SlideShare a Scribd company logo
1 of 73
Download to read offline
รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่
ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสาร
การตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทย
นายภูวนาท คุนผลิน
หลักสูตรปริญญานิเทศศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาการโฆษณา ภาควิชาการประชาสัมพันธ์
คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ที่มาและความสำคัญ
ในปีพ.ศ.2539-2540 ประเทศไทยอยู่ในยุคที่เศรษฐกิจเฟื่องฟู การใช้จ่ายผ่านสื่อธุรกิจโฆษณา
สูงถึง 41,933 ล้านบาทและ 41,585 ล้านบาท ตามลำดับ แต่เมื่อประเทศไทยประสบภาวะเศรษฐกิจตกต่ำ
พ.ศ. 2541 การใช้จ่ายผ่านสื่อโฆษณาได้ลดลงถึงร้อยละ 24 จากปี พ.ศ. 2540 เหลือเพียง 31,681 ล้านบาท
ต่อมา ในปี พ.ศ. 2542 และ พ.ศ.2543 การใช้จ่ายผ่านสื่อโฆษณาดีขึ้น มีมูลค่ารวมอยู่ที่ 34,220 ล้านบาทและ
49,700 ล้านบาท ตามลำดับ
แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน เป็นแนวคิดใหม่ทางการตลาดที่หลายองค์กรให้
ความสนใจและนำมาใช้เครื่องมือสื่อสารทางการตลาด หลาย ๆ รูปแบบ การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานนี้
สามารถก่อประโยชน์ให้เกิดกับองค์กรได้ นอกจากนี้การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานยังช่วยเพิ่มยอดขาย
และผลกำไรให้กับบริษัท นอกจากนี้บริษัทตัวแทนโฆษณายังมีความเชื่อว่า การสื่อสารการตลาดแบบ
ผสมผสาน สามารถรองรับความต้องการของลูกค้าในเรื่องการสื่อสารการตลาดได้ดีขึ้น
ที่มาและความสำคัญ
ดังนั้นการศึกษาเรื่อง “รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิด
การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทย”ครั้งนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่า บริษัทตัวแทนโฆษณา
ในประเทศที่ใช้แนวคิดการสื่อสารแบบผสมผสานในการดำเนินธุรกิจ การนำแนวคิดนี้มาใช้ เพื่อปรับโครงสร้าง
ขององค์กรหรือไม่ โครงสร้างขององค์กรสอดคล้องหรือแตกต่างจากประเภทตามแนวความคิดของ Gronstedt
และ Thorson (1996) รวมถึงเพื่อศึกษาว่า โครงสร้างองค์กรดังกล่าวสอดคล้องกับแนวคิดการสื่อสารทาง
การตลาดแบบผสมผสานหรือไม่
ที่มาและความสำคัญ (ต่อ)
Gronstedt และ Thorson (1996) ยังได้ศึกษารูปแบบโครงสร้างประเภทต่าง ๆ ของบริษัทตัวแทนโฆษณาไว้ 5 ประเภท ได้แก่
องค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอก
องค์กรที่มีหน่วยงานหลัก
หน่วยงานเดียว
องค์กรที่ดำเนินการโดย
หน่วยงานอิสระ
องค์ที่ดำเนินแบบไขว้
องค์กรที่ดำเนินงานแบบ
ผสมผสาน
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
• เพื่อศึกษาถึงรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยที่
ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
• เพื่อศึกษาอิทธิพลของแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อ
บริษัทตัวแทนโฆษณาในด้านต่าง ๆ
ปัญหานำวิจัย
• บริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่อสาร
การตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทยมีรูปแบบโครงสร้างของ
องค์กรอย่างไร
• แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานมีอิทธิพลต่อบริษัท
ตัวแทนโฆษณาในด้านใดบ้าง และอย่างไร
ขอบเขตการวิจัย
การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ที่ใช้แนวคิดการ
สื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน ได้ทำการศึกษานี้อยู่ในเขตของกรุงเทพมหานคร
เนื่องจากกลุ่มประชากรส่วนใหญ่อยู่ในเขตพื้นที่นี้ สำหรับการวิจัยครั้งนี้จะศึกษาบริษัท
ตัวแทนโฆษณา 3 ประเภทได้แก่ (1)บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็นสาขาจากต่างประเทศ
(2)บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน และ (3)บริษัทตัวแทนโฆษณาที่
เป็นคนไทย ทั้งหมด 42 บริษัท โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบโครงสร้างบริษัทตัวแทน
โฆษณาที่ Gronstedt และ Thorson (1996) ได้ทำการศึกษาและจัดหมวดหมู่ไว้ 5 รูปแบบเพื่อ
เป็นกรอบในการศึกษา
คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย
• บริษัทตัวแทนโฆษณาการตลาดผสมผสาน หมายถึง บริษัทที่ดำเนิน
ธุรกิจให้บริการด้านการโฆษณาสินค้าและบริการ ที่ดำเนินกิจการใน
ประเทศไทยโดยใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาดหลายประเภท ได้แก่ การ
โฆษณา การประชาสัมพันธ์ การส่งเสริม การขาย การตลาดทางตรง
และกิจกรรมพิเศษทางการการตลาด เป็นต้น
คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
• บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็นสาขาต่างจากประเทศ หมายถึง บริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่ถือหุ้นโดนชาวต่างชาติมากกว่า 90%
• บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน หมายถึง บริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่ถือหุ้นโดยชาวต่างชาติ และคนไทย โดยถือหุ้นใน
อัตราส่วนที่เท่า ๆ กัน
• บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็นของคนไทย หมายถึง บริษัทตัวแทน
โฆษณาที่ถือหุ้นโดยคนไทยมากกว่า 90%
คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
• บริษัทแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน หมายถึง การ
สื่อสารการตลาดผสมผสานว่าเป็นแนวคิดการวางแผนการใช้เครื่องมือ
สื่อสารการตลาดที่จะเพิ่มคุณค่าของแผนการสื่อสารนั้นโดยใช้เครื่องมือ
สื่อสาร การตลาด เช่น การโฆษณา การตลาดทางตรง การส่งเสริมการ
ขาย และการประชาสัมพันธ์ มาผสมผสานกัน ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความ
ชัดเจน
คำจำกัดความที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
• ผู้บริหารองค์กรในบริษัทตัวแทนโฆษณา หมายถึง ผู้ที่มีอำนาจการ
บริหารบริษัทตัวแทนโฆษณาทั้งบริษัทโดยรวม ไม่เฉพาะแผนกใดแผนก
หนึ่ง โดยมีตำแหน่งกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริการ รอง
ผู้อำนวยการ ประธานกรรมการบริหาร และผู้อำนวยการ ในบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่ให้บริการครบวงจร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
• เป็นแนวทางสำหรับบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ต้องการดำเนินธุรกิจตาม
แนวคิด การสื่อสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานให้เกิดประสิทธิภาพ
และเป็นส่วนหนึ่งสำหรับแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการใช้
แนวคิด การสื่อสารทางการตลาดแบบผสมผสาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ (ต่อ)
• เป็นข้อมูลอ้างอิงเบื้องต้น สำหรับผู้ที่สนใจศึกษาเรื่องทางด้านการสื่อสาร
การตลาดแบบผสมผสาน และโครงสร้างองค์กรของบริษัทตัวแทน
โฆษณา
• เพื่อให้นักโฆษณา และนักการตลาดนำข้อมูลที่ได้ไปใช้เป็นข้อมูลเบื้องต้น
สำหรับการทำงานในองค์กรที่ใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบ
ผสมผสานดำเนินงาน และเพื่อให้การทำงานนั้นเกิดประสิทธิภาพอย่าง
เต็มที่
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องดังนี้
แนวคิดเรื่องโครงสร้างองค์กร
แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานและบริษัทตัวแทนโฆษณา
แนวคิดเรื่องรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณา
แนวคิดเรื่องการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดเรื่องโครงสร้างองค์กร
Hodge et al. (1996) กล่าวถึงโครงสร้างขององค์กรที่ถูกออกแบบในแต่ละองค์กรย่อมมีความแตกต่างกันตามปัจจัย
แวดล้อมต่างๆ ซึ่งสามารถจัดรูปแบบโครงสร้างขององค์กรโดยทั่วไป ได้ 2 รูปแบบ ได้แก่ การจัดโครงสร้างองค์กร
ตามกลุ่มประเภทงานที่มีลักษณะเข้าพวกกัน (Functional grouping) และการจัดโครงสร้างองค์กรตามประเภทของ
สินค้าและตลาด (Output grouping: Products, market, and geography) ในรูปแบบแรกของการจัดโครงสร้างองค์กร
ที่ เป็นการจัดโครงสร้างองค์กรตามกลุ่มประเภทงานที่มีลักษณะเข้าพวกกัน (Functional grouping) นั้น จะมีการ
จําแนกประเภทของงานที่ทําออกเป็นหน่วยงานต่างๆ โดยกลุ่มคนภายในองค์กรจะถูก จัดสรรตามหน่วยงานต่าง ๆ
ตามความเหมาะสม ซึ่งพิจารณาจากหน้าที่หลักภายในองค์กร ได้แก่ ฝ่ายการผลิต ฝ่ายการตลาด ฝ่ายการเงิน ฝ่าย
บัญชี และฝ่ายบุคคล
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
สมาคมบริษัทตัวแทนโฆษณาแห่งประเทศสหรัฐอเมริกา (American Association of Advertising Agencies) ให้คําจํากัดความของ
การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานว่า เป็นแนวคิด การวางแผนการใช้เครื่องมือส่ือสารการตลาดที่จะเพ่ิมคุณค่าของแผนการ
ส่ือสารนั้น โดยใช้เครื่องมือสื่อสารการตลาด เช่น การโฆษณา, การตลาดทางตรง, การส่งเสริมการขาย และการประชาสัมพันธ์
มาผสมผสานกันทั้งนี้เพื่อให้เกิดความชัดเจน ความสอดคล้องและผลกระทบเชิงการสื่อสารสูงสุด
แนวคิดเรื่องการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
Sirgy (1998) ให้นิยามว่า การสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน เป็นกระบวนการจัดการแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่มีความเกี่ยวข้องกับ
สินค้าหรือบริการ ไปยังลูกค้าเป้าหมาย เพื่อต้องการให้ลูกค้าเป้าหมายนั้นเกิดพฤติกรรมการซื้อสินค้าหรือบริการ และรักษา
ความภักดีของผู้บริโภคไว้
Gronstedt และ Thorson (1996)
องค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอก
บริษัทตัวแทน โฆษณาจะช่วยลูกค้าในการวางแผนกลยุทธ์
และช่วยเลือกเครื่องมือในการสื่อสารการตลาด
องค์กรที่มีหน่วยงานหลักหน่วยงานเดียว
จะมีความ สามารถในการวางแผนรณรงค์โฆษณาที่มีการ
ผสมผสานการสื่อสารการตลาด
องค์กรที่ดำเนินการโดยหน่วยงานอิสระ
ผู้เชี่ยวชาญทุกด้านอยู่ในบริษัท แต่แยกเป็นแผนกๆ ตามความ
เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน และแต่ละแผนกจะมีกําไรเป็นของตนเอง
องค์ที่ดำเนินแบบไขว้
มีผู้เชี่ยวชาญเฉพาะของทุกสาขาอยู่ร่วมภายในองค์กรแล้ว ยัง
มีการทํางานร่วมกันแบบผสมผสานในลักษณะแบบไขว้ด้วย
องค์กรที่ดำเนินงานแบบผสมผสาน
มีการดําเนินการแบบผสมผสาน มีการรวบรวมเครื่องมือสื่อ สารการตลาดในทุกรูปแบบ
มาไว้ในบริษัทในลักษณะที่แตกต่างจาก โครงสร้างอื่นๆที่กล่าวมาทั้งหมด
แนวคิดเรื่องรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณา
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ถึงแม้ว่าบริษัทตัว แทนโฆษณาจะมีการผสมผสานเครื่องมือสื่อสารการตลาดที่ดี มีความ
เชี่ยวชาญ และมีความ สามารถสูงเพียงใดก็ตาม แต่หากลูกค้าไม่เห็นความสําคัญและไม่ให้
ความร่วมมือแนวคิดนี้ก็ไม่ ประสบความสําเร็จ ดังนั้นสรุปได้ว่า ลูกค้าเป็นปัจจัยที่จะกําหนด
ความสําเร็จของแนวความคิด แบบผสมผสาน โดยลูกค้าควรเป็นผู้กําหนดแนวทาง ให้ความ
ร่วมมือ และรับฟังจึงจะทําให้แนวคิดนี้มีประสิทธิภาพสูงสุด (Schultz & Kitchen, 1997)
แนวคิดเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานและบริษัทตัวแทนโฆษณา
วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
ใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ(Qualitative research)
โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth interview)
ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารในบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยที่ใช้
แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในการดำเนินธุรกิจที่ให้บริการสื่อสาร
การตลาดแบบครบวงจร และอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร
วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
มีทั้งหมด 42 บริษัทที่ให้บริการแบบครบวงจร จึงใช้เกณฑ์
การถือครองหุ้นในบริษัท แบ่งประเภทออกเป็น 3 ประเภท
1. บริษัทตัวแทนที่เป็นของคนไทย
(คนไทยถือหุ้นมากกว่า 90%)
2. บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน
(ถือหุ้นโดยคนไทยและต่างชาติในสัดส่วนที่เท่ากัน)
3. บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็น
สาขาจากต่างประเทศ (ถือหุ้นโดย
ชาวต่างชาติ 90%)
วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
1. บริษัทตัวแทนที่เป็นของคนไทย (คนไทยถือหุ้นมากกว่า 90%)
1. บริษัท แอ็กเซส แอนด์ แอสโซซิเอทส์ จํากัด
2. บริษัท เบ็ตเตอร์อิมแพค คอมมูนิเคชั่น จํากัด
3. บริษัท บิ๊กเฮด จํากัด
4. บริษัท เบรน เอเซีย จํากัด
5.บริษทั ซีดีแอนด์ทีซอฟทาสก์จํากัด
6. บริษัท เซ็นจูรี่ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
7. บริษัท คอร์ แอนด์ พีค จํากัด
8. บริษัท ซีวีที แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
9. บริษัท ดี เอ็ม แอนด์ เอส แอ๊ดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
10. บริษัท เฟมไลน์ จํากัด
11. บริษัท ฟาร์อีส แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด (มหาชน)
12. บริษัท ฮิวจ์ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
13. บริษัท แม็คคอม แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
14. บริษัท เมเจอร์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
15. บริษัท เอสซี แมทช์บอกซ์ จํากัด
16. บริษัท สยาม แอดเน็ต จํากัด
17. บริษัท สปา แอดเวอร์ไทซิ่ง
18.จํากัดบริษทั ธีมแอดคอร์ปอร์เรชั่น
19. จํากัด บริษัท เอฟซีบี เวิรลด์ไวด์ (ประเทศไทย) จํากัด
วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
2. บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน (ถือหุ้นโดยคนไทยและต่างชาติในสัดส่วนที่เท่ากัน)
1. บริษัท ประกิต ปับลิซีส จํากัด
2. บริษัท แฟลกชิฟ จํากัด
3. บริษัท ทีบีดับบลิวเอ เน็กซ์ แอนด์ ทริพเพลท แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
4. บริษัท ไทย ฮาคูโฮโด จํากัด
5. บริษัท ไซมีส ดี ดาร์คี จํากัด
วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
3. บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็นสาขาจากต่างประเทศ (ถือหุ้นโดยชาวต่างชาติ 90%)
1. บริษัท 141 (ประเทศไทย) จํากัด
2. บริษัท แอมเม็กซ์ ทีม แอ๊ดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
3. บริษัท อาซัสซึ (ประเทศไทย) จํากัด
4. บริษัท เอเซีย 21 (ประเทศไทย) จํากัด
5. บริษัท เบตี้ แอดส์ (ประเทศไทย) จํากัด
6. บริษัท เบทส์ (ประเทศไทย) จํากัด
7. บริษัท บีบีดีโอ (กรุงเทพ) จํากัด
8. บริษัท ชูโอ เซ็นโก จํากัด (ประเทศไทย) จํากัด
9. บริษัท ดีดีบี แบงคอก จํากัด
10. บริษัท เดนท์สุ (ประเทศไทย) จํากัด
11. บริษัท เดนท์สุ ยังก์ แอนด์ รูบิแคม จํากัด
12. บริษัท ยูโร อาร์เอสซีจี พาร์ทเนอร์ชิพ จํากัด
13. บริษัท เกรย์ (ไทยแลนด์) จํากัด
14. บริษัท เจ วอลเตอร์ ธอมสัน จํากัด
15. บริษัท ลีโอ เบอร์เนทท์ จํากัด
16. บริษัท โลว์ ลินตาส แอนด์ พาร์ทเนอร์ จํากัด
17. บริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ (ประเทศไทย) จํากัด
18. บริษัท ซาทชิ แอนด์ ซาทชิ แอ็ดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
วิธีการดำเนินงานวิจัย (ต่อ)
กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่ใช้ในการวิจัย (Interviewees) เป็นผู้บริหารองค์กรระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไป ในบริษัทตัวแทน
โฆษณาที่ได้จำแนก โดยใช้การถือครองหุ้นในบริษัทเป็นเกณฑ์ จำนวน 24 ท่าน แบ่งกลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ออกเป็น 3 กลุ่ม
ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไปในบริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็นสาขาจากต่างประเทศ จำนวน 10 ท่าน
ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไปในบริษัทตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน จำนวน 4 ท่าน
ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไปในบริษัทตัวแทนโฆษณาที่เป็นของคนไทย จำนวน 10 ท่าน
กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่ใช้ในการวิจัย
กระทําโดยการสุ่มแบบ เฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) เลือกผู้บริหารบริษัทตัวแทน
โฆษณาที่เป็นสาขาจากต่าง ประเทศ (International advertising agency) 10 บริษัท จากนั้น
จึงเลือกผู้บริหารจากฝ่ายบริหาร องค์กร 1 ท่าน จากแต่ละบริษัท โดยใช้วิธีการสุ่มตาม
สะดวก (Convenience sampling)
ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไปในบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่เป็นสาขาจากต่างประเทศ
จำนวน 10 ท่าน
1. คุณภาณุ อิงคะวัติ (Chairman / Executive Creative Director) บริษัท ลีโอ เบอร์ เนทท์ จํากัด
2. คุณดลชัย บุญรัตเวช (Chairman / CEO) บริษัท เดนท์สุ ยังก์ แอนด์ รูบิแคม จํากัด
3. คุณวิทวัส ชัยปราณี (Managing Director) บริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ (ประเทศ ไทย) จํากัด
4. คุณสรณ์ จงศรีจันทร์ (Executive Vice President) บริษัท โลว์ ลินตาส แอนด์ พาร์ท เนอร์ จํากัด
5. คุณขวัญชนิกา ตันติเวชกุล (Client Service Director) บริษัท บีบีดีโอ (กรุงเทพ) จํากัด
6. คุณจิตร์ ตัณฑเสถียร (Strategic Planner) บริษัท เจ วอลเตอร์ ทอมสัน จํากัด
7. คุณกฤษณ์ นิลวงษ์ (Human Resource Director) บริษัท เกรย์ (ประเทศไทย) จํากัด
8. คุณอรนาถ อาศนะเสน (Managing Director) บริษัท ซาทชิ แอนด์ ซาทชิ จํากัด
9. คุณวิเชียร ลินจงสุบงกช (Managing Director) บริษัท ชูโอ เซ็นโก (ประเทศไทย) จํากัด
10. คุณพาที สารสิน (CEO) บริษัท เบทส์ (ประเทศไทย) จํากัด
กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
กระทําโดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) เลือกผู้บริหารในบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน (The Merged advertising agency) จํานวน
4 บริษัท จากน้ัน จึงเลือกผู้บริหารจากฝ่ายบริหารองค์กร 1 ท่าน จากแต่ละบริษัท
โดยใช้วิธีการสุ่มตามสะดวก (Convenience sampling)
ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไปในบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการรวมตัวกัน
จำนวน 4 ท่าน
1. คุณพันธ์ศักดิ์ ไวยากรณ์วิลาศ (Managing Director) บริษัท แฟลกชิฟ จํากัด
2. คุณพอเพ็ญ เสงี่ยมพงส์ชาน (Executive Director) บริษัท ไทยฮากุโฮโด จํากัด
3. คุณชัยประนิน วิสุทธิผล (Managing Director) บริษัท ทีบีดับบลิวเอ เน็กซ์ แอนด์ ทริพเพลท แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
4. คุณประกิต อภิสารธนรักษ์ (Chairman) บริษัท ประกิต ปับลิซีส จํากัด
กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่ใช้ในการวิจัย (ต่อ)
กระทําโดยสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) เลือกผู้บริหารในบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่เป็นของคนไทย (Local advertising agency) 10 บริษัท จากนั้น จึง
เลือกผู้บริหารจากฝ่ายบริหารองค์กร 1 ท่าน จากแต่ละบริษัท โดยใช้วิธีการสุ่มตาม
สะดวก (Convenience sampling)
ผู้บริหารระดับหัวหน้าแผนก/ฝ่ายขึ้นไปในบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่เป็นของคนไทย จำนวน 10 ท่าน
1. คุณมาลี ลีลาวงค์ (Director / Managing Director’s Officer Manager) บริษัท ฟาร์ อีสต์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด (มหาชน)
2. คุณฐิติมา ศานติคงคา (Managing Director) บริษัท เฟมไลน์ จํากัด
3. คุณสมพร มาอุธรณ์ (Senior Executive Client Service Director) บริษัท สปา แอด เวอร์ไทซิ่ง จํากัด
4. คุณวารุณี มานุพีรพันธ์ (Group Account Director) บริษัท เอส ซี แมทซ์บ็อก
5. คุณเกษมชัย นิธิวรรณากุล (Managing Director) บริษัท ซีวีที แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
6. รองศาสตราจารย์ ดร.เสรี วงษ์มณฑา (Senior consultant) บริษัท เบ็ตเตอร์อิมแพค คอมมูนิเคชั่น จํากัด
7. คุณอําพล กอบน้ําเพชร (Managing Director) บริษัท สยาม แอด เน็ต จํากัด
8. คุณอารญารัตน์ ชาญชัยณรงค์ (Managing Director) บริษัท บิ๊กเฮด จํากัด
9. คุณมนตรี สุขเสริมส่งชัย (Managing Director) บริษัท เซ็นจูรี่ แอดเวอร์ไทซ่ิง จํากัด
10. คุณประภาพรรณ ภูวเจนสถิตย์ (Managing Director) บริษัท เบรนเอเซีย จํากัด
ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ศึกษารูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ที่ใช้แนวคิดการสื่อ สารการตลาดแบบ
ผสมผสานในการดำเนินธุรกิจ โดยใช้รูปแบบโครงสร้างบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ Gronstedt และ Thorson
(1996) ได้ทำการศึกษาและจัดหมวดหมู่ไว้ 5 รูปแบบ เป็นกรอบในการศึกษา
2. ทำการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Depth interview) ระหว่าง วันที่ 26 มกราคม – 15 มีนาคม พ.ศ. 2544
3. นำข้อมูลที่ได้จากสัมภาษณ์เชิงลึกมาสรุปผลถึงรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทน โฆษณาที่ดำเนิน
ธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทยว่ามีโครง สร้างอย่างไร และอิทธิพล
ของแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อบริษัทตัวแทน โฆษณาในด้านต่าง ๆ เป็นอย่างไร
4. นำข้อมูลที่ได้จากการสรุปผลมาวิเคราะห์
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ประกอบด้วยเครื่องมือ 2 ประเภทร่วมกัน ได้แก่
แนวคำถาม (Question guideline) แผนภาพโครงสร้างองค์กร
จํานวน 13 ข้อ ประกอบไปด้วยคําถามที่เกี่ยวกับ ประวัติขององค์กร ลักษณะการให้บริการ ข้ันตอนการดําเนินงาน และ
โครงสร้างขององค์กร อุปสรรคในการดําเนินงานโดยใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสม ผสาน และแนวโน้มการ
ปรับโครงสร้างขององค์กรในอนาคต
การวิเคราะห์ข้อมูล
ใช้การวิเคราะห์เชิงพรรณนา (Descriptive analysis) โดยแบ่งการวิเคราะห์ข้อมูลออกเป็น 3 ส่วน
ลักษณะรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยแบ่งตามลักษณะ การถือหุ้น
ลักษณะรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยที่จะก่อให้เกิดประ สิทธิภาพในการดำเนินงาน
สอดคล้องกับแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
ปัญหาที่เกิดจากการบริหารงานของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย ภายใต้แนว คิดการสื่อสารการตลาดแบบ
ผสมผสาน
ผลการวิจัย
บริษัทตัวแทนโฆษณาที่เกิดจากการร่วมทุนกันจำนวน 4 แห่ง และบริษัทตัวแทนโฆษณาที่
เป็นของไทยจำนวน 10 แห่ง พบว่ามีโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณา 2 รูปแบบ
องค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอก (The consortium)
องค์กรที่มีหน่วยงานหลักหน่วยเดียว (The consortium with one dominant agency)
ผลการวิจัย (ต่อ)
ซึ่งมีลักษณะตรงตามรูปแบบโครงสร้างขององค์กร 5 ประเภทที่ Gronstedt และ Thorson (1996) ได้ทำการศึกษาไว้ ดังนั้น ผู้วิจัย
จึงทำการสรุปผลการวิจัย โดยแบ่งรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยไว้ 5 ประเภทด้วยกัน ได้แก่
(1) องค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอก (The consortium)
(2) องค์กรที่มีแผนกหรือบริษัทในเครือแต่มีเครื่องมือทางการตลาดให้บริการไม่ครบ
วงจร (The consortium with one dominant agency)
(3) องค์กรที่มีแผนก หรือบริษัทในเครือและมีเครื่องมือทางการตลาดให้บริการครบ
วงจร (The integrated agency with business units)
ผลการวิจัย (ต่อ)
(4) องค์กรที่ให้บริการทางการตลาดแบบครบวงจรโดยทุกแผนกไม่มีหน่วยธุรกิจที่มีผล
กำไรเป็นของตนเอง (The integrated agency)
(5) องค์กรที่มีหน่วยธุรกิจย่อยที่ให้บริการแบบครบวงจรและมีผลกำไรเป็นของตนเอง
(The brand team agency)
ผลการวิจัย (ต่อ)
(1) องค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอก (The consortium)
บริษัทตัวแทนโฆษณาจะช่วยลูกค้าในการวางแผนกลยุทธ์และช่วยเลือกเครื่องมือในการสื่อสารการตลาด
ส่วนการใช้เครื่องมือสื่อสารทางการตลาดตัวอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากการโฆษณา ทางบริษัทตัวแทนโฆษณาจะส่งให้บริษัท
ผู้เชี่ยวชาญเครื่องมือสื่อสารการตลาดแต่ละประเภทภายนอกองค์กรเป็นผู้ดูแล โดยที่บริษัทตัวแทนโฆษณาเองจะทำหน้าที่
เป็นผู้ประสานงาน บริษัทตัวแทนโฆษณาที่มีลักษณะโครงสร้างแบบนี้ส่วนใหญ่จะเป็นบริษัทขนาดกลางลักษณะเด่นของ
โครงสร้างแบบนี้จะมีความคล่องตัวสูงและสามารถเลือกผู้เชี่ยวชาญที่เหมาะกับงานชิ้นนั้น ๆ ได้ และยังใช้เงินได้อย่างมี
ประสิทธิภาพเพราะบริษัทตัวแทนโฆษณาไม่ต้องจ้างผู้เชี่ยวชาญด้านต่าง ๆ ไว้ในบริษัท แต่โครงสร้างนี้ก็มีข้อเสีย คือขาดการ
สื่อสารระหว่างผู้เชี่ยวชาญในแต่ละด้าน การทำงานจะอยู่ในลักษณะแนวตั้ง (Vertical) คือสั่งการจากบริษัทตัวแทน โฆษณา
ไปยังผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทำให้การประสานงานในแนวราบ (Horizontal) ระดับต่ำและขาดความสอดคล้องกันกัน
เนื่องจากผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านจะทำในสิ่งที่ตนสนใจ และเพื่อผลประโยชน์ของตนเองเท่านั้น (Gronstedt & Thorson, 1996)
ผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัทตัวแทนโฆษณา กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่มีลักษณะโครงสร้างองค์กรในลักษณะนี้ มีเพียง 2
บริษัท ได้แก่ (1)บริษัท บีบีดี โอ (กรุงเทพ) จํากัด และ(2)บริษัท ซาทชิ แอนด์ ซาทชิ จํากัด
ซึ่งเป็นบริษัทตัวแทนโฆษณาของต่างประเทศทั้ง 2 บริษัท
ผลการวิจัย (ต่อ)
(2) องค์กรที่มีแผนกหรือบริษัทในเครือแต่มีเครื่องมือทางการตลาดให้บริการไม่ครบ
วงจร (The consortium with one dominant agency)
จะมีลักษณะคล้ายกับ โครงสร้างองค์กรที่มีหน่วยงานหลักหน่วยเดียว (The consortium with one dominant
agency) ตามที่Gronstedt และ Thorson (1996) ภายในบริษัท หรือบริษัทในเครือมีการให้บริการเครื่องมือ
ทางการตลาดมากกว่า 2 เครื่องมือและในบางแผนก หรือบริษัทในเครือก็จะมีหน่วยธุรกิจที่มีผลกำไรเป็นของ
ตนเอง หากมีงานที่ต้องใช้เครื่องมือทางการตลาดที่นอกเหนือจากเครื่องมือที่ให้บริการอยู่ ก็จะกระจายงาน
ออกสู่บริษัทผู้เชี่ยวชาญภายนอก โดยทางบริษัท ฯ ตั้งบุคลากรของบริษัทเป็นหัวหน้ากลุ่มเพื่อดูแล ควบคุม
งานให้เป็นไปตามแนวคิดหลักของงานชิ้นนั้น ๆ
ผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัทที่เกิดจากการร่วมทุน 3 บริษัท ได้แก่ (1)บริษัท ทีบีดับบลิวเอ เน็กซ์ แอนด์ ทริพ
เพลท แอดเวอร์ ไทซิ่ง จํากัด (2)บริษัท แฟลกชิฟ จํากัด
(3)บริษัท ไทย ฮากุโฮโด จํากัด
โครงสร้างองค์กรในลักษณะนี้ พบมากที่สุดจํานวน 8 บริษัท จากการสัมภาษณ์ 24 บริษัท
บริษัทตัวแทนโฆษณาของคนไทย 3 บริษัท
ได้แก่ (1)บริษัท บิ๊กเฮด จํากัด
(2)บริษัท ซีวีที แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
(3)บริษัท เอส ซี แมทซ์ บอก จํากัด
บริษัทตัวแทนโฆษณาของต่างประเทศ 2 บริษัท ได้แก่
(1)บริษัท เกรย์ (ไทยแลนด์) จํากัด
(2)บริษัท ชูโอ เซ็นโก (ประเทศไทย) จํากัด
ผลการวิจัย (ต่อ)
มีลักษณะของโครงสร้างที่คล้ายกับโครงสร้าง องค์กรที่ดำเนินการโดยหน่วยงานอิสระ (The corporation with
autonomous units) ของ Gronstedt และ Thorson (1996) ที่มีผู้เชี่ยวชาญทุกด้านอยู่ในบริษัทแต่แยกเป็นแผนก ๆ
ตามความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน บางครั้งในแต่ละแผนกจะกลายเป็นบริษัทใหม่และมีชื่อเฉพาะของตน เอง และมี
อาคารสำนักงานคนละอาคาร โดยทั่วไปแล้ว บริษัทขนาดกลางและบริษัทขนาดใหญ่จะ มีโครงสร้างแบบนี้ ซึ่ง
ผู้จัดการแผนกบริหารงานลูกค้า (Account manager) แต่ละรายนั้น มีหน้าที่ รับผิดชอบงานที่สูงมาก เพราะต้องทำ
หน้าที่ประสานงานกับแผนกต่าง ๆ ติดตามความคืบหน้าของ งานจากผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนก และต้องคอย
ควบคุมความสอดคล้องของชิ้นงานทั้งหมดเพื่อ ให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน
(3) องค์กรที่มีแผนก หรือบริษัทในเครือและมีเครื่องมือทางการตลาดให้บริการ
ครบวงจร (The integrated agency with business units)
ผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัทตัวแทนโฆษณาของต่างประเทศ 4 บริษัท ได้แก่ (1)บริษัท เบทส์ (ประเทศไทย) จํากัด
(2)บริษัท โลว์ลินตาส แอนด์ พาร์ทเนอร์ จํากัด (3)บริษัท เจ วอลเตอร ์ธอมสัน จํากัด
(4)บริษัท โอกิลวี่ แอนด์ เมเธอร์ จํากัด
บริษัทตัวแทนโฆษณากลุ่มผู้ให้ สัมภาษณ์ที่มีลักษณะโครงสร้างองค์กรในลักษณะนี้ ทั้งหมด 8 บริษัท จากกลุ่ม
บริษัทที่ให้สัมภาษณ์ทั้งหมด 24 บริษัท
บริษัทตัวแทนโฆษณาของคนไทย 3 บริษัท ได้
แก่ (1)บริษัท สปา แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
(2)บริษัท ฟาร์อีสต์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
(มหาชน) (3)บริษัท เฟม ไลน์ จํากัด
บริษัทที่เกิดจากการร่วมทุน 1 บริษัท ได้แก่
บริษัท ประกิต ปับลิ ซีส จํากัด
ผลการวิจัย (ต่อ)
สำหรับโครงสร้างขององค์กรที่ให้บริการทางการตลาดแบบครบวงจร โดยทุกแผนกไม่มี หน่วยธุรกิจที่มีผลกำไร
เป็นของตนเอง (The integrated agency) นี้ ไม่มีความคล้ายกับรูปแบบ โครงสร้างองค์กรที่ Gronstedt และ
Thorson (1996) ได้ศึกษาไว้เลย โครงสร้างองค์กรแบบนี้ จะมี แผนกที่ให้บริการเครื่องมือการตลาดทุกเครื่องมือ
เช่น แผนกโฆษณา แผนกประชาสัมพันธ์ แผนก กิจกรรมพิเศษทางการตลาด แผนกส่งเสริมการขาย แผนก
การตลาดทางตรง เป็นต้น องค์กรใน ลักษณะนี้มักเป็นองค์กรขนาดเล็กที่ไม่มีบริษัทในเครือทุกแผนกที่อยู่ภายใน
บริษัทไม่ได้เป็นหน่วยธุรกิจที่มีกำไรเป็นของตนเอง และไม่มีการกระจายงานออกสู่ภายนอกเลย ลักษณะนี้ ถือได้
ว่าเป็นบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ให้บริการแบบครบวงจรในที่เดียวอย่างแท้จริง
(4) องค์กรที่ให้บริการทางการตลาดแบบครบวงจรโดยทุกแผนกไม่มีหน่วยธุรกิจ
ที่มีผลกำไรเป็นของตนเอง (The integrated agency)
ผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัทตัวแทนโฆษณากลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่มีลักษณะโครงสร้างองค์กรในลักษณะนี้
ประกอบด้วย บริษัทตัวแทนโฆษณาของคนไทย 4 ทั้งสิ้น รวมบริษัทด้วยกัน ได้แก่
(1)บริษัท สยาม แอดเน็ต จํากัด (2)บริษัท เซ็นจูรี่ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
(3)บริษัท เบรน เอเชีย จํากัด และ (4)บริษัท เบ็ตเตอร์ อิมแพค คอม มูนิเคชั่น จํากัด
ผลการวิจัย (ต่อ)
โครงสร้างขององค์กรที่มีหน่วยธุรกิจย่อยที่ให้บริการแบบครบวงจร และมีผลกำไรเป็นของ ตนเอง (The brand
team agency) เป็นแนวคิดใหม่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทยช่วงประมาณปีพ.ศ. 2539 โดยเริ่มจากบริษัท ลีโอเบอร์
เนทท์ จำกัด และในต้นปีพ.ศ. 2542 นี้ บริษัท เดนท์สุยังก์ แอนด์ รูบิแคม จำกัด ก็ได้เริ่มใช้แนวคิดโครงสร้างแบบนี้
เช่นกัน ซึ่งโครงสร้างนี้ ไม่มีความคล้ายกับ รูปแบบโครงสร้างองค์กรที่ Gronstedt และ Thorson (1996) ได้
ทำการศึกษาไว้เลย มีลักษณะที่คล้ายกับการมีองค์กรเล็ก ๆ หลาย ๆ องค์กรอยู่ในบริษัทใหญ่ โดยไม่ ได้ตั้งเป็น
บริษัทแยกออกมา แต่หน่วยธุรกิจมีกำไรเป็นของตนเอง ในบริษัทใหญ่ 1 บริษัท อาจมี องค์กรย่อยอยู่ 4-5 หน่วย
ธุรกิจ หรือมากกว่า ซึ่งแต่ละองค์กรย่อย หรือหน่วยธุรกิจนั้น จะมีเครื่อง มือที่ให้บริการทางการตลาดเฉพาะงาน
โฆษณา และงานด้านการวางแผนกลยุทธ์ ส่วนเครื่องมือทางการตลาดตัวอื่น ๆ นั้น เช่น การประชาสัมพันธ์
การตลาดทางตรง หรือการส่งเสริมการขาย จะ ใช้แผนกที่เป็นส่วนกลางของบริษัทใหญ่ร่วมกัน
(5) องค์กรที่มีหน่วยธุรกิจย่อยที่ให้บริการแบบครบวงจรและมีผลกำไรเป็นของ
ตนเอง (The brand team agency)
ผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัทตัวแทนโฆษณากลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่มีลักษณะโครงสร้างองค์กรใน
ลักษณะนี้ มี เพียง 2 บริษัทเท่านั้น ซึ่งเป็นบริษัทตัวแทนโฆษณาของต่าง
ประเทศทั้ง 2 บริษัท ได้แก่ (1)บริษัท เดนท์สุ ยังก์ แอนด์ รูบิแคม จํากัด
และ(2)บริษัท ลีโอ เบอร์เนทท์ จํากัด
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ลักษณะโครงสร้างบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ใช้แนวคิดการสื่อสารทางการตลาดในประเทศไทยทั้ง 5 ประเภท
ลักษณะ การประสานงาน
ระหว่างเครื่อง มือ
การสื่อสารทาง
การตลาด ต่าง ๆ
ขนาดองค์กร ระดับของความ
สอดคล้องของ
เครื่องมือการ
สื่อสารทางการ
ตลาด
จุดแข็ง จุดอ่อน
(1) องค์กรที่กระจาย
งาน สู่ภายนอก (The
consortium)
บริษัทเช่ียวชาญ
ทางด้าาน โฆษณาแต่
เพียงอย่างเดียว
เครื่องมือสื่อสาร
ทางการ ตลาดที่
นอกเหนือนั้น จะ
กระจาย
ออกสู่ภายนอก
แนวตั้ง เล็ก น้อยมาก - มีความคล่องตัวสูง
- มีความคุ้มค่าใน
การใช้เงิน
- เลือกผู้ดูแล
เครื่องมือสื่อ
การใช้เคร่ืองมือ
สื่อสารทาง
การใช้เครื่องมือสื่อ
สารทางการตลาดท่ี
เหมาะกับงานนั้นๆได้
เป็นอย่างดี
- อาจขาดความสอด
คล้อง ในการ
ประสานงานของ
เครื่องมือสื่อสาร
ทางการ ตลาด
- ผู้ดูแลเคร่ืองมือส่ือ
สารทางการตลาด
อาจเน้นผลกําไรของ
ตนเองมากกว่าผล
ประโยชน์ของลูกค้า
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ลักษณะโครงสร้างบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ใช้แนวคิดการสื่อสารทางการตลาดในประเทศไทยทั้ง 5 ประเภท
ลักษณะ การประสานงาน
ระหว่างเครื่อง มือ
การสื่อสารทาง
การตลาด ต่าง ๆ
ขนาดองค์กร ระดับของความ
สอดคล้องของ
เครื่องมือการ
สื่อสารทางการ
ตลาด
จุดแข็ง จุดอ่อน
(2) องค์กรที่มีแผนก
หรือ บริษัทในเครือ
แต่มีเครื่อง มือทาง
การตลาดให้บริการ
ไม่ครบวงจร (The
consortium with one
dominant agency)
บริษัทเชี่ยวชาญ
ทางด้านเคร่ือง
มือส่ือสารทาง
การตลาด 2 ประเภท
ขึ้นไป แต่ไม่ครบทุก
ประเภท สําหรับ
เครื่องมือส่ือ สารทาง
การตลาดที่
นอกเหนือ น้ันจะ
กระจายออกสู่
ภายนอก
แนวต้ัง เล็ก และกลาง น้อย - ความคล่องตัวสูง
- มีความคุ้มค่าใน
การ ใช้เงิน
- ผู้ดูแลเคร่ืองมือ
สื่อสารทางการตลาด
ได้เรียนรู้
ประสบการณ์ท่ีแปลก
ใหม่
- มีแนวโน้มที่จะมี
ความสอด คล้อง ใน
การประสานงาน ของ
เคร่ืองมือส่ือสารทาง
การ ตลาดท่ีต่ํา
- ผู้ดูแลเครื่องมือ
ส่ือสารทาง การ
ตลาดอาจเน้นผลกํา
ไร ของตนเองมาก
กว่าผล ประ โยชน์
ของลูกค้าเกินไป
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ลักษณะโครงสร้างบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ใช้แนวคิดการสื่อสารทางการตลาดในประเทศไทยทั้ง 5 ประเภท
ลักษณะ การประสานงาน
ระหว่างเครื่อง มือ
การสื่อสารทาง
การตลาด ต่าง ๆ
ขนาดองค์กร ระดับของความ
สอดคล้องของ
เครื่องมือการ
สื่อสารทางการ
ตลาด
จุดแข็ง จุดอ่อน
(3) องค์กรที่มีแผนก
หรือ บริษัทในเครือ
และมีเคร่ือง มือทาง
การตลาดให้บริการ
ครบวงจร (The
integrated agency
with business units)
บริษัทมีเคร่ืองมือ
สื่อสารทาง
การตลาดครบทุก
ประเภท และ บางหน่
วยงานท่ีดูแลเคร่ือง
มือ สื่อสารทาง
การตลาดเป็น หน่วย
ธุรกิจที่มีกําไรเป็นของ
ตนเอง
แนวตั้ง และแนวราบ กลาง และใหญ่ สูง - มีความสอดคล้อง
ใน การใช้เคร่ือง
มือส่ือสารทาง
การตลาด
- ผู้ดูแลเคร่ือง
มือส่ือสารทาง
การตลาดได้เรียนรู้
ประสบ การณ์ที่
แปลกใหม่ และเป็นผู้
เช่ียวชาญเฉพาะด้าน
- อาจขาดความ
คล่องตัว
- ผู้ดูแลเคร่ืองมือ
สื่อสารทาง การ
ตลาดอาจเน้นผลกํา
ไรของหน่วยงานย่อย
มากกว่า ผลประโยชน์
ของลูกค้าเกินไป
- ปริมาณงานในแต่
ละแผนก อาจไม่
สมดุลกัน
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ลักษณะโครงสร้างบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ใช้แนวคิดการสื่อสารทางการตลาดในประเทศไทยทั้ง 5 ประเภท
ลักษณะ การประสานงาน
ระหว่างเครื่อง มือ
การสื่อสารทาง
การตลาด ต่าง ๆ
ขนาดองค์กร ระดับของความ
สอดคล้องของ
เครื่องมือการ
สื่อสารทางการ
ตลาด
จุดแข็ง จุดอ่อน
(4) องค์กรที่ให้บริการ
ทาง การตลาดแบบ
ครบวงจร โดยทุก
แผนกไม่มีหน่วย
ธุรกิจที่มีผลกําไรเป็น
ของ ตนเอง (The
integrated agency)
บริษัทมีเครื่องมือ
ส่ือสารทาง
การตลาดครบทุก
ประเภท และไม่มี
หน่วยงานใดเลย ที่
ดูแลเครื่องมือสื่อสาร
ทางการ ตลาด ที่เป็น
หน่วยธุรกิจที่มี กําไร
เป็นของตนเอง
แนวราบ เล็ก สูงมาก - มีความคล่องตัวสูง
- มีความสอดคล้อง
ในการใช้เคร่ืองมือ
สื่อสารทางการตลาด
- สามารถดูแล
ผลประโยชน์ของ
ลูกค้าได้ใกล้ชิด
- อาจขาดความ
เป็นผู้เชี่ยว ชาญ
เฉพาะด้าน
- อาจสามารถรับงาน
ได้จํากัด
- อาจไม่มีผลกําไร
เป็นแรงจูง ใจในการ
ทํางาน
- ปริมาณงานในแต่
ละแผนกอาจไม่สมดุล
กัน
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
ลักษณะโครงสร้างบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ใช้แนวคิดการสื่อสารทางการตลาดในประเทศไทยทั้ง 5 ประเภท
ลักษณะ การประสานงาน
ระหว่างเครื่อง มือ
การสื่อสารทาง
การตลาด ต่าง ๆ
ขนาดองค์กร ระดับของความ
สอดคล้องของ
เครื่องมือการ
สื่อสารทางการ
ตลาด
จุดแข็ง จุดอ่อน
(5) องค์กรที่มีหน่วย
ธุรกิจ ย่อยที่ให้
บริการแบบครบ
วงจรและมีผลกําไร
เป็นของตนเอง (The
brand team
agency)
บริษัทมีหน่วย
ธุรกิจย่อย หลาย
หน่วยธุรกิจที่มีกําไร
เป็นของตนเอง ที่ให้
บริการ เครื่องมือ
สื่อสารทางการ
ตลาดครบทุก
ประเภท และ มี
อิสระในการทํางาน
แนวราบ ใหญ่ สูง - มีความคล่องตัว
สูง
- มีความสอดคล้อง
ในการใช้เครื่องมือ
สื่อสารทางการ
ตลาด
- มีความรู้สึกเป็น
เจ้าของสินค้า
- มีอิสระในการ
ตัดสินใจ
- กลุ่มผู้ดูแลตรา
สินค้าแต่ละกลุ่มอาจ
ขาดการเรียน รู้
ประสบการณ์ท่ี
แปลก ใหม่
- อาจเกิด
ความเครียด และ มี
การแข่งขันระหว่าง
กลุ่มผู้ดูแลตรา
สินค้าท่ีสูง
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย
รูปแบบโครงสร้างองค์กรที่กระจายสู่ภายนอก (The consortium) มีจุดเด่น
คือ สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็ว และสามารถเลือกใช้บริษัทผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ
ด้านได้อย่างเหมาะสมกับงานที่จะได้รับ
มี 2 บริษัท ได้แก่
บริษัท บีบีดีโอ (กรุงเทพ) จํากัด
บริษัท ซาทชิ แอนด์ ซาทชิ จํากัด
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
รูปแบบโครงสร้างมีแผนกหรือบริษัทในเครือมีแต่เครื่องมือทางการตลาด
บริการไม่ครบวงจร (The consortium with one dominant agency) มีระดับ
ของการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่สูงกว่ารูปแบบโครงสร้างองค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอก เพราะมี
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านจึงสามารถดูแลอย่างใกล้ชิดแต่ก็อาจมีงานส่วนหนึ่งที่ถูกกระจายออกเพราะเครื่องมือ
สื่อสารทางการตลาดไม่ครบทุกเครื่องมือซึ่งอาจเกิดความลำเอียงในการทำงานเพราะบริษัทภายนอกต่าง
ต้องการกำไรให้หน่วยงานตนเองโดยไม่คำนึงแนวคิดจากการทำงานที่แท้จริง
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัท บิ๊กเฮด จํากัด
บริษัท ซีวีที แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
บริษัท เอส ซี แมทซ์บอก จํากัด
บริษัท เกรย์ (ไทยแลนด์) จํากัด
บริษัท ชูโอ เซนโก (ประเทศไทย) จํากัด
บริษัท ทีบีดับบลิวเอ เน็กซ์ แอนด์ ทริพเพลท แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
บริษัท แฟลกชิฟ จํากัด
บริษัท ไทย ฮากุโกโด จํากัด
มี 8 บริษัท ได้แก่
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
รูปแบบโครงสร้างองค์กรที่มีแผนกหรือบริษัทในเครือและมีเครื่องมือทางการตลาด
ให้บริการครบวงจร (The consortium with one dominant agency) จะมีเครื่องมือ
สื่อสารการตลาดที่มีการผสมผสานที่สูงมากเพราะมีผู้เชี่ยวชาญแต่ละด้านครบทุกฝ่ายจึง
สามารถทำงานได้อย่างสอดคล้องกันอย่างมีประสิทธิภาพและสามารถควบคุมเงินได้ดี
เพราะมีส่วนกลางคอยดูแล
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัท สปา แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
บริษัท ฟาร์อีสต์ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด (มหาชน)
บริษัท เฟมไลน์ จํากัด
บริษัท เบทส์ (ประเทศไทย) จํากัด
บริษัท โลว์ ลินตาส แอนด์ พาร์ทเนอร์ จํากัด
บริษัท เจ วอลเตอร์ ธอมสัน จํากัด
บริษัท โอกิลว่ี แอนด์ เมเธอร์ จํากัด
บริษัท ประกิต ปับลิซีส จํากัด
มี 8 บริษัท ได้แก่
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
รูปแบบโครงสร้างองค์กรที่ให้บริการทางการตลาดแบบครบวงจรโดยทุกแผนกไม่มี
หน่วยธุรกิจที่มีผลกำไรเป็นของตนเอง (The integrated agency) รูปแบบโครงสร้าง
องค์กรคล้ายกับโครงสร้างองค์กรที่มีแผนกหรือบริษัทในเครือและมีเครื่องมือทาง
การตลาดครบวงจรเนื่องจากระดับการสื่อสารการตลาดเป็นแบบผสมผสานที่สูงมากไม่ได้
กระจายงานสู่ภายนอกหรือเครือบริษัทเพราะเป็นการทำงานในรูปแบบที่จัดการเองทุก
อย่างภายในบริษัทเองจึงไม่มีการแสวงหาผลกำไรเพิ่มเติมจากภายนอก
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัท สยาม แอดเน็ต จํากัด
บริษัท เซ็นจูรี่ แอดเวอร์ไทซิ่ง จํากัด
บริษัท เบรน เอเชีย จํากัด
บริษัท เบ็ตเตอร์ อิมแพค คอมมูนิเคชั่น จํากัด
มี 4 บริษัท ได้แก่
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
รูปแบบโครงสร้างองค์กรที่มีหน่วยธุรกิจย่อยที่ให้บริการครบวงจรและมี
ผลกำไรเป็นของตนเอง (The brand team agency) เป็นรูปแบบโครงสร้าง
สุดท้ายจุดเด่นคือบุคลากรจะรู้สึกว่าตนเป็นเจ้าของหน่วยงานที่ทำอยู่การทำงานจะรวดเร็ว
มีอิสระในการคิดและตัดสินใจเห็นใจภายในกลุ่มตนเองและมีกำไรในหน่วยงานกระตุ้น
ข้อเสียคือการแข่งขันแสวงหาผลกำไรทำให้เกิดความเห็นแก่ตัวและไม่พอใจในกฎเกณฑ์
ของบริษัทก็อาจจะทำให้ลาออกกันทั้งกลุ่มหน่วยงานได้
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
บริษัทเดนท์สุ ยังก์ แอนด์ รูบิแคม จํากัด
บริษัท ลีโอ เบอร์เนทท์ จํากัด
มี 2 บริษัท ได้แก่
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
สรุป 5 รูปแบบจากข้อมูลข้างต้นไม่สามารถตัดสินได้ว่ารูปแบบ 5
อย่างแบบไหนดีที่สุดแต่เราต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับงานและ
สถานการณ์ดำเนินงานเช่นความพร้อม จำนวนบุคลากร เงินทุน
หมุนเวียนจำนวนลูกค้า หรือวัฒนธรรมองค์กร
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
อิทธิพลของแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อรูปแบบโครงสร้าง
บริษัทตัวโฆษณาในประเทศไทย สามารถสรุปผลกระทบได้ออกเป็น 4 รูปแบบ
1. ส่งผลให้บริษัทตัวแทนโฆษณาเปลี่ยนแปลงทำงานโดยให้บริการสื่อสารการตลาดครบวงจร
บริษัทตัวแทนโฆษณาจะกระจายงานที่ไม่เกี่ยวกับการโฆษณากับผู้เชี่ยวชาญเฉพาะภายนอก
ซึ่งบริษัทตัวแทนจะดูแลการปรับโครงสร้างลักษณะนี้พบในบริษัทระดับกลางต่างประเทศและ
มีโครงสร้างองค์กรแบบกระจายงานสู่ภายนอก
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
อิทธิพลของแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อรูปแบบโครงสร้าง
บริษัทตัวโฆษณาในประเทศไทย สามารถสรุปผลกระทบได้ออกเป็น 4 รูปแบบ
2. ทําให้บริษัทตัวแทนโฆษณามีการปรับโครงสร้าง โดยขยายการ ให้บริการเครื่องมือ
สื่อสารทางการตลาดมากขึ้น บางครั้งอาจจะขยายเครื่องมือสื่อสารทางการ ตลาด
ครบทุกบริการ โดยอาจปรับโครงสร้างจากการเพิ่มแผนก หรือโดยการร่วมทุนกับ
บริษัทตัว แทนโฆษณาอื่น ๆ เพื่อตั้งบริษัทในที่ให้บริการเครื่องมือสื่อสารทางการ
ตลาดชนิดใดชนิดหนึ่งโดย เฉพาะขึ้นมา
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
อิทธิพลของแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อรูปแบบโครงสร้าง
บริษัทตัวโฆษณาในประเทศไทย สามารถสรุปผลกระทบได้ออกเป็น 4 รูปแบบ
3. ได้เกิดบริษัทใหม่ขึ้นมาที่มีวัตถุประสงค์ขององค์กร ในการทำการสื่อสารทาง
การตลาดโดยเฉพาะ ตั้งแต่เริ่มก่อตั้งบริษัท โดยองค์กรจะให้บริการการสื่อสาร
การตลาด แบบครบวงจร และไม่มีการกระจายงานออกสู่ภายนอกเลย
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
อิทธิพลของแนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานที่มีต่อรูปแบบโครงสร้าง
บริษัทตัวโฆษณาในประเทศไทย สามารถสรุปผลกระทบได้ออกเป็น 4 รูปแบบ
4. พบในองค์กรขนาดใหญ่และบริษัทตัวแทนโฆษณาต่างประเทศจะมีการสร้าง
หน่วยธุรกิจย่อย 4-5 หน่วย แบบครบวงจรแต่ละหน่วยมีกำไรของงานตนเองซึ่ง
โครงสร้างลักษณะนี้ตรงกับโครงสร้างองค์กรที่มีธุรกิจย่อยแบบครบวงจร และมี
ผลกำไรเป็นของตนเอง
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
วิเคราะห์ผลการวิจัย
สําหรับในส่วนของการวิเคราะห์ผลการวิจัย จะวิเคราะห์ตามหลักแนวคิด ทฤษฎี และงาน วิจัยที่
เกี่ยวข้องที่ได้กล่าวมาแล้ว โดยสามารถวิเคราะห์ได้ออกเป็น 3 ประเด็น
การวิเคราะห์ เกี่ยวกับโครงสร้างองค์กรของบริษัทตัวแทนโฆษณา
การวิเคราะห์เรื่องการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
การวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารการตลาดแบบ
ผสมผสานกับบริษัทตัวแทนโฆษณา
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
การวิเคราะห์เกี่ยวกับโครงสร้างองค์กรของบริษัทตัวแทนโฆษณา
โครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาจากการวิจัยครั้งนี้มีลักษณะของโครงสร้างองค์กรเป็นสองลักษณะ ได้แก่
องค์กรแบบเป็นทางการ (Formal organization) องค์กรแบบไม่เป็นทางการ (Informal organization)
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
โครงสร้างองค์กรแบบแรกที่เป็นองค์กรแบบทางการ
จะต้องมีการแสดงแผนผังของโครงสร้างองค์กรที่
ชัดเจน ซึ่งจะต้องมีการแสดงถึงลำดับขั้นของอำนาจ
การบริหาร ผู้บังคับบัญชาใสายงาน ตำแหน่งหน้าที่
และขอบเขตของงานอย่างชัดเจน
โครงสร้างองค์กรแบบที่สองที่เป็นองค์กรแบบไม่เป็น
ทางการนั้นจะมีลักษณะโครงสร้างองค์กรที่มุ่ง
ความสำคัญไปยังความสัมพันธ์ระหว่างบุคลากร
ภายในองค์กรโดยปกติโครงสร้างดังกล่าวจากเป็น
โครงสร้างที่เกิดขึ้นชั่วคราว และมักจะเกิดขึ้นใน
ระดับล่างเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารภายใน
องค์กรเท่านั้น
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
มีเพียงโครงสร้างองค์กรที่กระจายงานสู่ภายนอกและองค์กรที่มีหน่วยงานหลัก
หน่วยเดียวเพียงสองโครงสร้างพี่ตงกับโครงสร้างองค์กรที่ Gronstedt และ
Thorson (1996) ได้ศึกษาไว้ และตรงกับรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทน
โฆษณาในประเทศไทย
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
วิเคราะห์เรื่องการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
แนวคิดการสื่อสารทางการตลาดแบบผสมผสานในการดําเนินงาน โดยการ (1) ทํางานร่วมกัน
จากทุก ฝ่ายในบริษัท (Cross-functional management) (2) การวางแผนงบประมาณจะไม่ดูจาก
แผนของ ปีที่ผ่านมา (Zero-based planning) (3) มีการสร้างฐานข้อมูล (Database building)
(4) เป็นการ ส่ือสารแบบสองทาง (Two-way communications) และ (5) มุ่งความสัมพันธ์ใน
ระยะยาว (Long- term relationship) ซึ่งสออดคล้องกับแนวคิดของ Duncan (1995)
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
การวิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานกับบริษัทตัวแทนโฆษณา
บริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย มีการใช้การสื่อสารทาง การตลาดแบบผสมผสาน 2 รูปแบบ ได้แก่ การที่
ทุกๆ หน่วยธุรกิจ (Business units) ในบริษัทใช้ บริษัทตัวแทนทางด้านการสื่อสารเฉพาะด้านเหมือนกัน ซึ่งเรียก
รูปแบบน้ีว่า การใช้สื่อสารแบบ ผสมผสานในแนวราบ (Horizontal integration) และการที่ในหน่วยธุรกิจหนึ่งๆ ใช้
เครื่องมือการสื่อ สารการตลาดทุกประเภท จากบริษัทตัวแทนที่ให้บริการการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
(Integrated communication agency) เพียงบริษัทเดียว ซึ่งเรียกรูปแบบนี้ว่า การใช้การสื่อสาร แบบผสมผสานใน
แนวดิ่ง (Vertical integration) ตามที่ Gronstedt (1996) ได้ทําการศึกษาไว้ ซึ่ง การใช้สื่อสารแบบผสมผสานใน
แนวราบ (Horizontal integration)
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
ข้อจำกัดในการวิจัย
มีช่วงเวลาในการเก็บข้อมูลที่จำกัด คือ อยู่ในช่วงวันที่ 1 มกราคม – 15 มีนาคม
พ.ศ. 2544 ดังนั้น ซึ่งทำให้บริษัทตัวแทนโฆษณาจำนวนหนึ่งปฏิเสธการให้
สัมภาษณ์ เนื่องจากไม่มีเวลาเตรียมตัวเพียงพอในการให้สัมภาษณ์
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
ข้อจำกัดในการวิจัย
ในการสัมภาษณ์กลุ่มผู้ให้สัมภาษณ์ที่เป็นบริษัทตัวแทนโฆษณานั้น จะเป็น
ผู้บริหารระดับสูงของบริษัท และมีหน้าที่ความรับผิดชอบมาก จึงทำให้อาจ มี
ปฏิเสธการให้สัมภาษณ์ในอัตราที่ค่อนข้างสูง โดยให้เหตุผลว่าไม่มีเวลา และไม่
พร้อมที่จะให้สัมภาษณ์
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
ข้อจำกัดในการวิจัย
การที่ทางผู้วิจัยได้นำเสนอไว้ในขอบเขตการ วิจัยว่า จะยึดแนวคิดเรื่องรูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทน
โฆษณาที่ Gronstedt และ Thorson (1996) ได้ศึกษาจัดประเภทไว้ 5 รูปแบบ แต่จากการเก็บข้อมูลกลุ่มผู้ให้
สัมภาษณ์ 24 ท่าน จาก 24 บริษัทตัวแทนโฆษณาพบว่าโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณานั้น มี บริษัท
ตัวแทนโฆษณาเพียง 2 แห่งเท่านั้น ที่มีโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาตรงกับโครง สร้างองค์กรที่
กระจายงานสู่ภายนอก ดังนั้น ผู้วิจัยจึงทำการสรุปผลการวิจัย และจัดแบ่งประเภทโครงสร้างของบริษัท
ตัวแทนโฆษณาที่ใช้แนว138 คิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในการดำเนินงานด้วยตนเอง โดยทำ
การจัดประเภทของรูป แบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทย เพิ่มขึ้น
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
ข้อเสนอแนะในการวิจัย
ข้อเสนอแนะในการวิจัยครั้งนี้ ถูกเสนอแนะใน 2 ประเด็น ได้แก่ ข้อเสนอแนะสำหรับการ ทำการศึกษาวิจัย
ในอนาคต และข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลวิจัยไปประยุกต์ใช้ โดยมีรายละเอียดดังนี้
ข้อเสนอแนะในการทำการศึกษาวิจัยในอนาคต
เรื่องที่น่าศึกษาต่อ คือ เรื่องความสัมฤทธิ์ผลในการใช้แนวคิดการ
สื่อสารทางการตลาดแบบผสมผสาน ใน การดำเนินงานของบริษัท
ตัวแทนโฆษณา ว่าเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินการทาง
การตลาดใน ระดับใด และเหมาะสมกับประเทศไทย หรือไม่
สรุปและอภิปรายผลการวิจัย (ต่อ)
ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลวิจัยไปประยุกต์ใช้
ผู้วิจัยได้นำเสนอข้อเสนอแนะในการนำผลการวิจัยไปปรับใช้ใน 2 ลักษณะ
ได้แก่ การแก้ ไขปัญหาที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานของบริษัทตัวแทน
โฆษณาภายใต้แนวคิดการสื่อสารทางการ ตลาดแบบผสมผสาน และ
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับประเภทรูปแบบโครงสร้างองค์กรที่เหมาะสมกับ
ขนาดขององค์กร ในการดเนินงานของบริษัทตัวแทนโฆษณาภายใต้
แนวคิดการสื่อสารทางการ ตาดแบบผสมผสาน

More Related Content

What's hot

Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMasterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMattika Suvarat
 
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กรการสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กรssuser2a5292
 
AIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
AIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานAIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
AIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานมิสเตอร์ บีมมม
 
IMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexIMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexWiwan
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
ADM3306 Media Planning &IMC Review
ADM3306 Media Planning &IMC ReviewADM3306 Media Planning &IMC Review
ADM3306 Media Planning &IMC ReviewPreeyaporn Panyapon
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)Mahasarakham Business School, Mahasarakham University
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
 AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล... AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...KimKano
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 

What's hot (16)

Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BUMasterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
Masterpiece for Me : Independent Study : IMC @ BU
 
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กรการสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
การสื่อสารภายใต้เเนวคิดการสร้างเเบรนด์ภายในองค์กร
 
AIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
AIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานAIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
AIM3304 สถานภาพการวางแผนสื่อโฆษณากับ แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสาน
 
แผน Imc
แผน Imcแผน Imc
แผน Imc
 
Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
ADM3306 Holding Company Review
ADM3306 Holding Company ReviewADM3306 Holding Company Review
ADM3306 Holding Company Review
 
Marketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overviewMarketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overview
 
IMC Plan of Durex
IMC Plan of DurexIMC Plan of Durex
IMC Plan of Durex
 
Course Introduction - IMC
Course Introduction - IMCCourse Introduction - IMC
Course Introduction - IMC
 
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
Media planing : การวางแผนและกลยุทธ์สื่อโฆษณา บทที่ 6
 
ADM3306 Media Planning &IMC Review
ADM3306 Media Planning &IMC ReviewADM3306 Media Planning &IMC Review
ADM3306 Media Planning &IMC Review
 
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
การกำหนดวัตถุประสงค์และงบประมาณการส่งเสริมการตลาด (Ch.6)
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
 AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล... AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
AIM3304 การสื่อสารองค์การบริษัทตัวแทนโฆษณาในประเทศไทยภายใต้การบริหารงานของกล...
 
strategy PR
 strategy PR strategy PR
strategy PR
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 

Similar to รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทย ADM3306 Organizational Structures of IMC Agencies Review

Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to StrategyIntegrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategysiriporn pongvinyoo
 
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies ReviewADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Reviewchonticha chamchuen
 
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...jarudphanwandee
 
ADM3306 MPR Agencies Review
ADM3306 MPR Agencies ReviewADM3306 MPR Agencies Review
ADM3306 MPR Agencies Reviewmook1997
 
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยAIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยTanyaluk Promnoi Maew
 
TH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channelsTH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channelsMassimiliano La Franca
 
ADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATES
ADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATESADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATES
ADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATESWhite Patt
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมdomwitlism
 
นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)ประพันธ์ เวารัมย์
 
IMC Durex
IMC DurexIMC Durex
IMC DurexWiwan
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflinePalmFailasan
 
AIM3304 Advertising Value
AIM3304 Advertising ValueAIM3304 Advertising Value
AIM3304 Advertising ValueGetZii1
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 

Similar to รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทย ADM3306 Organizational Structures of IMC Agencies Review (20)

Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to StrategyIntegrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
 
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies ReviewADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
 
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
 
ADM3306 MPR Agencies Review
ADM3306 MPR Agencies ReviewADM3306 MPR Agencies Review
ADM3306 MPR Agencies Review
 
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทยAIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
AIM3304 การศึกษาการให้บริการของบริษัทตัวแทนโฆษณาสื่อดิจิทัลในประเทศไทย
 
TH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channelsTH Developing communication: Media channels
TH Developing communication: Media channels
 
ADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATES
ADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATESADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATES
ADM3306 ORGANIZATIONAL STRUCTURES OF ACCESS & ASSOCIATES
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคมสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
 
นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักประชาสัมพันธ์(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
IMC Durex
IMC DurexIMC Durex
IMC Durex
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Traditions advertising
Traditions advertisingTraditions advertising
Traditions advertising
 
Crm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศCrm กับบริการสารสนเทศ
Crm กับบริการสารสนเทศ
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
AIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & OfflineAIM3309 Public Relations Online & Offline
AIM3309 Public Relations Online & Offline
 
AIM3304 Advertising Value
AIM3304 Advertising ValueAIM3304 Advertising Value
AIM3304 Advertising Value
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 

รูปแบบโครงสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจ โดยใช้แนวคิดการสื่อสารการตลาดแบบผสมผสานในประเทศไทย ADM3306 Organizational Structures of IMC Agencies Review