SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ลักษณะเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวทั่วโลก ผนวกกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการสื่อสารที่ทำให้เกิดการหลอมรวมของสื่อส่งผลต่อการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในกระบวนการสื่อสารเพื่อรองรับรูปแบบการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นแนวคิดสำคัญที่นำมาใช้ในการวางแผนปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนานักนิเทศศาสตร์ที่มีความรอบรู้ทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการผลิตและใช้สื่อแบบบูรณาการเพื่อตอบสนองและร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม งานวิจัย , ผลสำรวจ, ตัวเลขโฆษณา , ตัวเลขด้านเศรษฐกิจ , ดังเสนอได้ดังต่อไปนี้  ตัวเลขด้านสังคม  ตัวเลขด้านเทคโนโลยี ,ความต้องการนักนิเทศศาสตร์ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต<br />ผู้บริโภควัยรุ่นใช้เวลากับสื่อแมสลดลง แต่ใช้เวลากับสื่อออนไลน์ และ โซเชียล มีเดีย มากขึ้น   ทำให้แบรนด์ต่างๆ มีการเพื่อพัฒนาช่องทางการสื่อสารในยุคสังคมออนไลน์ผ่านเครื่องมือต่างๆ ทั้ง เว็บไซต์, โซเชียล เน็ตเวิร์ค, โทรศัพท์มือถือ และ แทบเล็ตส่งผลให้สื่อออนไลน์ ในปีหน้าจะเติบโตเช่นเดียวกับสื่อหลัก  โดยการขยายตัวจะอยู่ในอัตรา 50-60% คาดการณ์ว่างบประมาณการสื่อสารที่ใช้ผ่าน ดิจิทัล มีเดีย จะอยู่ที่ 2,000 ล้านบาท ในปี 2554<br />นักวิชาชีพร่วมกันสะท้อนถึงภาพรวมของวิทยุและโทรทัศน์ว่า “คุณสมบัติของนักนิเทศศาสตร์ที่ดี คือ จะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ อยู่ในตัวคนๆ เดียวกัน 1.มีความเข้าใจและเชี่ยวชาญในเนื้อหาสาระสำคัญของข่าวที่ต้องการนำเสนอ 2.ศิลปะ คือ ศิลปะในการนำเสนอ ต้องเขียนข่าวเป็น ต้องตัดต่อได้ และต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นในการนำเสนอได้”การเรียนการสอนวิชาสื่อสารมวลชนต้องสอดคล้อง-เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปมากจากอิทธิพลของสื่อใหม่<br />เดอะ นีลเส็น คอมปะนี ได้สำรวจในช่วง 11 เดือน (ม.ค-พ.ย. 2553) มีมูลค่า 9.2 หมื่นล้านบาท เติบโตถึง 12.2% และคาดว่าสิ้นปี 2553 มูลค่าโฆษณารวมจะอยู่ที่ 1.01 แสนล้านบาท  เติบโต 12% เมื่อเทียบกับปี 2552  และถือเป็นปีแรกที่อุตสาหกรรมโฆษณามีมูลค่าทะลุ”แสนล้านบาท” “นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช” รายงานว่า 10 อันดับธุรกิจที่ใช้งบโฆษณาสูงสุด ช่วง 11 เดือน (ม.ค.-พ.ย. 2553) มีการใช้เม็ดเงินเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปี 2552  ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มูลค่า 2.3 พันล้านบาท เติบโต 13.7%, ผลิตภัณฑ์ดูแลผิว มูลค่า 1.8 พันล้านบาท  เติบโต  0.1%, รถยนต์นั่ง มูลค่า 1.59 พันล้านบาท เติบโต  40.8%, ผลิตภัณฑ์ดูแลเส้นผม มูลค่า 1.56 พันล้านบาท เติบโต 67.5%, เครื่องดื่มน้ำอัดลม มูลค่า 1.4 พันล้านบาท เติบโต  9.2% ผลิตภัณฑ์ชำระล้าง มูลค่า 1.38 พันล้านบาท เติบโต 37.9%,  รถปิกอัพ มูลค่า 1.32 พันล้านบาท เติบโต 20.7%, ระบบโทรศัพท์มือถือแบบเติมเงิน มูลค่า 1.2 พันล้านบาท เติบโต 26% , วิตามินและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร  มูลค่า 1.08 พันล้านบาท เติบโต 60% และธุรกิจประกันชีวิต 1.03 พันล้านบาท เติบโต 19.9%<br />ผศ.ดร.พิรงรอง  รามสูต  หัวหน้าภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “การปฏิรูปสื่อ” ตั้งแต่ยุคแรกในเมืองไทย พ.ศ.2535-2553 จากนั้นย้อนไปดูตำราประวัติศาสตร์และพัฒนาการการสอน “นิเทศศาสตร์” ในบ้านเราเทียบกับนานาประเทศ ให้บรรดาผู้ฟังได้เรียนรู้พร้อมกันเป็นฉากๆ ว่า การปฏิรูปสื่อในประเทศไทยช่วงปี 2540 และก่อนหน้านั้น เป็นการปฏิรูปสื่อที่ตัวโครงสร้าง ขณะที่การปฏิรูปสื่อในต่างประเทศ คือ การปฏิรูปนโยบาย การกำกับดูแลสื่อ การปรับเปลี่ยนเนื้อหาทั้งคุณภาพ-ปริมาณ รวมถึงวิธีการปฏิบัติงานของสื่อมวลชน ซึ่งเป้าหมายสำคัญของการปฏิรูปสื่อในต่างประเทศนั้นเพื่อสร้างบทบาทของสื่อมวลชนเพื่อสาธารณะหลักสูตร-รูปแบบการสอนสื่อสารมวลชนในสถาบันการศึกษาของไทย อ.พิรงรอง ยืนยันชัดต้องมีการเปลี่ยนแปลง บูรณาการการเรียนการสอนระหว่างศาสตร์ สาขาย่อยของนิเทศเข้าด้วยกัน รวมถึงปรับเปลี่ยนบรรจุเนื้อหาสอนเรื่องการปฏิรูปสื่อ การหลอมรวมเทคโนโลยี การสร้างพันธกิจหลักต่อการรับผิดชอบสังคมด้วย “ปรัชญาการผลิตบัณฑิตนิเทศศาสตร์ ต้องผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดงาน ผู้ปฏิบัติงานสื่อ ให้สอดคล้องตลาดงานยุคปฏิรูปสื่อ ยุคหลอมรวมเทคโนโลยีและยุคสื่อเพื่อสังคม อีกทั้งการสอนต้องทำให้ผู้เรียนรู้จักตอบแทนช่วยเหลือสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักศึกษาวารสารศาสตร์”<br />สอดคล้องกับรศ.ดร.อุษา บิ้กกิ้นส์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เห็นตรงกันว่า การเรียนการสอนวิชานิเทศศาสตร์จะทำการสอนแบบเดิมๆ ไม่ได้อีกต่อไปแล้ว โดยเสนอการสอนหลักสูตรด้านสื่อสารมวลชน จะต้องบรรจุการสอนเรื่อง “วัฒนธรรมการทำงานของสื่อ” ที่เปลี่ยนแปลงไป ลงไปในหลักสูตรด้วย<br />“หลักสูตรนิเทศศาสตร์ไม่ควรแยกขาดจากกัน ต้องบูรณาการหลักสูตรให้เข้มแข็งขึ้น เช่น สาขาวารสารฯ ต้องเรียนควบคู่กับสาขาวิทยุกระจายเสียงโทรทัศน์-ดิจิตัลมีเดีย  เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้จริง นักศึกษาเมื่อจบหลักสูตรนิเทศศาสตร์แล้วควรจะเขียนข่าวและผลิตรายการได้ด้วย สถาบันการศึกษาต้องส่งนักศึกษาลงทำงานในพื้นที่ชุมชน พร้อมทำรายงานสรุปสิ่งที่ทำลงไป ”สำหรับปัญหาหลักๆ ของการเรียนการสอนด้านนิเทศศาสตร์ อ.อุษา มองไปที่ตัวมหาวิทยาลัย ที่ยังขาดความร่วมมือกับองค์กรสื่อหรือสมาคมวิชาชีพสื่อ พร้อมแสดงความแปลกใจที่มหาวิทยาลัยไทยกลับไม่ได้สนใจทำการศึกษาวิจัยงานด้านสื่อสารมวลชนมากที่ควร ทั้งๆ ที่เรื่องการวิจัยนี้มีความสำคัญมากต่อประเด็นการปฏิรูปสื่อ  แต่มหาวิทยาลัย กลับไปให้ความสนใจกับรายงานศึกษาเรื่องสื่อมากกว่า<br />นายเถกิง สมทรัพย์ อดีตนายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ก็ย้ำว่าการทำงานด้านสื่อสารมวลชนนั้น หัวใจสำคัญของวิชาชีพนี้ยังคงอยู่ที่ “สาระของเนื้อหา” หรือ “ตัวคอนเท้นท์” ที่ต้องการนำเสนอสื่อออกมาสู่ประชาชนสู่สังคม ซึ่งการนำเทคโนโลยี สื่อใหม่ สื่อออนไลน์มาใช้นั้นจะช่วยสร้างพลังคอนเท้นท์ หรือ “พลังของเนื้อหา” ให้เกิดบนสื่อกระแสหลักได้ อดีตนายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ถ่ายทอดประสบการณ์การทำงานที่ผ่านมา พบว่า ส่วนใหญ่นักศึกษานิเทศศาสตร์ที่จบออกมานั้นยังไม่สามารถพร้อมปฏิบัติงานในสนามจริงได้ทันที จึงอยากให้การเรียนการสอนนิเทศศาสตร์เน้นภาคปฏิบัติที่ทำให้นักศึกษามีทักษะ การทำงาน พร้อมปฏิบัติหน้าที่ลงสนามจริงได้ทันทีเมื่อจบการศึกษา ไม่ใช่แค่การส่งนักศึกษาไปฝึกงาน 3 เดือน “การเรียนการสอนต่อจากนี้ต้องสร้างการเรียนการสอนเสมือนทำงานจริง เสมือนอยู่ในองค์กรสื่อจริงๆ จากนี้มหาวิทยาลัยควรสอนโดยยึดการปฏิบัติงาน เป็นตัวตั้ง” นอกจากนี้ ในช่วงบ่ายยังมีการระดมความคิดเห็นย่อยจากนักศึกษา อาจารย์ และคนในสนามอาชีพสื่อ ต่อการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหลักสูตรการสอนสื่อสารมวลชนนี้ ด้วย โดยคณาจารย์ผู้สอนต่างเสนอให้ หลักสููตรควรกำหนดการสอนที่ต้องทำให้นักศึกษารู้บริบทในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง ,ทบทวนเรื่อง quot;
สหกิจศึกษาquot;
 บูรณาการรายวิชาร่วมกันให้นักศึกษาได้ฝึกทำข่าวทั้งหนังสือพิมพ์ ข่าวทีวีในพื้นที่จริงๆ ระหว่างศึกษา, มหาวิทยาลัยควรแนะแนวให้นักศึกษาหันกลับมามอง quot;
ตัวสื่อท้องถิ่นquot;
 บ้าง ไม่ใช่มุ่งการทำงานสื่อไปที่ตัวสื่อกระแสหลักอย่างเดียว , ควรมีการพิจารณาปรับปรุงความทันสมัยของหลักสูตรสื่อสารมวลชนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงเสนอให้มหาวิทยาลัยลองจับมือกับองค์กรวิชาชีพสื่อในการสอนนักศึกษา และทำโมเดลในสื่อมวลชนอาชีพให้ชัดเจนเพื่อเป็นต้นแบบให้นักศึกษาด้วย<br />จากสภาพบริบทจากสื่อต่างๆ  งานวิจัยและผลสำรวจจากแหล่งข้อมูลต่างๆทั้งหมดมุ่งชี้ให้เห็นถึง ความสำคัญของนักนิเทศศาสตร์ที่จะต้องมีคุณสมบัติที่ตอบสนองและสอดคล้องกับ สภาพสังคม  สภาพเศรษฐกิจในยุคปัจจุบันและในอนาคตข้างหน้า ดังนั้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะต้อง สร้างหรือผลิตบัณฑิตให้สนองต่อสภาพการปัจจุบันและอนาคต จึงเป็นแนวทางที่สำคัญในการผลิตบัณฑิตของสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ<br />
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม
สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม

More Related Content

Similar to สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม

SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียPaphadaPaknaka
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจa
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11Ch Khankluay
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559Klangpanya
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationTor Jt
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันChaiwit Khempanya
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ Settapong Malisuwan
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economyMaykin Likitboonyalit
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardSatapon Yosakonkun
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 

Similar to สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม (20)

Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)Mil chapter 1_2(2)
Mil chapter 1_2(2)
 
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดียSWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
SWU151 หัวข้อ ลดการใช้โซเชียลมีเดีย
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
Digital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of ThailandDigital Economy Plan of Thailand
Digital Economy Plan of Thailand
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
Roiet
RoietRoiet
Roiet
 
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจการท่องเที่ยวกับธุรกิจ
การท่องเที่ยวกับธุรกิจ
 
Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11Thai Education Master Plan # 11
Thai Education Master Plan # 11
 
แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11แผนพัฒนาการศึกษา 11
แผนพัฒนาการศึกษา 11
 
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
การบูรณาการสมรรถนะเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒน...
 
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
World Think Tank Monitors l มีนาคม 2559
 
Analysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the educationAnalysis of science and technology affect the education
Analysis of science and technology affect the education
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ  Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
Data strategy พันเอก ดร. เศรษฐพงค์ มะลิสุวรรณ
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
Information professional and digital economy
Information professional and digital economyInformation professional and digital economy
Information professional and digital economy
 
Digital trend 2014
Digital trend 2014Digital trend 2014
Digital trend 2014
 
Digital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forwardDigital Trend 2014: Time to look forward
Digital Trend 2014: Time to look forward
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 

สภาพการณ์ทางเศรษฐกิจสังคม

  • 1. เศรษฐกิจเชิงสร้างสรรค์ ลักษณะเศรษฐกิจที่เชื่อมโยงเป็นหนึ่งเดียวทั่วโลก ผนวกกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีด้านการสื่อสารที่ทำให้เกิดการหลอมรวมของสื่อส่งผลต่อการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในกระบวนการสื่อสารเพื่อรองรับรูปแบบการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นแนวคิดสำคัญที่นำมาใช้ในการวางแผนปรับปรุงหลักสูตรเพื่อพัฒนานักนิเทศศาสตร์ที่มีความรอบรู้ทั้งในเชิงวิชาการและวิชาชีพ มีความคิดสร้างสรรค์ มีความสามารถในการผลิตและใช้สื่อแบบบูรณาการเพื่อตอบสนองและร่วมขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในภาพรวม งานวิจัย , ผลสำรวจ, ตัวเลขโฆษณา , ตัวเลขด้านเศรษฐกิจ , ดังเสนอได้ดังต่อไปนี้ ตัวเลขด้านสังคม ตัวเลขด้านเทคโนโลยี ,ความต้องการนักนิเทศศาสตร์ในปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต<br />ผู้บริโภควัยรุ่นใช้เวลากับสื่อแมสลดลง แต่ใช้เวลากับสื่อออนไลน์ และ โซเชียล มีเดีย มากขึ้น   ทำให้แบรนด์ต่างๆ มีการเพื่อพัฒนาช่องทางการสื่อสารในยุคสังคมออนไลน์ผ่านเครื่องมือต่างๆ ทั้ง เว็บไซต์, โซเชียล เน็ตเวิร์ค, โทรศัพท์มือถือ และ แทบเล็ตส่งผลให้สื่อออนไลน์ ในปีหน้าจะเติบโตเช่นเดียวกับสื่อหลัก  โดยการขยายตัวจะอยู่ในอัตรา 50-60% คาดการณ์ว่างบประมาณการสื่อสารที่ใช้ผ่าน ดิจิทัล มีเดีย จะอยู่ที่ 2,000 ล้านบาท ในปี 2554<br />นักวิชาชีพร่วมกันสะท้อนถึงภาพรวมของวิทยุและโทรทัศน์ว่า “คุณสมบัติของนักนิเทศศาสตร์ที่ดี คือ จะต้องมีทั้งศาสตร์และศิลป์ อยู่ในตัวคนๆ เดียวกัน 1.มีความเข้าใจและเชี่ยวชาญในเนื้อหาสาระสำคัญของข่าวที่ต้องการนำเสนอ 2.ศิลปะ คือ ศิลปะในการนำเสนอ ต้องเขียนข่าวเป็น ต้องตัดต่อได้ และต้องใช้เครื่องมืออุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็นในการนำเสนอได้”การเรียนการสอนวิชาสื่อสารมวลชนต้องสอดคล้อง-เท่าทันสถานการณ์ปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปมากจากอิทธิพลของสื่อใหม่<br />เดอะ นีลเส็น คอมปะนี ได้สำรวจในช่วง 11 เดือน (ม.ค-พ.ย. 2553) มีมูลค่า 9.2 หมื่นล้านบาท เติบโตถึง 12.2% และคาดว่าสิ้นปี 2553 มูลค่าโฆษณารวมจะอยู่ที่ 1.01 แสนล้านบาท  เติบโต 12% เมื่อเทียบกับปี 2552  และถือเป็นปีแรกที่อุตสาหกรรมโฆษณามีมูลค่าทะลุ”แสนล้านบาท” “นีลเส็น มีเดีย รีเสิร์ช” รายงานว่า 10 อันดับธุรกิจที่ใช้งบโฆษณาสูงสุด ช่วง 11 เดือน (ม.ค.-พ.ย. 2553) มีการใช้เม็ดเงินเพิ่มขึ้นทุกกลุ่มเมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันกับปี 2552  ไม่ว่าจะเป็น ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ มูลค่า 2.3 พันล้านบาท เติบโต 13.7%, ผลิตภัณฑ์ดูแลผิว มูลค่า 1.8 พันล้านบาท  เติบโต  0.1%, รถยนต์นั่ง มูลค่า 1.59 พันล้านบาท เติบโต  40.8%, ผลิตภัณฑ์ดูแลเส้นผม มูลค่า 1.56 พันล้านบาท เติบโต 67.5%, เครื่องดื่มน้ำอัดลม มูลค่า 1.4 พันล้านบาท เติบโต  9.2% ผลิตภัณฑ์ชำระล้าง มูลค่า 1.38 พันล้านบาท เติบโต 37.9%,  รถปิกอัพ มูลค่า 1.32 พันล้านบาท เติบโต 20.7%, ระบบโทรศัพท์มือถือแบบเติมเงิน มูลค่า 1.2 พันล้านบาท เติบโต 26% , วิตามินและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร  มูลค่า 1.08 พันล้านบาท เติบโต 60% และธุรกิจประกันชีวิต 1.03 พันล้านบาท เติบโต 19.9%<br />ผศ.ดร.พิรงรอง  รามสูต  หัวหน้าภาควิชาวารสารสนเทศ คณะนิเทศศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย “การปฏิรูปสื่อ” ตั้งแต่ยุคแรกในเมืองไทย พ.ศ.2535-2553 จากนั้นย้อนไปดูตำราประวัติศาสตร์และพัฒนาการการสอน “นิเทศศาสตร์” ในบ้านเราเทียบกับนานาประเทศ ให้บรรดาผู้ฟังได้เรียนรู้พร้อมกันเป็นฉากๆ ว่า การปฏิรูปสื่อในประเทศไทยช่วงปี 2540 และก่อนหน้านั้น เป็นการปฏิรูปสื่อที่ตัวโครงสร้าง ขณะที่การปฏิรูปสื่อในต่างประเทศ คือ การปฏิรูปนโยบาย การกำกับดูแลสื่อ การปรับเปลี่ยนเนื้อหาทั้งคุณภาพ-ปริมาณ รวมถึงวิธีการปฏิบัติงานของสื่อมวลชน ซึ่งเป้าหมายสำคัญของการปฏิรูปสื่อในต่างประเทศนั้นเพื่อสร้างบทบาทของสื่อมวลชนเพื่อสาธารณะหลักสูตร-รูปแบบการสอนสื่อสารมวลชนในสถาบันการศึกษาของไทย อ.พิรงรอง ยืนยันชัดต้องมีการเปลี่ยนแปลง บูรณาการการเรียนการสอนระหว่างศาสตร์ สาขาย่อยของนิเทศเข้าด้วยกัน รวมถึงปรับเปลี่ยนบรรจุเนื้อหาสอนเรื่องการปฏิรูปสื่อ การหลอมรวมเทคโนโลยี การสร้างพันธกิจหลักต่อการรับผิดชอบสังคมด้วย “ปรัชญาการผลิตบัณฑิตนิเทศศาสตร์ ต้องผลิตบัณฑิตให้สอดคล้องกับตลาดงาน ผู้ปฏิบัติงานสื่อ ให้สอดคล้องตลาดงานยุคปฏิรูปสื่อ ยุคหลอมรวมเทคโนโลยีและยุคสื่อเพื่อสังคม อีกทั้งการสอนต้องทำให้ผู้เรียนรู้จักตอบแทนช่วยเหลือสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับนักศึกษาวารสารศาสตร์”<br />สอดคล้องกับรศ.ดร.อุษา บิ้กกิ้นส์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ คณะนิเทศศาสตร์ ม.ธุรกิจบัณฑิตย์ เห็นตรงกันว่า การเรียนการสอนวิชานิเทศศาสตร์จะทำการสอนแบบเดิมๆ ไม่ได้อีกต่อไปแล้ว โดยเสนอการสอนหลักสูตรด้านสื่อสารมวลชน จะต้องบรรจุการสอนเรื่อง “วัฒนธรรมการทำงานของสื่อ” ที่เปลี่ยนแปลงไป ลงไปในหลักสูตรด้วย<br />“หลักสูตรนิเทศศาสตร์ไม่ควรแยกขาดจากกัน ต้องบูรณาการหลักสูตรให้เข้มแข็งขึ้น เช่น สาขาวารสารฯ ต้องเรียนควบคู่กับสาขาวิทยุกระจายเสียงโทรทัศน์-ดิจิตัลมีเดีย  เพื่อให้นักศึกษาทำงานได้จริง นักศึกษาเมื่อจบหลักสูตรนิเทศศาสตร์แล้วควรจะเขียนข่าวและผลิตรายการได้ด้วย สถาบันการศึกษาต้องส่งนักศึกษาลงทำงานในพื้นที่ชุมชน พร้อมทำรายงานสรุปสิ่งที่ทำลงไป ”สำหรับปัญหาหลักๆ ของการเรียนการสอนด้านนิเทศศาสตร์ อ.อุษา มองไปที่ตัวมหาวิทยาลัย ที่ยังขาดความร่วมมือกับองค์กรสื่อหรือสมาคมวิชาชีพสื่อ พร้อมแสดงความแปลกใจที่มหาวิทยาลัยไทยกลับไม่ได้สนใจทำการศึกษาวิจัยงานด้านสื่อสารมวลชนมากที่ควร ทั้งๆ ที่เรื่องการวิจัยนี้มีความสำคัญมากต่อประเด็นการปฏิรูปสื่อ  แต่มหาวิทยาลัย กลับไปให้ความสนใจกับรายงานศึกษาเรื่องสื่อมากกว่า<br />นายเถกิง สมทรัพย์ อดีตนายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ก็ย้ำว่าการทำงานด้านสื่อสารมวลชนนั้น หัวใจสำคัญของวิชาชีพนี้ยังคงอยู่ที่ “สาระของเนื้อหา” หรือ “ตัวคอนเท้นท์” ที่ต้องการนำเสนอสื่อออกมาสู่ประชาชนสู่สังคม ซึ่งการนำเทคโนโลยี สื่อใหม่ สื่อออนไลน์มาใช้นั้นจะช่วยสร้างพลังคอนเท้นท์ หรือ “พลังของเนื้อหา” ให้เกิดบนสื่อกระแสหลักได้ อดีตนายกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ถ่ายทอดประสบการณ์การทำงานที่ผ่านมา พบว่า ส่วนใหญ่นักศึกษานิเทศศาสตร์ที่จบออกมานั้นยังไม่สามารถพร้อมปฏิบัติงานในสนามจริงได้ทันที จึงอยากให้การเรียนการสอนนิเทศศาสตร์เน้นภาคปฏิบัติที่ทำให้นักศึกษามีทักษะ การทำงาน พร้อมปฏิบัติหน้าที่ลงสนามจริงได้ทันทีเมื่อจบการศึกษา ไม่ใช่แค่การส่งนักศึกษาไปฝึกงาน 3 เดือน “การเรียนการสอนต่อจากนี้ต้องสร้างการเรียนการสอนเสมือนทำงานจริง เสมือนอยู่ในองค์กรสื่อจริงๆ จากนี้มหาวิทยาลัยควรสอนโดยยึดการปฏิบัติงาน เป็นตัวตั้ง” นอกจากนี้ ในช่วงบ่ายยังมีการระดมความคิดเห็นย่อยจากนักศึกษา อาจารย์ และคนในสนามอาชีพสื่อ ต่อการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหลักสูตรการสอนสื่อสารมวลชนนี้ ด้วย โดยคณาจารย์ผู้สอนต่างเสนอให้ หลักสููตรควรกำหนดการสอนที่ต้องทำให้นักศึกษารู้บริบทในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง ,ทบทวนเรื่อง quot; สหกิจศึกษาquot; บูรณาการรายวิชาร่วมกันให้นักศึกษาได้ฝึกทำข่าวทั้งหนังสือพิมพ์ ข่าวทีวีในพื้นที่จริงๆ ระหว่างศึกษา, มหาวิทยาลัยควรแนะแนวให้นักศึกษาหันกลับมามอง quot; ตัวสื่อท้องถิ่นquot; บ้าง ไม่ใช่มุ่งการทำงานสื่อไปที่ตัวสื่อกระแสหลักอย่างเดียว , ควรมีการพิจารณาปรับปรุงความทันสมัยของหลักสูตรสื่อสารมวลชนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน รวมถึงเสนอให้มหาวิทยาลัยลองจับมือกับองค์กรวิชาชีพสื่อในการสอนนักศึกษา และทำโมเดลในสื่อมวลชนอาชีพให้ชัดเจนเพื่อเป็นต้นแบบให้นักศึกษาด้วย<br />จากสภาพบริบทจากสื่อต่างๆ งานวิจัยและผลสำรวจจากแหล่งข้อมูลต่างๆทั้งหมดมุ่งชี้ให้เห็นถึง ความสำคัญของนักนิเทศศาสตร์ที่จะต้องมีคุณสมบัติที่ตอบสนองและสอดคล้องกับ สภาพสังคม สภาพเศรษฐกิจในยุคปัจจุบันและในอนาคตข้างหน้า ดังนั้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยที่สำคัญที่จะต้อง สร้างหรือผลิตบัณฑิตให้สนองต่อสภาพการปัจจุบันและอนาคต จึงเป็นแนวทางที่สำคัญในการผลิตบัณฑิตของสาขาวิชานิเทศศาสตร์บูรณาการ<br />