีไปมากมายเพียงใด ก็จะไม่ สามารถพัฒ นาระบบวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมของประเทศให้มี ประสิทธิภาพได้ ดังนั้นจึงมีการจัดโครงการสร้างความเข้มแข็งให้กับการพัฒนากาลังคนด้าน STEM เพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขันของประเทศโดยมีความมุ่งหมายเพื่อที่จะยกระดับคุณภาพการพัฒนา
  • 18. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 17สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ บุคลากรด้าน วทน. ทั้งในระบบการศึกษาและในตลาดแรงงาน เกิดการเพิ่มผลิตภาพการผลิตของ บุคลากรด้าน วทน. ที่มีจานวนและคุณภาพเพียงพอเพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ และนาไปสู่การ เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในตลอดจนสร้างเครือข่ายความเชื่อมโยงในการพัฒนา กาลังคนด้าน วทน. ให้เกิดขึ้นในทุกภาคส่วนทั่วทั้งประเทศ สถานที่ : ทั่วประเทศ กลุ่มเป้าหมาย : ครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และบุคลากรใน ภาคการผลิตและบริการ ระยะเวลาดาเนินการ : 5 ปี เริ่มต้น ตุลาคม 2556 สิ้นสุด กันยายน 2561 ผลที่คาดว่าจะได้รับ : สามารถเพิ่มทักษะและองค์ความรู้ด้าน วทน. ให้แก่กาลังคนของประเทศมี ความเชี่ยวชาญในวิชาชีพตรงตามความต้องการของผู้ประกอบการ เกิดแรงจูงในการขยายฐาน บุคลากรด้าน วทน. ให้มีมวลวิกฤตและมีเส้นทางอาชีพ รวมถึงบทบาทในการพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคม หน่วยงานทีรับผิดชอบ: สานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม แห่งชาติ (สวทน.) ตัวอย่างกิจกรรม (1) นาร่องการขับเคลื่อนกลไกในโรงเรียน เพื่อเตรียมความพร้อมนักเรียนเข้าสู่อาชีพด้าน วทน. (STI Career Academy) โดยความร่วมมือและการสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยและภาคการผลิตและบริการ (2) นาร่องกลไกการดาเนินงานให้นักเรียนระดับมัธยมศึกษาได้รับการพัฒนาศักยภาพด้าน STEM ใน โรงเรียน (3) นาร่องกลไกการดาเนินงานเพื่อพัฒนาครูผู้สอนด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ได้รับการพัฒนาทักษะการสอนแบบ Active Learning 2) โครงการ The surveyor เที่ยวสนุกทุกพิกัด โครงการนี้มุ่งเน้นการผลิตรายการโทรทัศน์เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ เพื่อการศึกษาด้านภูมิศาสตร์ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน โดยนาเสนอสาระ ความรู้เกี่ยวกับลักษณะธรณีสัณฐานและภูมิศาสตร์ของประเทศไทย โดยประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอวกาศ และภูมิสารสนเทศ (ภาพถ่ายจากดาวเทียมไทยโชต) สอดแทรกด้วยเกร็ดความรู้ด้านภูมิศาสตร์ รวมไป ถึงเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศจากผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน อีกทั้งยังเป็นรายการท่องเที่ยวกึ่ง สารคดี ที่นาเสนอสถานที่ท่องเที่ยวที่มีเอกลักษณ์และความโดดเด่นทางด้านภูมิศาสตร์ ด้วยมุมมองที่
  • 19. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 18สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ แตกต่างน่าสนใจ มีสาระและ ความบันเทิงสนุกสนาน ไม่น่า เบื่อและสามารถรับชมได้ทุก เพศและวัย โดยจุดประสงค์ หลักของการจัดทารายการ โทรทัศน์นี้ขึ้นมาก็เพื่อสร้าง ความตระหนักทางด้านการ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิ สารสนเทศในกลุ่มนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป สถานที่ : สถานีโทรทัศน์ Thai PBS กลุ่มเป้าหมาย : เด็ก นักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ระยะเวลาดาเนินการ : เดือน มีนาคม 2558 เป็นต้นไป ผลที่คาดว่าจะได้รับ : ประชาชนได้รู้จักและเข้าใจถึงเรื่องเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศกับชีวิตประจาวัน ได้อย่างง่าย หน่วยงานทีรับผิดชอบ: สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ(องค์การมหาชน) (สทอภ.) 3) โครงการวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม (วทน.) เพื่อวิสาหกิจขนาดกลางและขนาด ย่อม และวิสาหกิจชุมชน/โอทอป (STI for SMEs and Community/OTOP) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) เป็นผู้รับผิดชอบหลักในการดาเนินโครงการ STI for SMEs ตามแผนงานบูรณาการนโยบายภาครัฐ ภายใต้แผนงาน Agenda Based ของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์ประเทศ แผนงานยุทธศาสตร์ส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และยุทธศาสตร์ พัฒนาอุตสาหกรรมศักยภาพ โดยดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานหลักภายในกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ และหน่วยงานภายนอกทั้งภาครัฐภาคเอกชน และมหาวิทยาลัย เพื่อสนับสนุนให้ SMEs มีความรู้
  • 20. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 19สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ ความเข้าใจ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้น และสามารถนามาใช้ในการสร้างนวัตกรรม สร้าง รายได้ เพิ่มการส่งออก บนฐานความรู้ เพื่อให้ประเทศก้าวพ้นกับดักของประเทศรายได้ปานกลาง ลด ช่องว่างทางสังคม พัฒนาเศรษฐกิจภูมิภาคเพื่อให้เกิดการกระจายรายได้ ซึ่งจะช่วยสร้างขีด ความสามารถในการแข่งขันของภาคอุตสาหกรรมและส่งผลระยะยาวต่อการพัฒนาเศรษฐกิจโดยรวม ของประเทศ รวมทั้งกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาบุคลากรด้าน วทน. ทั้งในภาครัฐและภาคอุตสาหกรรม ที่ สามารถทางานร่วมกัน และเชื่อมโยงความต้องการของอุตสาหกรรม ที่มา: http://www.nia.or.th
  • 21. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 20สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ 4) มหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) จัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีที่ยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งปีของประเทศและภูมิภาคเอเชีย เพื่อ เฉลิมฉลองวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติวันที่ 18 สิงหาคมของทุกปี และเทิดพระเกียรติพระบาทสมเด็จ พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย และพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เดช พระบิดาแห่งเทคโนโลยีไทย และพระบิดาแห่งนวัตกรรมไทย 5) นิทรรศการ “enjoy science careers: สนุกกับอาชีพวิทย์” กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) โดย องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) และ บริษัท เชฟรอนประเทศไทยสารวจและผลิต จากัด ร่วมด้วย สถาบันคีนันแห่งเอเซีย จัดทา โครงการ “Enjoy Science Careers : สนุกกับอาชีพวิทย์” นิทรรศการสร้างความสนใจและแรง บันดาลใจแก่เยาวชนในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพในสาขาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม และคณิตศาสตร์ หรือ สะเต็ม หนึ่งในโครงการเชิงยุทธศาสตร์ของกระทรวงวิทย์ฯ
  • 23. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 22สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ โดยเปิดโอกาสให้เยาวชนได้เรียนรู้และทดลองสวมบทบาทเป็นผู้เชี่ยวชาญใน 10 อาชีพสาขาสะเต็มซึ่ง ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักในสังคมไทย แต่เป็นที่ต้องการของตลาดและมีบทบาทสาคัญต่อการพัฒนา นวัตกรรมและเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้กับประเทศประกอบด้วย 1. นักธรณีวิทยา ปิโตรเลียม 2. นักคิดค้นยา 3. นักวิทยาศาสตร์การอาหาร 4. วิศวกรชีวการแพทย์ 5. นักวิทยาศาสตร์ เครื่องสาอาง 6. นักนิติวิทยาศาสตร์ 7. นักปรับปรุงพันธุ์พืช 8. นักออกแบบผลิตภัณฑ์ 9. นักพัฒนา ซอฟต์แวร์ และ 10. นักออกแบบและสร้าง ภาพเคลื่อนไหว โดยเยาวชนได้ทดลองสวมบทบาทเป็น ผู้เชี่ยวชาญ และได้สนุกกับการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือจริงในการประกอบอาชีพ ทั้งยังได้พบปะกับ บุคคลต้นแบบที่จะมาแนะแนวเส้นทางสู่การประกอบ 10 อาชีพสะเต็ม เพื่อให้เยาวชนสามารถเดินไป ถูกทางว่า หากอยากประกอบอาชีพนั้น ๆ ในอนาคตจะต้องเตรียมตัวอย่างไร 6) โครงการอื่น ๆ โดยหนึ่งในองค์กรภายใต้กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ที่ทาหน้าที่ช่วยสร้างความตระหนักและการมีส่วน ร่วมด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม ก็คือ สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ (สวทช.) ซึ่งแนวคิดหลักของการดาเนินโครงการสร้างความตระหนักของ สวทช. นั้น เน้นไป ที่การใช้ทรัพยากร ได้แก่ องค์ความรู้ บุคลากร และเครือข่ายที่มีอยู่ และเน้นการหาพันธิตร หรือ ผู้สนับสนุนร่วมในการดาเนินงาน โดยมีเป้าหมายของการจัดกิจกรรมต่างๆ ที่คานึงถึงคุณภาพ มากกว่าที่จะเน้นเชิงปริมาณ และเน้นไปที่การดาเนินงานในเรื่องที่มีผลกระทบสูงกับสังคม ซึ่ง สวทช. ได้ดาเนินโครงการประกอบด้วย 1) การเสริมสร้างความรู้ผ่านสื่อ 2) การพัฒนาผู้ผลิตสื่อ 3) การจัด นิทรรศการและกิจกรรมวิชาการ 4) การพัฒนาครู เป็นต้น โดยที่ผ่านมา สวทช. ได้จัดกิจกรรมด้านการเสริมสร้างความรู้ผ่านสื่อ เช่น การสนับสนุนรายการ โทรทัศน์เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ โดยได้รับการตอบรับเป็นอย่างดีจากผู้ชม ซึ่งจากการสารวจโดยบริษัท
  • 24. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 23สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ จัดอันดับความนิยม พบว่ารายการ Mega Clever, Sponge และ Beyond Tomorrow มีจานวน ผู้ชมเฉลี่ยเกิน 2 ล้านคนต่อตอน สาหรับการพัฒนาผู้ผลิตสื่อนั้น ทาง สวทช. ได้จัดให้ ศูนย์สื่อสาร วิทยาศาสตร์ไทย (Thai Science Media Center, TSMC) เป็นหน่วยงานกลางในการประสาน ผู้เชี่ยวชาญให้ตอบข้อสงสัยที่เกิดขึ้นในสังคม ตลอดจนการจัดอภิปรายหรือเสวนากับความก้าวหน้า ทางวิทยาศาสตร์ที่น่าสนใจ แก่สื่อสาธารณะเป็นระยะ ๆ และสร้างเครือข่ายระหว่างนักวิจัยกับ สื่อมวลชนให้สามารถทางานร่วมกันได้สะดวกขึ้น สาหรับการจัดกิจกรรมวิชาการและการพัฒนาครู นั้น ทาง สวทช.ได้จัดกิจกรรมในด้านดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง ดังเช่น มหกรรมประกวดเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร รางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่น โครงการส่งเสริมการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ โครงการบ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร กิจกรรมค่ายหุ่นยนต์ปลา โครงการอบรมและ สัมมนาหลักสูตรนาโนเทคโนโลยี ฯลฯ นอกจากนี้ สวทช. ได้ดาเนินโครงการหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์ และโครงการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีในโรงเรียนชนบทต่อเนื่องมาเป็นเวลานาน โดยเข้าไปช่วยจัดสร้างกระบวนการเพื่อดึง ศักยภาพที่เข้มแข้งของชุมชนบนฐานเกษตรกรรมออกมาได้อย่างชัดเจนและเป็นระบบ เช่น การ พัฒนาเทคโนโลยีการการคัดพันธุ์ข้าวสาลีของบ้านผาคับ จ.น่าน การปลูกแมกคาเดเมียที่สร้างมูลค่า หลายล้านบาทต่อปีของหมู่บ้านบ่อเหมืองน้อย-ห้วยผัก จ.เลย การศึกษาความหลากหลายท้องถิ่นและ เทคโนโลยีการขยายพันธุ์ดอกดาหลาเป็นพืชเศรฐกิจ ในหมู่บ้านบาลา-เจ๊ะเด็ง จ. นราธิวาสเป็นต้น นอกจากนี้ประเทศไทยยังเคยมีโอกาสร่วมมือกับสหภาพยุโรปในการสร้างความตระหนักด้าน วิทยาศาสตร์ในเมืองไทย โดยในปี พ.ศ. 2556 สวทช. ร่วมกับ โครงการร่วมมือหารือทางนโยบาย ระหว่างไทยและสหภาพยุโรป สานักงานคณะผู้แทนสหภาพยุโรปประจาประเทศไทย จัดการประชุม นานาชาติว่าด้วยเรื่อง “วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาหรับเยาวชนและบุคคลทั่วไป” โดยมี ผู้เชี่ยวชาญจากสหภาพยุโรปทั้งด้านการทาหนังสือ ตารา หรือพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ มาช่วยไทย สร้างความตระหนักทางด้านวิทยาศาสตร์แก่เยาวชนและประชาชน
  • 25. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 24สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ จากการศึกษากรอบแนวคิดการวิจัยและนวัตกรรมที่เชื่อถือได้ (Responsible Research and Innovation, RRI) ของสหภาพยุโรป พบว่ามีปัจจัยหลักสาคัญทั้งหมด 6 ข้อ ที่ประเทศไทยสามารถ นามาใช้เพื่อเสริมสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ได้ ประเด็นแรกคือการมีส่วนร่วมของบุคคลจากทุกภาคส่วน รวมถึงนักวิจัย ภาคธุรกิจอุตสาหกรรม ผู้ กาหนดนโยบาย และองค์กรประชาสังคม มาทางานร่วมกันในกระบวนการวิจัยและนวัตกรรม เป็น การทางานที่ครอบคลุมคนทุกกลุ่ม ซึ่งในสหภาพยุโรปได้มีการระบุไว้ในกฎบัตรสิทธิขั้นพื้นฐาน กรอบ แนวคิดการวิจัยและนวัตกรรมที่ยอดเยี่ยมนั้นต้องครอบคลุมความท้าทายเชิงสังคมโดยพิจารณาจาก ประเด็นด้านสังคม เศรษฐกิจ จรรยาบรรณ และหลักการร่วมกัน นอกจากนี้ต้องมีการเรียนรู้และ ข้อตกลงในการทางานร่วมกัน เพื่อหาทางแก้ปัญหาเชิงสังคมและสร้างโอกาสทางสังคมโดยใช้การวิจัย และนวัตกรรม รวมถึงการคาดการณ์ความล้มเหลวที่อาจจะเกิดขึ้นเพื่อสร้างนวัตกรรมในอนาคต 1 การมีส่วนร่วมของบุคคลจากทุกภาคส่วน
  • 26. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 25สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ การมีส่วนร่วมแปลว่าเพศหญิงและเพศชายต้องทางานร่วมกัน ในปัจจุบันพบว่ามีผู้หญิงจานวนน้อยที่ ทางานด้านวิจัยและนวัตกรรม ปัญหานี้ต้องได้รับการแก้ไข การบริหารทรัพยากรบุคคลของ สถาบันวิจัยต้องมีการปรับให้ทันสมัยขึ้น ต้องมีการบรรจุประเด็นเรื่องเพศภาวะเป็นเนื้อหาด้านการ วิจัยและนวัตกรรมด้วย นอกจากต้องเพิ่มจานวนนักวิจัยแล้ว ยังมีความจาเป็นต้องเสริมสร้างระบบการศึกษาที่สร้างนักวิจัย และผู้ที่ทางานด้านสังคมในอนาคตที่มีความรู้และเครื่องมือในการมีส่วนร่วมและรับผิดชอบ กระบวนการด้านการวิจัยและนวัตกรรมได้ การเพิ่มความสนใจของเด็กและเยาวชนในวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ถือเป็นความจาเป็นอย่างเร่งด่วน เพื่อให้เด็กเหล่านี้เป็นนักวิจัยในอนาคต และช่วยสร้างสังคมที่มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อให้มีความน่าเชื่อถือ การวิจัยและนวัตกรรม ต้องโปร่งใสและเข้าถึงได้ ประชาชนต้องสามารถ เข้าถึงข้อมูลการวิจัยได้โดยเสรี โดยที่ประชาชนสามารถเข้าไปอ่านผลการวิจัยที่รับทุนจากกองทุนของ 2 ความเสมอภาคด้านเพศภาวะ 3 การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ 4 การเข้าถึงข้อมูลการวิจัยได้โดยเสรี
  • 27. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 26สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ รัฐ (การตีพิมพ์บทความและข้อมูลวิจัย) จากฐานข้อมูลออนไลน์ได้ เพื่อให้สังคมมีการสร้างนวัตกรรม เพิ่มขึ้นและใช้ประโยชน์จากผลการวิจัยในทุกภาคส่วน สังคมโดยทั่วไปตั้งอยู่บนพื้นฐานของค่านิยมร่วม ในการแก้ปัญหาที่ท้าทายสังคมนั้น การวิจัยและ นวัตกรรมต้องเคารพในสิทธิขั้นพื้นฐานและมีจรรยาบรรณสูงสุด นอกเหนือจากประเด็นทางด้าน กฏหมายแล้วการวิจัยและนวัตกรรมต้องเชื่อมโยงกับสังคมและเป็นที่ยอมรับของสังคมมากที่สุด ไม่ใช่การทาวิจัยเพื่อให้ได้ผลการวิจัยที่มีคุณภาพเท่านั้น ประเด็นสุดท้ายเป็นร่มใหญ่ของประเด็นอื่น ๆ ทุกด้าน นั่นคือ ระบบอภิบาล ผู้กาหนดนโยบายมีหน้าที่ ป้องกันไม่ให้มีการวิจัยและนวัตกรรมที่เป็นอันตรายหรือขาดจรรยาบรรณ โดยเหตุผลประการนี้ เราจึง พัฒนาแม่แบบด้านการวิจัยและพัฒนาที่ประสานระหว่างการมีส่วนร่วมของประชาชน ความเสมอภาค ด้านเพศภาวะ การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์ การเข้าถึงแบบเสรี และจรรยาบรรณเข้าด้วยกัน 5 จรรยาบรรณ 6 ระบบอภิบาล
  • 28. การสร้างความตระหนักและการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานด้านวิทยาศาสตร์ หน้า 27สานักงานที่ปรึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ กรุงบรัสเซลส์ สาหรับประเด็นข่าวเท็จ ด้าน วทน. ที่มีการเผยแพร่ตามสื่อออนไลน์ต่าง ๆ ทาให้ประชาชนเกิดความ เข้าใจผิดนั้น มีสาเหตุมาจากการใช้สังคมออนไลน์ในทางที่ผิด โดยข่าวสารที่เป็นเท็จถูกส่งต่อจากอีก คนไปยังอีกคนอย่างรวดเร็วมาก อาทิเช่น “ตารายารักษาโรคมะเร็ง หายขาดภายใน 6 วัน” และ “ข้าวปลอมจากพลาสติกจากประเทศไนจีเรีย ตรวจจับได้กว่า 100 ถุง” เป็นต้น ข้อมูลหรือข่าว มากมายที่ถูกส่งต่อเพียงแค่กดแชร์โดยไม่ได้รับการตรวจสอบ หลายคนเมื่อได้รับข่าว รูปภาพหรือ ข้อมูลเรื่องใด ๆ มา ก็เชื่อและกดแชร์ในทันที โดยไม่ได้ตรวจสอบก่อนว่าข่าวดังกล่าวนั้นจริงหรือไม่ ข้อมูลบางอย่างนอกจากจะก่อให้เกิดการเข้าใจผิดหรือความวิตกกังวลโดยใช่เหตุแล้ว หากถูกนาเอาไป ปฏิบัติใช้จริง ผลที่ตามมาอาจจะก่อให้เกิดความเสียหายต่อทั้งชีวิตและทรัพย์สินของผู้รับสาร สาหรับการตรวจสอบว่าข้อมูลที่เราเห็นในสังคมออนไลน์นั้นเป็นเท็จหรือจริงสามารถทาได้เบื้องต้น ดังนี้ - เมื่อเราเห็นข่าวบนสังคมออนไลน์ เราควรนา keywords ของข่าวนั้นมาค้นหาผ่าน search engine อย่าง google เพื่อดูว่ามีสานักข่าวอื่น ๆ เผยแพร่ข่าวในทานองเดียวกันหรือไม่ เพราะถ้าข่าวที่เราได้ทราบมาเป็นข่าวจริง มันย่อมไม่ถูกนาเสนอโดยจากแหล่งข่าวเดียวอย่าง แน่นอน - การตรวจสอบแหล่งข่าว นั้นเป็นสิ่งที่สาคัญเช่นเดียวกัน โดยปกติแล้วข่าวที่น่าเชื่อถือได้มาก ที่สุด ก็คือข่าวที่เราได้เป็นผู้ประสบเองโดยตรง แต่สาหรับข่าวที่เราได้อ่านและฟังมาอีกทีหนึ่ง การตรวจสอบข่าวเท็จ