SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
Agenda Layout
A
B
C
D
Advertising in Thailand ธุรกิจโฆษณาไทย
Thai Advertising Path เส้นทางโฆษณาไทย
Advertising Value คุณค่าของโฆษณา
Advertising Trend
D
D
Advertising in Thailand
1
ธุรกิจโฆษณาไทย
โฆษณาไทยได้ถือกําเนิดมายาวนานกว่า 170 ปี
และโฆษณาทีได้รับการบันทึกว่าเป็นโฆษณาตัวแรกของเมืองไทย
คือ โฆษณายาควินิน ตีพิมพ์ลงในหนังสือพิมพ์บางกอกริคอร์เดอร์
ในปี พ.ศ.2388 ยุคแรกยังมีข้อจํากัดเรืองเทคโนโลยี
จึงใช้สือสิงพิมพ์เป็นหลัก มีลักษณะเป็นกระดาษคล้ายประกาศแจ้งความ
จนกระทัง ปี พ.ศ. 2470 มีการกําเนิดของ
วิทยุกระจายเสียงเป็นครังแรกขึน โฆษณาจึงมีการแตก
แขนงย้ายมายังสือวิทยุโดยเน้นใช้เพลงประกอบการ
โฆษณาในการสร้างการรับรู้และจดจํา ทีโด่งดังทีสุดจน
เป็นตํานานมาถึงปัจจุบันคือ ถ่านไฟฉายตรากบ
แต่งและร้องโดย นคร มงคลายน
จุดเปลียนแปลงทีสําคัญของวงการโฆษณาไทย
คือ ช่วงทีโทรทัศน์เริมได้รับความนิยมมากขึน ผู้บริโภคเริมมี
ทีวีขาวดําในบ้าน การสือสารจะใช้พิธีกรพร้อมภาพประกอบ
เป็นสไลด์ภาพนิงและคําบรรยาย ก่อนจะพัฒนาเป็นโฆษณา
การ์ตูนเรืองแรกทีมีชือว่า “หนูหล่อ พ่อเขาพาไปดูหมี”
โฆษณาขีผึงบริบูรณ์บาล์ม จากนันโฆษณาทางทีวีก็ได้รับความ
นิยมขึนจนถึงปัจจุบัน หนูหล่อ พ่อเขาพาไปดูหมี
โฆษณา คือรูปแบบการสือสารรูปแบบใด
รูปแบบหนึง เพือส่งเสริมการขาย สร้างการรับรู้
สร้างแรงจูงใจ ตลอดจนกระตุ้นให้ผู้บริโภคเกิดความ
ต้องการสินค้าหรือบริการนัน ๆ โดยทีเจ้าของสินค้าเป็นผู้
ออกค่าใช้จ่ายทังหมด และทําให้ธุรกิจสือมีการพัฒนา
และอยู่มาถึงปัจจุบัน
เสน่ห์ของงานโฆษณานันอยู่ทีการผสมสานระหว่าง
ความเป็น “ศิลปะ” กับ “วิทยาศาสตร์” ได้อย่างลงตัวจน
กลายเป็นชินงานโฆษณาทีสามารถสะกดสายตาของคนนับแสน
นับล้านให้เฝ้าติดตามโฆษณาตังแต่ต้นจนจบ แม้ว่าโฆษณาจะมี
ความยาวเพียงไม่กีวินาทีก็ตาม แต่โฆษณาก็ยังสามารถถ่ายทอด
ข้อมูล และขมวดปมความสนใจให้โฆษณาตอบโจทย์ทางธุรกิจ
ได้ทุกครัง จึงไม่ต้องแปลกใจที นักโฆษณา เป็นอีกอาชีพทีหลาย
คนอยากเข้ามาร่วมงาน
Salmon House X The Original ลอกโหด สะใจ
Advertising Value ทีเกิดขึนในแต่ละยุค
สมัย ยังทรงคุณค่าตามลักษณะของการสือสาร
ทีเปลียนแปลงไป โดยยังทรงคุณค่าควบคู่กับการพัฒนา
สังคมและเศรษฐกิจไทยมากกว่าศตวรรษครึง เป็นการ
ช่วยเสริมสร้างการเจริญเติบโตในภาคเศรษฐกิจ
Amazing Thailand
วงการโฆษณาไทย เริมมีการแตกแขนงจาก
สือสิงพิมพ์ มาสู่ วิทยุกระจายเสียง วิทยุในช่วงแรกผู้จัดรายการ
จะพูดสดเพือการโฆษณา เพราะสามารถเข้าใจง่าย แม้แต่คนอ่าน
หนังสือไม่ออก หลังจากนันไม่นานประชาชนก็เริมสนใจมากขึน
ต่อมามีการใช้เพลงประกอบโฆษณาจึงเป็นยุทธวิธีทีนิยมใช้เช่น
นํามันพืชตาไก่ ยาฉีดกันยุงฟูมากิลา ถ่านไฟฉายตรากบ และอืนๆ
อีกมากมาย เส้นทางโฆษณาของไทยในอดีตมีจุดเปลียนแปลง
พัฒนาการด้านโฆษณาครังยิงใหญ่จากการกําเนิดของสือสําคัญที
ให้ทังภาพและเสียง นันคือ โทรทัศน์
Thai Advertising Path
เส้นทางโฆษณาไทย
พัฒนาการของเส้นทางโฆษณาไทย เป็นองค์ประกอบสําคัญทีสนับสนุนการเติบโตของ
สังคมเศรษฐกิจช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน เส้นทางโฆษณาไทยมีการ
เปลียนแปลงตามยุคเส้นทางโฆษณาไทยมีการเปลียนแปลงตลอดระยะเวลากว่า 170 ปี
ซึงสามารถแบ่งออกเป็นช่วงเวลาตามเหตุการณ์สําคัญๆของวงการโฆษณาไทย
ได้ดังต่อไปนี
ในทางธุรกิจจัดเป็นยุค Sales Oriented
ทีเน้นการสือสารด้วยข้อความเป็นหลัก เป็นการถือกําเนิด
บริษัทโฆษณาเต็มรูปแบบทังไทยและต่างประเทศที
เกิดขึน
ยุคที 1
Information - Based
ถือเป็นยุคทองของวงการโฆษณา เพราะเป็นช่วงทีสาธารณูปโภค
กระจายอย่างทัวถึงทังประเทศ เริมการ Modern Trade มากมาย เป็นยุคทีตืนตัวด้าน
พลังงาน มีการตังเป้าหมายในการเป็น 1 ใน 5 เสือของเอเชียทําให้เกิดการใช้จ่าย
และการลงทุนมากมายและเป็นช่วงเวลาของการเกิดฟองสบู่แตก
ยุคที 2
Art Direction
วิกฤตเศรษฐกิจทีค่อยๆปกคลุมประเทศไทยอยู่ในขณะนัน ก่อนลุกลามไปยังระบบ
เศรษฐกิจในหลายๆประเทศ ของภูมิภาคเอเชีย จนถูกขนานนามว่า “วิกฤตต้มยํากุ้ง” ในปี 2540
ทําให้ค่าเงินบาทไร้เสถียรภาพ และส่งผลให้หลายองค์กรหลายอุตสาหกรรมล้มราวกับโดมิโน่
การทําภาพยนตร์โฆษณา“ในช่วงยุคเศรษฐกิจตกตํา”จึงจําเป็นมากทีต้องสร้างBigIdea
และ Functional Value มาสู่การสือสารในมุม EmotionalValue เพือสร้างความแตกต่างให้กับ
สินค้าและบริการโดยในช่วงเวลานัน
ยุคที 3
BrandIdea
แนวโน้มธุรกิจทัวโลกได้เริมให้ความสําคัญกับการสร้างแบรนด์เป็นเหตุให้
วงการโฆษณาในประเทศไทย ต้องเริมปรับตัวโดยให้ความสําคัญกับ Branding มากขึน
การให้โฆษณาต้องสร้างแนวคิดให้ผูกติดกับแบรนด์ พร้อมผนวกเครืองมือทีเรียกว่า IMC
(Integrated Marketing Communication)มาผสมประสานกัน
Brand Idea
ยุคที 3
Thai DNA
ยุคทีโฆษณาสะท้อนถึงบุคลิกของคนไทย เรียกได้ว่าเป็น DNA ของคนไทยเลย
ก็ว่าได้เช่น ความสนุกสนาน ความตลก ความเฮฮา โดยอารมณ์ขันทีเกิดขึน ถูกนํามาใช้ในงาน
โฆษณาอย่างชัดเจน หลายผลงานได้รับรางวัลในประเทศและสามารถคว้ารางวัลจากเวทีสากล
ไม่ว่าจะเป็นเวทีระดับภูมิภาคเอเชียอย่างรางวัล ADFEST และเวทีละดับโลกอย่างรางวัล
CANNESLIONS
ยุคที 4
Digitizing
ยุคที 5
พัฒนาการด้านการสือสารการตลาดเดินทางมาถึงจุดเปลียนแปลงครัง
ใหญ่ เมือโลกเปลียนจากยุค Analog ไปสู่ยุค Digital ทีปฏิวัติการสือสาร กระทังการ
กําเนิดของ Social Network อย่าง Facebook, Twitter , Instagrem , Line ทีกลายเป็น
ช่องทางการสือสารทีมีอิทธิพลต่อชีวิตประจําวันของผู้คนทัวโลก ปัจจัยเหล่านีได้
ส่งผลต่อผู้บริโภคโดยตรง เปลียนจากสถานะเป็นผู้บริโภคธรรมดาๆเป็นฝ่ายรับ
ข้อมูลข่าวสารจากเจ้าของตราสินค้า นักการตลาด นักโฆษณาอย่างเดียวพลิกมาเป็น
Prosumer (Professional + Consumer) เป็นผู้บริโภคทีมีความมืออาชีพมากขึน
ยุคที 6
Sustainable Brand
เมือเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาขึน ทําให้ผู้บริโภคเข้าถึงข้อมูลข่าวสารมากขึน
ผู้บริโภคจะนําข้อมูลข่าวสารต่างๆ มาศึกษาก่อนตัดสินใจซือสินค้า ถือเป็นจุดเปลียนครังสําคัญ
ของวงการตลาดและโฆษณา เนืองจากคุณค่าหรือความต้องการในการซือสินค้านัน ๆ อยู่ในมือ
ผู้บริโภค นักการตลาด นักโฆษณา ได้เปลียนวิธีคิด วิธีการทํางาน หันมายึดผู้บริโภคเป็น
ศูนย์กลาง เรียกว่า Consumer Centric เพือให้สินค้าตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
กลุ่มเป้าหมายในเวลาเดียวกัน
โลกกําลังเผชิญกับความสับสนวุ่นวาย ไม่ว่าจะเป็นภัยธรรมชาติ ภัยจากนํามือมนุษย์
ประกอบกับประเทศทีขับเคลือนด้วยระบบทุนนิยม ทําให้ประสบกับสภาวการณ์เติบโตด้านเศรษฐกิจ
ชะลอตัวลง ส่งผลให้ผู้บริโภคในปัจจุบันเริมมองหาคุณค่าทีแท้จริงในการดํารงชีวิตอยู่ในสังคมผู้ผลิต
สินค้า นักการตลาด และนักโฆษณา เริมปรับมุมมองมาเป็นการมองผู้บริโภคในฐานะมนุษย์ทีมีความคิด
ความรู้สึก และจิตวิญญาณ มองมนุษยชาติเป็นศูนย์กลาง (Human Centric/ Human Spirit ) การสือสารใน
ยุคนีจึงต้องสือออกไปในรูปแบบของสององค์ประกอบ คือ เก่ง และ ดี
Sustainable Brand
D
D
Advertising Value3
นอกเหนือจากการตอบโจทย์ในเชิงธุรกิจแล้ว งานโฆษณายังมีคุณค่าและให้ผลใน
ด้านบวก กับคนดูอีกมากมายหลายด้านไม่ว่าจะเป็นเชิงเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรมแต่
เหรียญย่อมมีสองด้านเสมอเราจึงไม่อาจปฏิเสธได้ว่าเนือล่อแหลมของโฆษณาบางชินมีส่วนให้
เกิดปัญหาสังคมตามมา เมือเป็นเช่นนีโฆษณาจึงต้องมีการควบคุมให้อยู่ในกฎกติกาด้วย
AdvertisingValue
“วิธีการควบคุมงานโฆษณาก็คือการเซ็นเซอร์”
และมีการยกเลิก คณะกรรมการบริหารวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์ (กบว.) ลงในปี 2535
ในแต่ละปีจะมีเม็ดเงินหมุนเวียนในวงการโฆษณาและสือสารการตลาดสูงเป็น
แสนๆล้านบาท ธุรกิจโฆษณาจึงเป็นอีกอุตสาหกรรมทีมีส่วนช่วยพัฒนาด้านเศรษฐกิจ
ควบคู่ไปกับการพัฒนาสังคมและวัฒนธรรมไม่มากก็น้อย Economic Value added
ยิงในปัจจุบันประเทศไทยกําลังวางโพซิชันนิงของประเทศ ให้ก้าวไปสู่อุตสาหกรรมหรือ
Creative Economy แล้วพลังขับเคลือนจาก ธุรกิจโฆษณาจึงถือเป็นเฟืองจักรชินสําคัญ
ในการเคลือนกรรมสร้างสรรค์ของไทยทีจะขาดเสียมิได้
AdvertisingValue
AdvertisingValue
คุณค่าของงานโฆษณาทีสําคัญ
1. โฆษณาเปิดโอกาสให้คนทัวไปสามารถเข้าถึง Content ทีมีคุณภาพได้แบบฟรี
หรือไม่ก็จ่ายน้อยกว่าทีควรจะเป็น หากไม่มีโฆษณาก็ไม่มีทางเกิดคําว่าFree model ขึนมาในแวดวง
สือสารมวลชนอย่างแน่นอน
2. โฆษณาทําให้เกิดการแข่งขัน การพัฒนาเศรษฐกิจ ทําหน้าทีหลักของโฆษณาคือ
การให้ข้อมูลข่าวสารเกียวกับสินค้าและบริการกับผู้บริโภค เมือผู้บริโภครับรู้ข่าวสารจากสือโฆษณา
ทีมาจากหลายด้าน หลายช่องทางก็จะเกิดการเปรียบเทียบในเรืองคุณภาพ ราคา
เมือเกิดการเปรียบเทียบก็เกิดการแข่งขันตามมาโฆษณามีส่วนอย่างมากทีจะทําให้สินค้าถูกลง
และมีคุณภาพสูงตามกลไกการแข่งขันระยะยาว
AdvertisingValue
ทังนีต้องไม่ลืมว่า...ทีสุดแล้วการแข่งขันไม่ได้วัดกันทีโฆษณาเพียงอย่างเดียว
แต่จะมีปัจจัยเรืองคุณภาพของสินค้า ราคาและอย่างอืนๆเข้ามาเกียวข้องโฆษณาทีดีจะต้องซือสัตย์
และรักษาคํามันสัญญา กับผู้บริโภคว่าผู้บริโภคจะต้องได้สินค้าทีดีตามทีโฆษณาไป
ไม่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง เพราะมีตัวอย่างให้เห็นหลายครังทีหนังโฆษณาทําออกมาดีมากๆ
จนสามารถสร้างกระแสอันนําไปสู่การสร้างยอดขายสินค้าให้กับผู้ผลิตในระยะยาวได้อย่างมหาศาล
แต่สินค้าก็ไปไม่รอด เนืองจากคุณภาพสินค้าทีตอบโจทย์ความคาดหวังของลูกค้า
ไม่เท่ากับสิงทีโฆษณาออกไป
คุณค่าของอุตสาหกรรมโฆษณาก็คือ โฆษณา และสือสารการตลาดเป็นธุรกิจ
ต้นนําทีกระจายรายได้และสร้างงานให้กับอีกหลายธุรกิจทีเกียวข้องจํานวนมาก
อุตสาหกรรมโฆษณาจึงเปรียบเสมือนทัพหน้าของเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยทีสร้าง
ชือเสียงให้กับวงการโฆษณาของประเทศโดยในปี 2547 ประเทศไทยเคยถูกจัดอันดับใน
วงการโฆษณาขึนไปติดท็อป6 ของโลก ประเทศไทยเคยมีผู้กํากับภาพยนตร์โฆษณาทีได้รับ
รางวัลมากทีสุดเป็นอันดับ 1 จากการจัดอันดับของ The Gunn Report ในปี 2548
อย่าง ธนญชัยศรศรีวิชัย
AdvertisingValue
You can simply impress
your audience and add
a unique zing.
Your Text Here
You can simply impress
your audience and add
a unique zing.
Your Text Here
You can simply impress
your audience and add
a unique zing.
Your Text Here
Culture Value
อีกเรืองทีต้องพูดถึงก็คือ โฆษณามีส่วนในการพัฒนา
ความคิดและปรับทัศนคติของคนดู อาจเป็นเพราะว่าเพลง
ของงานโฆษณาในระยะหลังๆมีหลายองค์กร ทีหันมาใช้
หนังโฆษณาเชิงCorporateหรือsoft sell เข้ามาในแผนงาน
มากขึน hard sell ทัวไป
สิงทีเหมือนกันก็คือ ทังคู่ล้วนแล้วแต่มีวัตถุประสงค์เชิง
พาณิชย์ทังสิน ไม่งันคงไม่ยอมเสียเงินครังละหลายล้านบาท
มาทําหนังให้คนดูฟรีแน่นอน สิงทีต่างกันก็คือSoft sell
จะเป็นการนําเสนอผ่าน Emotional (ความรู้สึก) เพือดึงคนดู
ให้เข้ามามีส่วนร่วมกับหนังโฆษณา ส่วน Hard Sell นัน
จะเน้นขายของตรงๆเต็มทีก็มีแค่มุกตลกมุกน่ารัก มุกเซ็กซี
เพือเรียกร้องความสนใจในข้อมูลทีจะนําเสนอ
ยกตัวอย่างเช่นในปีพ.ศ2546 ไทยประกันชีวิตโฆษณาเชิงคอร์ปอเรทชุด Peace of Mind
หนังโฆษณาเรืองนีจบท้ายด้วยคําถามทีแทงใจดําคนดู
เหลือเกินว่า
“ในช่วงเวลาทีมนุษย์มีชีวิต อาจมีคําถามเกิดขึนเสมอว่า เกิดมา
ทําไม เกิดมาเพืออะไรบางคําถามนีอาจไม่จําเป็นต้องตอบ
ออกมา แต่เรามีชีวิตอยู่เพือใครต่างหาก”
และทังนีไทยประกันชีวิตยังคงมีหนังโฆษณาทีให้แง่คิดดีๆ
ออกมามากมายแต่ล้วนแล้วสร้างคุณค่าทีดีออกมาในตัวมันเอง
Social Contribution
จากโฆษณาทีส่งเสริมสังคมดีๆทีเกิดจากเอกชนแล้ว
ยังมีโฆษณาทีเกิดจากภาครัฐอีกด้วยเช่น สสส.
ได้ออกอากาศแคมเปญดีๆมากระตุ้นเตือนสังคมทีกําลัง
สับสนวุ่นวายและมีแนวโน้มทีจะก่อร่างสร้างตัวจนเป็น
ปัญหาระดับประเทศมากมายไม่ว่าจะเป็นการรณรงค์ให้
ลด ละ เลิก เหล้า บุหรียา เสพติด การพนัน เป็นต้น
ว่า “จน เครียด กินเหล้า ”ได้โฆษณาเรืองนีเป็นอีกหนึงชินงานที
ได้รับคําชมอย่างมากจากคนดูทัวประเทศทังกลุ่มเป้าหมายและ
ประชาชนทัวไป จากไอเดีย “เลิกเหล้า เลิกจน” ก็ถูกคิดต่อยอดมา
เป็น “หยุดเหล้า หยุดจน” “จน กลุ้ม กินเหล้า” และนํามาพัฒนาเป็น
“จนเครียดกินเหล้า”
https://www.youtube.com/watch?v=wYyGNtePSDI
และทังนี สสส. ยังคงมีโฆษณาดีๆออกมา
แทงใจดําและกระตุกสังคมอย่างต่อเนืองตามเป้าหมายที
วางไว้จากเลิกเหล้าก็มาต่อกันทีพิษของบุหรี
จากโฆษณา “คุณมาทําร้ายฉันทําไม” เป็นอีกหนึง
ชินงานทีสร้างวัฒนธรรมใหม่ให้กับการไม่สูบบุหรีในที
สาธารณะ หลังจากมีการเผยแพร่โฆษณาชุดนีออกไป
ไม่เพียงกระแสตอบรับทีประสบความสําเร็จสูงมากใน
ด้านความคิดสร้างสรรค์ของสือโฆษณา และสร้าง
ปรากฏการณ์การเปลียนแปลงทางสังคมคือการสร้าง
ทัศนคติให้เห็นว่า การสูบบุหรีในทีสาธารณะเป็น
พฤติกรรมทีไม่ควรกระทํา เป็นต้น
โฆษณานีเป็นการตังคําถามกับคนสูบบุหรีทีสูบในทีสาธารณะว่า
“ทําไมถึงได้ทําร้ายคนอืนทีไม่รู้จักกันด้วยควันบุหรี”
01
การควบคุมจากภาครัฐโดยผ่านกลไกทางกฎหมายและ
หน่วยงานทีเกียวข้อง
02
โฆษณา มีกฎหมายและกฎระเบียบ
เพือทีจะควบคุมให้อยู่ในหลักเกณฑ์
จึงมีการเกิดขึนของการควบคุมจาก 2 ช่องทางหลักๆคือ
Code of Ethics จรรยาบรรณวิชาชีพ
การควบคุมกันเองขององค์กรโฆษณา(Self Regulation)
พระราชบัญญัติทีเกียวข้องกับงานโฆษณา
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522
พระราชบัญญัติยา พ.ศ.2510
พระราชบัญญัติเครืองสําอาง พ. ศ. 2535
พระราชบัญญัติวัตถุอันตราย พ.ศ 2535
พระราชบัญญัติวัตถุทีออกฤทธิต่อจิต
และประสาทพ.ศ.2518
พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ2522
พระราชบัญญัติเครืองมือแพทย์พ.ศ.2531
ตัวอย่างเช่น กฎหมายเขียนไว้ว่าห้ามลามกอนาจาร คนทําก็ต้อง
ไปคิดว่าลามกอนาจาร คืออะไรแล้วนําไปเสนอ กบว.เซ็นเซอร์
ยกตัวอย่างเช่น โฆษณาถุงยางอนามัยยีห้อต่าง ๆ
โดยทังหมดนีจึงเกิดคําว่า “กองเซ็นเซอร์” ขึนมา
นันคือฝันร้ายของคนโฆษณา
ทีต้องประสบพบเจอมาตลอดหลายสิบปี ทีผ่านมาปัญหาหลัก
ของคนโฆษณาส่วนใหญ่คือไม่ได้อยู่ทีการมีกฎหมายหรือ
กติกามากําหนดกฎเกณฑ์ แต่พบว่าปัญหาในการทํางานของ
Agency ส่วนใหญ่ ทีพบ จะเป็นเรืองของความคิดเห็นและ
มาตรฐานในการควบคุมการดําเนินงานของกบว.มากกว่า
จนมาถึงสมัยรัฐบาล ชวน หลีกภัย ออก
กฎกระทรวงฉบับที 14 (พ.ศ 2537) ให้สถานี
รับผิดชอบเนือหารายการ/โฆษณา ตามแนวทางที
ประกาศฯเป็นปีแรกทีเริมมีการเซ็นเซอร์กันเอง
ประมาณเดือนตุลาคม 2537
การเปลียนแปลงครังนีส่งผลอย่างมากกับวงการโฆษณาไทย กล่าวคือการ
พิจารณาโฆษณาว่าด้วยเรืองใดสามารถออกอากาศได้หรือไม่ จะพิจารณาจะ
คณะกรรมการของสถานีวิทยุและโทรทัศน์ ทีแต่ละช่องได้ส่งตัวแทนมาเพือ
พิจารณาโฆษณาทัวไปร่วมกัน แต่หลายสถานีทังคนทําโฆษณาและสถานีเริม
ไม่แน่ใจว่าการพิจารณาของตัวเองจะถูกหลักการหรือไม่
ในทีสุดของการโฆษณาของไทยก็ได้ทางออกทีลงตัวโดยการใช้วิธี
ควบคุมกันเองขององค์กรโฆษณา (Self-Regulation)ทีมุ่งเน้น
คํานึงถึง “จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ’’ ทําให้ทุกครังที
สร้างผลงานโฆษณา ทีออกอากาศจะสามารถสร้างคุณประโยชน์
ให้กับ เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมมากกว่าการให้โทษ
หลักการพืนฐานจรรยาบรรณวิชาชีพโฆษณาประกอบด้วย 4 หัวข้อหลักคือ
1. การโฆษณาทุกชินจะต้อง
ถูกกฎหมาย มีเกียรติ ซือสัตย์
และนําเสนอความจริง
2. การโฆษณาไม่ควรมีความ
ขัดแย้งกับศีลธรรมอันดี และ
ระเบียบสังคม
3. ในการสร้างสรรค์งานโฆษณาควร
กระทําด้วยการตระหนักถึงการแสดง
ความรับผิดชอบต่อสังคมและอยู่
ภายใต้หลักของการแข่งขันทียุติธรรม
ทีเป็นทียอมรับโดยทัวไปในวงการ
ธุรกิจ
4) การโฆษณาต้องไม่ทําให้สาธารณชน
เกิดความรู้สึกไม่มันใจในการโฆษณา
จึงจัดตังคณะกรรมการจรรยาบรรณขึนมา
เพือช่วยสอดส่องดูแลคนโฆษณาไม่ให้
ออกนอกลู่นอกทาง แต่ยังมีโฆษณา
ประเภท ศรีธนญชัยทีแอบแหวก
กฎเกณฑ์รอดพ้นสายตาออกมาบ้าง
D
D
4
Advertising Trend
Content is King, platform is Queen
คอนเทนต์ทีดีเพียงอย่างเดียวนันอาจจะไม่ได้ช่วยให้คุณไปถึงฝังฝัน
คุณต้องมีแผนการสําหรับคอนเท็กซ์ หรือวิธีการส่งคอนเทนต์ทีใช่
ในเวลาทีใช่ ไปให้คนทีใช่ด้วย
เมือใดก็ตามทีคุณสามารถผสานคอนเทนต์ และคอนเท็กซ์เข้าด้วยกันอย่าง
กลมกลืนแล้ว คอนเทนต์ของคุณจะเข้าไปถึงใจคนเสพ และในทีสุดแล้วมัน
จะวกกลับมาตอบโจทย์ธุรกิจของคุณอย่างแน่นอน
“คอนเทนต์ทีดีต้องคู่กับช่องทางทีดี”
“ราชาทีแสนดี กับราชินีทีแสนงาม ถ้าท่านทําทุกอย่างเพือประชาชน
แล้ว ประชาชนจะตอบรับท่านเอง”
“บริหารทัศนคติ” ของผู้บริโภคมากกว่า
“การบริหารพฤติกรรม” ของผู้บริโภค
มีคํากล่าวในยุคปัจจุบัน ว่าการสือสารไร้
พรมแดน ทําให้โลกแคบลง จึงส่งผลต่อการ
สือสารในทางลบเนืองจากความรวดเร็ว ส่งผล
ให้ความจงรักภักดีต่อแบรนด์ลดตําลง ไลฟ์
สไตล์ทีแตกต่างจึงทําให้ตลาดต้องตกอยู่ใน
สภาพทีแตกย่อยยับเป็น Fragmentation
นักการตลาดและนักการสือสาร
5 พฤติกรรมคนรุ่นใหม่
นิยมให้เงินทํางานให้เขาไม่ใช่ให้เขาทํางานให้เงิน
Cash Smart – ฉลาดบริหารเงิน
หนุ่มสาวชาวเอเชียทํางานเป็นบ้าเป็นหลังขณะทีพวกเขามีเงินมากมายที
พร้อมจะทุ่มซือความสะดวกสบายเพือสร้างสมดุลให้กับชีวิตของตัวเอง
Casual – ความสมดุลของการใช้ชีวิตระหว่างงานและเรืองส่วนตัว
การเข้าถึงข่าวสาร การพูดคุยกับเพือน ข้อจํากัดเรืองเวลาและระยะทางกลายเป็น
เรืองทีเล็กลงเรือยๆ ในทุกวันนี
Connect – ชีวิตแบบออนไลน์
พวกเขาจึงไม่อดทนกับเรืองน่ารําคาญและยอมใช้เงินอย่างชาญฉลาดเพือ
กําจัดแมลงกวนใจเหล่านันให้พ้นทาง
Convenience – ชีวิตสะดวกสบาย
พวกเขาอาจรับฟังความเห็นของคนอืนแต่สุดท้ายแล้วพวกเขาตระหนัก
ว่าการตัดสินใจทุกอย่างของเขา มีแต่ตัวเองเท่านันทีต้องรับผลกรรม
Control – คนรุ่นใหม่ชอบจัดการชีวิตของตัวเอง
D
D
Digital Life
ปี 2009 ยุคนีจึงเริมเกิดโฆษณาด้วย
เว็บ Webpisode ซึงเป็นคําผสมระหว่าง
web กับ Episode มีการนําเสนอ
โฆษณาด้วย Video Contentในการดู
ละครออนไลน์ เป็นซีรีส์ๆวิดิโอ ไว้บน
youtube เหมือนในอดีต .
Webpisode เป็นโฆษณาทีได้รับ
ความนิยมอย่างแพร่หลาย โดยเฉลีย
แล้วจะมีคนเข้ามาดูมากกว่าเว็บไซต์ถึง
1 เท่า และเกิดกระแสการส่งต่อทีดีกว่า
โฆษณาด้วย
ทําให้โฆษณาก้าวเข้าสู่บนมือถือ จึงเริม
เกิดขึนจริงจังในปี 2013 พลังของโฆษณา
ทางมือถือ ทําให้ดิจิตอลเติบโตมากยิงขึน
เพราะอัตราการขยายตัวของสมาร์ทโฟน
กินตลาดครึงหนึงของตลาดมือถือทังหมด
การเข้าอินเตอร์เน็ตหรืออินเทอร์เน็ต
Access กว่าครึงมาจากมือถือ แล้วยังมี
อีคอมเมิร์ซและการทําธุรกิจการเงิน
ออนไลน์ก็เกิดขึนในยุคนีทําให้ Mobisode
หรือวิดีโอทีแบ่งฉายเป็นตอนๆทาง
โทรศัพท์มือถือเพิมขึน
การเกิดของ 4GWebpisode
จุดเด่นสือดิจิทัล
แบ่งออกเป็น6ข้อ
• ข้อเติมเต็มสิงทีขาดไปของสือ
เก่า เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายทีสือ
เก่าเข้าไม่ถึง
• สามารถทําคอนเทนต์ทีมีความ
ลึกมากขึน เช่น การโฆษณา
ฉบับเต็มความยาวหลายนาที
• วัดผลได้ทันที
• สร้างภาพให้แบรนด์มีความทันสมัย
มากขึน
• ราคาถูกกว่า เปิดโอกาสให้แบรนด์
เล็กๆ มีช่องทางในการโฆษณา และ
สร้างยอดขายคืนกลับมา
• ผู้บริโภคจะไม่รู้สึกว่าโดนยัดเยียด
เพราะผู้บริโภคจะเข้าหาด้วยตัวเอง
วงการAdเข้าสู่
Content Marketing
การส่งต่อคอนเทนต์ผ่าน facebook
Facebook effect
สมาร์ทโฟนเชือมต่อทุกที ทุกเวลา
Mobile Connecting
กําลังกลายเป็นสือหลัก
VDO ออนไลน์
สังคมก้มหน้า
Screen era
Retargeting คือ การ
นําเสนอแบรนเนอร์ให้
เปลืยนไปตามพฤติกรรม
ของผู้ใช้อินเตอร์เน็ต
• โฆษณาแบบผสมผสานและสือเดิมกับสือใหม่
เพือให้เกิดการพูดถึงและจดจํามากยิงขึน
• โฆษณาแบบเจาะจงกลุ่มมากขึน บางตัวอาจจะมี
หลายชุด โดยมีเนือหาเดียวกัน แต่วิธีการ
นําเสนอแตกต่างกัน
• Insight ของผู้บริโภคก็ไม่ได้แบ่งตามอายุ เพศ
รายได้อีกต่อไป แต่แบ่งตามทัศนคติ และความ
สนใจของผู้บริโภคแต่ละคน
อัตราโฆษณาผ่านสือใหม่จะถูกกว่าเมือ
เปรียบเทียบกับสือดังเดิม แต่ใช่ว่าสือนีจะไม่มี
ความท้าทายในการทํางานดังนัน การท้าทาย
ของคนโฆษณาในยุคดิจิตอลจึงต้องมี
แนวความคิด 2 ประการ ดังนี
The New Challenge
สือไม่ได้มาพร้อมกับผู้ชม เอเจนซีจึงต้องสร้าง
ผู้ชมเอง ด้วยการดึงดูดความสนใจให้กับผู้บริโภค
เข้าไปยังสือใหม่ด้วยวิธีการต่างๆ อย่างทีกล่าวมา
ข้างต้น ทีผ่านมา Creativeได้ใช้วิธีการดึงดูดความ
สนใจในแคมเปญ โดยการให้ผู้บริโภค เข้าไปมี
ส่วนร่วมไม่ว่าจะเป็นการถ่าย และ Share รูป ใน
การเล่นเกม จนเกิดกระแสการบอกต่อยกตัวอย่าง
แคมเปญไอศครีม Magnum , ปตท. 1 ล้านกล้า
ถวายพ่อ และ flyingBook ของแอมเวย์เป็นต้น
ประการแรก
Case Study
Magnum
สานต่อแคมเปญระดับโลกสู่เมืองไทย เปลียนแลนด์
มาร์คใจกลางกรุงให้เป็น Pink&Black
Case Study
Ptt
แคมเปญ 1ล้านกล้าถวายพ่อแคมเปญนีสร้างจากกระแสโลกร้อนทัวโลกทีส่งผลต่อธรรมชาติ
• โดยแบ่งเป็น 2 กลยุทธ์
กลยุทธ์ 1: อัพโหลดรูปปลูกต้นไม้ของคุณกิจกรรมนี
ให้ผู้ใช้งานนํารูปทีคุณปลูกต้นไม้มาอัพโหลดผ่าน
เว็บไซต์และแสดงความคิดเห็นวิธีลดโลกร้อน ซึงเมือ
จบแคมเปญจะรวบรวมรายชือผู้ใช้งาน ทีร่วมอัพโหลด
ทังหมด 1 ล้านรายชือ พร้อมรูปของผู้ใช้งานเพือ
ทูลเกล้าฯ ถวายพ่อหลวง
กลยุทธ์ 1: การอัพโหลดรูปปลูกต้นไม้ของคุณ กิจกรรมนีให้ผู้ใช้งานนํา
รูปทีคุณปลูกต้นไม้มาอัพโหลดผ่านเว็บไซต์และแสดงความคิดเห็นวิธี
ลดโลกร้อน ซึงเมือจบแคมเปญจะรวบรวมรายชือผู้ใช้งาน ทีร่วมอัพ
โหลดทังหมด 1 ล้านรายชือ พร้อมรูปของผู้ใช้งานเพือทูลเกล้าฯ ถวายพ่อ
หลวง
กลยุทธ์ 2: การปลูกต้นไม้ออน์ไลน์ กิจกรรมทันสมัย และเข้ากับคนยุค
ดิจิตอลมากๆ โดยให้ผู้เล่นเข้ามาร่วมปลูกต้นไม้ในเว็บไซต์และแสดง
ความคิดเห็นวิธีลดโลกร้อน ทังนีได้สอดแทรกลูกเล่นให้สนุกมากขึน เมือ
ปลูกต้นไม้เสร็จก็จะมีการไปเสนอทีหน้าจอให้เรา วางต้นไม้ต้นที
เท่าไหร่ และสามารถกลับมารดนําได้
ประการต่อมา นอกจากจะต้องแข่งขันกับสือ
ดังเดิม และสือใหม่ด้วยกันแล้ว โฆษณา
ออนไลน์ยังต้องแข่งขันกับสือของเพือนฉัน
หรือ FriendGenerationContent ซึงเป็น
Content Provider ทีคอนซูมเมอร์ถูกใจทีสุด
เพราะเป็นคนทีตัวเองรู้จักจึงเชือมากกว่า
ยกตัวอย่างเช่น Facebook ทีกล่าวขึนมา
ข้างต้น การสร้างความสนใจจึงเป็นเรือง
สําคัญในการทํา Social Content
ประการต่อมา
Case Study
ไม่ว่าโลกจะเปลียนแปลงหมุนเวียนไป
รวดเร็วเพียงใดก็ตามส่วนเนือหา Content
ยังเป็นสิงทีสําคัญทีสุด
ก็คือ Bigidea
Sustainable Brand
01
กรณีนายธนา Creative กล่าวว่าโฆษณาแต่ละชุดของไทยประกันชีวิตสามารถสอนคนได้อย่างแนบเนียน โดยเข้า
ไปสร้างแรงบันดาลใจและให้คนดูรู้สึกเองว่า “อยากทําความดีเหมือนตัวละครในโฆษณา” มากกว่าทีจะบอกว่าต้อง
ทําความดีอย่างไร ซึงข้อความในเรืองการทําความดียังสามารถเชือมโยงไปสู่แบรนด์ในฐานะทีมองคุณค่าของชีวิต
ขณะเดียวกันในอีกทางหนึงเมือคนดูจบ รู้สึกชอบ ยอมรับ คอยตาม ก็เกิดทัศนคติทีดีต่อแบรนด์
.
02 03
โฆษณา บริษัท ไทยประกันชีวิต จํากัดมหาชน จะสังเกตได้ว่า แต่
ละเรืองพยายามสือสารให้เห็นถึงคุณค่าของชีวิต (Valueof Life)
บรรณานุกรม
สมาคมโฆษณาแห่งประเทศไทย .2559. Advertising value.12/14 ถนนเทศบาล
สงเคราะห์ แขวงลาดยาว เขตจตุจักร กรุงเทพ 10900 . บริษัท เอสซีจี แพคเกจจิงจํากัด (มหาชน).
รายชือกลุ่ม
นายภัทรพิสิษฐ์ พิพัฒน์รุ่งเจริญ 61123322024
นางสาวยลดา ศิรินันท์ 61123322026
นายปฏิภาณ กาญจนสุวรรณ 61123322057
นายเชาวการ อังกาบแก้ว 61123322065
นายเจษฎาภรณ์ นันท์ดี 61123322060
นายเอนก หงษาวดี 61123322069
นายหัสวรรษ จันทร์ต้น 61123322081
นางสาวมาลิตา จึงตระกูล 61123322095
นางสาววรดา พิลึก 61123322096

More Related Content

Similar to AIM3304 Advertising Value

IMC Durex
IMC DurexIMC Durex
IMC DurexWiwan
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อrainacid
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community societySirirat Yimthanom
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ DrDanai Thienphut
 
ADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEW
ADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEWADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEW
ADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEWPIMLAPATCHAICHANA
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketingChao Onlamai
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societySirirat Yimthanom
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงKai Janghoo
 
Nano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาล
Nano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาลNano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาล
Nano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาลUtai Sukviwatsirikul
 
AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...
AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...
AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...kullaya2540
 

Similar to AIM3304 Advertising Value (20)

Advertising and culture
Advertising and cultureAdvertising and culture
Advertising and culture
 
IMC Durex
IMC DurexIMC Durex
IMC Durex
 
AIM3304 - Advertising Value
AIM3304 - Advertising ValueAIM3304 - Advertising Value
AIM3304 - Advertising Value
 
การวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อการวิเคราะห์สื่อ
การวิเคราะห์สื่อ
 
Connectivity customer relationship community society
Connectivity  customer  relationship  community societyConnectivity  customer  relationship  community society
Connectivity customer relationship community society
 
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
ทัศนภาพธุรกิจ ตอบจบ
 
ADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEW
ADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEWADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEW
ADM3306 : ADVERTISING VALUE REVIEW
 
Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5Mil chapter 1_5
Mil chapter 1_5
 
Low cost marketing
Low cost marketingLow cost marketing
Low cost marketing
 
Traditions advertising
Traditions advertisingTraditions advertising
Traditions advertising
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Connectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community societyConnectivity'customer relationship'community society
Connectivity'customer relationship'community society
 
Smm travel
Smm travelSmm travel
Smm travel
 
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลงการตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
การตลาดและประชาสัมพันธ์ห้องสมุด...ในวันที่โลกเล็กลง
 
Nano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาล
Nano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาลNano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาล
Nano mba 3_การสื่อสารการตลาดค้าปลีก วรกร ชำนาญไพศาล
 
Smm travel
Smm travelSmm travel
Smm travel
 
AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...
AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...
AIM3304การประชาสัมพันธ์เพื่อการตลาดในบริษัทโฆษณาและบริษัทที่ปรึกษาการประชาสัม...
 
บทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketingบทที่6 digital marketing
บทที่6 digital marketing
 

AIM3304 Advertising Value