SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
  
                           Integrated Marketing
                           Communication:
                           from Tactic to Strategy 


                      เสนอ
             ผศ.ดร.ธีรพันธ โลหทองคํา
                                


                   จัดทําโดย
             นางสาวศิรพร พงศวญู
                      ิ       ิ




              รายงานนีเปนสวนหนึงของวิชา
                      ้          ่
 Integrated Marketing Communication Strategy
       ประจําภาคเรียนฤดูรอน ปการศึกษา 2551
                          
   หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด
             ทยาศาสตรมหาบั
คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
INTEGRATED MARKETINGCOMMUNICATION STRATEGY:
                                                                                                                            INTEGRATED MARKETINGCOMMUNICATION STRATEGY:
                                           คํานํา

        รายงานฉบั บ นี้ เ ป น การแปลบทความเรื่ อ ง Integrated                     Marketing
Communication: form Tactic to Strategy ผลงานเขียนของ Olof Holm, Stockholm
University School of Business, Stockholm, Sweden ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรายวิชา
2605616: กลยุทธการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ


        ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนกับผูที่ตองการศึกษาเกี่ยวกับ
Integrated Marketing Communication ไมมากก็นอย หากมีขอผิดพลาดประการใด ทาง
ผูจัดทําขออภัยมา ณ โอกาสนี้




                                                                                                  FROM TACTIC TO STRATEGY
                                                                                                  FROM TACTIC TO STRATEGY
                                                                ศิริพร พงศวิญู

                                                         วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2551
 




 
 
 
 
 
 



    บทความแปล
     ภาษาไทย
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
 
การสือสารการตลาดแบบครบวงจร:
                                    ่
                                       จากกลวิธไปสูกลยุทธ
                                               ี 

                                            Olof Holm
                    Stockholm University School of Business, Stockholm, Sweden


บทคัดยอ
จุดมุงหมาย
     

        การเกิดขึ้นของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนตัวอยางที่มีความสําคัญตอการ
พัฒนาทางดานการตลาด การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) มีอิทธิพลตอความคิดและการนําไปปฏิบัติ
ในทุกบริษัทและทุกองคกรที่ตองเผชิญกับภาวการณแขงขันในเศรษฐกิจระบบเปด จากจุดเริ่มตนของศตวรรษที่
1990s การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนหัวขอไดรับความสนใจอยางมากในสาขาทางดาน
การตลาด ขั้นตอนของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) มีดวยกัน 4 ขั้นตอน เริ่มตนตั้งแตจากการ
ประสานกลวิธีทางดานการเงินและการบูรณาการกลยุทธ อยางไรก็ตาม ธุรกิจสวนใหญยังคงยึดติดกับขั้นตอน
แรกและมีการเปลี่ยนแปลงไปสูระดับกลยุทธเพียงเล็กนอย สุดทายแลวมีอุปสรรคหลายอยางในการพัฒนาการ
สื่อสารการตลาดแบบครบวงจรจากกลวิธีไปสูกลยุทธ จุดมุงหมายที่สําคัญของบทความนี้ก็เพื่ออธิบายถึงอุปสรรค
ในการพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจรใหประสงความสําเร็จ


การออกแบบ / ระเบียบวิธี / วิธการ
                             ี

        การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของระหวางชวงศตวรรษที่ 1990s และการศึกษาบริษัทสัญชาติสวีเดน
ขนาดใหญ 4 บริษัท
ผลของการสืบคน

        ผลลัพธจะแสดงใหเห็นถึงการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) อยูบน
พื้นฐานของแผนการทําโฆษณาและความลมเหลวของระดับการบริหารจัดการที่ปรากฏ ทําใหการสื่อสารไมมี
ประสิทธิภาพ ลาสมัย


ความแปลกใหม / คุณคา

        แสดงใหเห็นถึงความตองการของการวิจัยในระดับนานาชาติ และการพิจารณาเกี่ยวกับแผนการเรียนการ
สอนที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ การตลาด และการสื่อสารการตลาด แบบใหม


คําสําคัญ

        การสื่อสารทางการตลาด, การตลาดเชิงกลยุทธ, กลยุทธการแขงขัน, สวีเดน


ประเภทของบทความ

        บทความวิจย
                 ั
บทนํา

        การปรากฏของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนตัวอยางที่มีความสําคัญมาก
ที่สุดของการพัฒนาในสาขาการตลาด (Kitchen, 2003) การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) มีอิทธิพล
ตอแนวความคิดและการนําไปปฏิบัติใชของบริษัทตางๆ รวมถึงหนวยงานราชการ, และพรรคการเมือง ที่ตอง
เผชิญกับกับภาวการณแขงขันในเศรษฐกิจระบบเปดในโลกของความเปนจริง


        ตลอด 20 ปที่ผานมา นักวิชาการและผูเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพ ไดมีการอภิปรายถึงทฤษฎีและวิธีการ
นําไปปฏิบัติใชของการสื่อสารทางธุรกิจ แตปราศจากการพิจารณาถึงแนวคิดของการบูรณาการดวยวิธีการที่เปน
จริง เพื่อใหสามารถบรรลุถึงตําแหนงทางการแขงขันในเชิงกลยุทธของธุรกิจ ไดเริ่มมีความพยายามที่จะศึกษาใน
เรื่องดังกลาวขึ้นเมื่อไมมานี้ คือในชวงป ค.ศ. 1980s นักวิชาการไดเริ่มใหความสนใจและเริ่มมีบทความทางดาน
วิชาการถูกตีพิมพข้ึน (Dyer,1982; Coulson – Thomas, 1993) จากจุดเริ่มตนของการสื่อสารทางการตลาด
แบบครบวงจร (IMC)        ในป ค.ศ. 1990S ไดกลายมาเปนหัวขอที่ไดรับความสนใจอยางมากในสาขาทางดาน
การตลาด (Gaywood et al, 1991; Miller and Rose, 1994; Kitchen and Schultz,1997, 1998, 1999)


        ในชวง 20 ปที่ผานมา ในประเทศสหรัฐอเมริกา 75% ของงบประมาณทางดานการตลาด ไดถูกจัดสรร
ใหกับ Advertising
ปจจุบันนี้ 50% จัดสรรใหกับการทํา Trade   Promotions,    25% จัดสรรใหกับทํา Consumer
promotions และนอยกวา 25% จัดสรรใหกับทํา Advertising (Kitchen, 2003)




งบประมาณทางดานการสื่อสารการตลาดระหวาง 20 ปกอน และปจจุบัน
การจัดสรรงบประมาณทางดานการสื่อสารเริ่มเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางอื่นจาก Mass media และ
Advertising แบบเดิมๆ ที่นํามาใชในการสนับสนุนการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เพื่อสรางความ
เขาใจและใหความสําคัญสําหรับการทําการตลาดอยางมีประสิทธิภาพอยางเห็นไดชัด การปรากฏตัวขึ้นของ IT
เปนสวนที่สําคัญที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขอบเขตของ media ที่เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางดานการตลาดที่ไมเปนทางการ และรูปแบบของการบริโภคที่เปนแบบปจเจกบุคคล - มีลักษณะที่เปนแบบ
เฉพาะราย (Individualized) และรสนิยมและความชื่นชอบของผูบริโภคที่มีผลทําใหเกิดการแบงสวนของตลาดที่
เพิ่มมากขึ้น (Eagle and Kitchen, 2000; Kitchen 2003)


การเปรียบเทียบที่จัดสรรงบประมาณ Advertising




                               Advertising 
                                     
                                  50% 




                                                                  Advertising
                                                                        
                                                                     25% 




        Kitchen and Schultz (2000) ไดระบุถึง ขั้นตอนของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC)
ออกเปนเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้
             • การประสานกลวิธีของสวนประกอบตางๆของทําการสงเสริมการตลาด
             • การปรับปรุงขอบเขตของการสื่อสารทางการตลาด
             • การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศใหเขาการดําเนินการทางเงิน
             • การบูรณาการเชิงกลยุทธ
4 Stages of Integrated Marketing Communication (IMC)




         Kitchen and Schultz ไดพบวา ธุรกิจสวนใหญจะยึดติดกับ 2 ขั้นตอนแรก บางก็ขามขั้นตอนที่ 3 และ
ไปสูข้นตอนที่ 4 อยางชาๆ
       ั


         บทสรุปหนึ่งคือมีอุปสรรคหลายอยางในการพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบคบวงจร (IMC) ที่เริ่มจาก
กลวิธี ไ ปสู ระดั บ กลยุท ธ หากเรายอมรับ ว า การสื่ อสารเป นพื้ นฐานของความสัม พั นธ ของมนุ ษ ยทุ ก ๆคนแล ว
(Duncan, 2002) เราก็ตองยอมรับดวยวาการบูรณาการการสื่อสารตราสินคาเชิงกลยุทธ ยังชวยใหธุรกิจบรรลุ
การวางตําแหนงของการแขงขันอยางยั่งยืนอีกดวย จุดประสงคหลักของบทความนี้ก็เพื่อชี้ใหเห็นถึงอุปสรรคของ
การพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ใหประสบความสําเร็จ


หลักการของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC)

         หลักการของสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เริ่มเปนที่รูจกอยางกวางขวางในชวงป 1990s ดังนั้น
                                                                  ั
การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนคําที่ถูกใชคอนขางแพรหลายเมื่อไมนานมานี้ ที่อาจจะยังไมมี
คําอธิบายที่ทําใหสามารถเขาใจไดอยางงายๆ ถึงความหมายที่แทจริง และการขาดการใหคําจํากัดความที่เปน
มาตรฐานทั่วๆไปสมมติวาจุดมุงหมายสุดทายของการตลาดก็คือ การสงมอบความมาตรฐานของการดํารงชีวิตของ
หลักการของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) – ตอ

มนุษยใหสูงขึ้น (การสงเสริมมาตรฐานการดํารงชีวิตของมนุษยใหสูงขึ้น) (Kotler, 2003) ถาเราจํากัดคําจํากัด
ความใหแคบลง เราก็สามารถพูดไดวา การตลาด คือ กระบวนทางสังคมกระกวนการหนึ่ง ที่ประกอบดวยบุคคล
และกลุมบุคคลที่ไดรับการตอบสนองความตองการอะไรบางอยางผาน การสรางสรรค การใหขอเสนอ และการ
แลกเปลี่ยนคุณคาของสินคาหรือบริการอยางเปนอิสระ (Kotler, 2003, p.9) สาระสําคัญก็คือ “คุณคา” คุณคา ก็
คือ สวนตางระหวางผลประโยชนที่ไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับตนทุน ระหวางสิ่งที่ลูกคาไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับ
สิ่งที่ลูกคาจายไป การเพิ่มคุณคาใหแกลูกคาก็คือ การที่นกการตลาดสามารถเสนอการประสานวิธีการตางๆเขา
                                                           ั
ดวยกัน      ซึ่งขอเสนอดังกลาวนี้ก็เพื่อเปนการเพิ่มผลประโยชนตางๆ       และเพื่อเปนการลดตนทุน        คุณคาเปน
จุดประสงคที่สําคัญของสื่อสารการตลาดที่เห็นไดอยางชัดเจนที่กระทบตอแนวคิดที่เกียวของกับคุณคาของ
                                                                                ่
ผูบริโภค และมีความสัมพันธกันระหวางผลประโยชนที่ลูกคาไดรับเปรียบเทียบกับเงินทีลูกคาตองจายไป การเพิ่ม
                                                                                  ่
ผลประโยชน การลดตนทุน (ในแงของผูบริโภค) การเพิ่มผลกําไร และการลดตนทุน (ในแงของธุรกิจ) สามารถ
ทําใหบรรลุผลสําเร็จได โดยการเพิ่มผลประโยชนใหสูงกวาตนทุนที่เพิ่มขึ้น และการลดผลประโยชนใหนอยกวาตน
ทุกที่ลดลง


          Smith et al (1999) ไดใหความหมายของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไว 3 ความหมาย
          ดังนี้
                   1. การบริหารจัดการและการควบคุมการสื่อสารทางการตลาดทั้งหมด
                   2. การวางตําแหนงของตราสินคาที่ถูกตอง คุณลักษณะและขอความ (message) ที่สื่อสารออกไป
                      ที่ทํางานรวมกันโดยผานสวนประกอบของการสื่อสารที่สงมาจากกลยุทธที่สอดคลองเปนไปใน
                      ทิศทางเดียวกัน
                   3. การวิเคราะหกลยุทธ, ทางเลือก, การนําไปปฏิบัติ และการควบคุมสวนประกอบของการสื่อสาร
                      ทางการตลาดทั้งหมดอยางมีประสิทธิภาพ (การใชทรัพยากรอยางดีที่สุด) , คุมคา (ตนทุนที่ต่ํา
                      ที่สุด), และมีประสิทธิผล (ไดผลประโยชนสูงสุด), อิทธิผลของความสัมพันธระหวางองคกรและ
                      ลูกคา, ผูบริโภค และผูใชบริการ ที่เปนลูกคาที่มีศักยภาพขององคกร ที่องคกรมีอยูในปจจุบัน
เพื่อที่จะสามารถทําความเขาใจความหมายและกระบวนการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC)
ทั้งหมดไดดีย่ิงขึ้น โดย Smith el al (1999) ไดจําแนกการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ออกเปน 7
ระดับ ที่แตกตางกันออกไป ดังตอไปนี้


Levels and Corresponding Degrees of Integration




            • Vertical objective integration
                หมายถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค ข องการสื่ อ สารต อ งสอดคล อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค ท างการตลาดและ
                วัตถุประสงคขององคกรโดยรวม

            • Horizontal/ functional integration
                หมายถึง กิจกรรมการสื่อสารทางการตลาดที่สอดคลองกันเปนอยางดีกับการบริหารงานทาง
                ธุรกิจในสวนงานอื่นๆ อาทิ การบริหารจัดการทางดานผลิต, การดําเนินงาน, และการบริหาร
                ทรัพยากรบุคคล
• Marketing mix integration
                  หมายถึง สวนประสมทางการตลาดที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจทางดานผลิตภัณฑ (product),
                  การตัดสินใจทางดานราคา (price) และ การตัดสินใจทางดานสถานที่จัดจําหนาย (place) ที่
                  สอดคลองกับการตัดสินใจทางดานการสงเสริมการขาย (promotion) ดวยการการสื่อสาร
                  ขาวสารที่เปนที่ตองการ

              • Communications mix integration
                  หมายถึง เครื่องมือการสื่อสารทั้ง 12 อยาง ถูกนํามาใชเพื่อแนะนําใหแกลูกคา /ผูบริโภค/
                  ผูใชบริการ โดยผานแตละขั้นตอนของกระบวนการซื้อ และเครื่องมือการสื่อสารทั้งหมดที่แสดง
                  ขาวสารที่สอดคลองกัน

              • Creative design integration
                  หมายถึง การออกแบบที่มีความคิดริเริ่มสรางสรรคและการดําเนินการที่เปนแบบแผนดวยกัน
                  และสอดคลองกับการวางตําแหนงของผลิตภัณฑที่วางแผนเอาไว

              • Internal / external integration
                  หมายถึง ทุกๆฝายภายในองคกร และทุกๆ สวนที่เปนพันธมิตรทางธุรกิจที่อยูภายนอกองคกร
                  จะตองทํางานรวมกัน และเห็นดวยกับแผนการดําเนินการและกลยุทธที่วางไว

              • Financial integration
                  หมายถึง       งบประมาณถูกใชอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหแนใจวาจะสามารถ
                  ประหยัดจากขนาดของกําลังการผลิต (Economy of scale) และสามารถบรรลุเปาหมายของ
                  การลงทุนในระยะยาวไดเหมาะสม (Optimize – คุมคา)


         Smith el al ไดอางวา Vertical integration of objective and activities เปนวิธีการพิจาณา
พื้นฐานที่มีความสําคัญมากที่สุด และไมมีผลกระทบตอวัตถุประสงคของการสื่อสารการตลาดที่ไดกําหนดไว ที่
ไม ไ ด มี ก ารเชื่ อ มโยงโดยตรงกั บ วั ต ถุ ป ระสงค ท างการตลาดที่ เ ฉพาะเจาะจง และมี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั น กั บ
วัตถุประสงคขององคกร
วิ ธี ก ารพิ จ ารณาทั้ ง หมดประกอบด ว ยป ญ หาที่ เ ฉพาะเจาะจง ที่ เ ป น ป ญ หาที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ระหว า ง
กระบวนการและความตองการที่จะแกไขปญหา เราอาจจะพิจารณาเพียงเฉพาะประเด็นที่มีความสําคัญ


        หนึ่งในภารกิจที่สําคัญที่สุดที่ตองทําก็คือ ตองมั่นใจวามีความแตกตางกันของเปาหมายในแตละระดับ
และลักษณะที่จะทําใหบรรลุวตถุประสงคของการกําไรที่ยั่งยืนไดสําเร็จ ซึ่งประกอบไปดวย
                          ั


Consistency of Profitable Objectives




            • วัตถุประสงคของการเติบโต
            • การมีสวนแบงทางการตลาดที่เพิ่มมากขึ้น
            • ความรับผิดชอบตอสังคมและเปนความรับผิดชอบที่สังคมกําลังใหความสนใจอยางกวางขวาง


        เปาหมายและกลยุทธจะตองเกี่ยวของกับอุปสรรคของอุตสาหกรรม และการพิจารณาความเสี่ยงที่จะ
เกิดขึ้นจากการตอบโตจากการแขงขัน เมื่อมีการนํากลยุทธมาใชในการสื่อสารและนําไปปฏิบัติจริง โดยจะตอง
แนใจวา ผูปฏิบัติหลักไดทําความเขาใจและยอมรับกับเปาหมายนั้นเปนอยางดีแลว บางสิ่งบางอยางที่ไมสามารถ
ทักทวง ไมแตเฉพาะที่เปนเทคนิคของบริษัท ยกตัวอยางเชน Ericsson การเกิดขึ้นของอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยี
ใหมๆไดทําใหหลายบริษัทไดนํามาใชเปนปจจัยที่สําคัญในการแขงขันที่ทําใหบริษัทประสบความสําเร็จ Porter
(2001) กลาววา หลายบริษัทไดนําเอาเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตมาใช ทําใหการแขงขันเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก
จากเดิมที่มีการแขงขันในเรื่องของคุณภาพ คุณลักษณะของสินคาและบริการ ไปสูการแขงขันทางดานราคา
เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตทําใหบริษัทตางๆในอุตสาหกรรมทํากําไรไดลําบากมากขึ้น      Porter ชี้ใหเห็นถึงอิทธิพล
ของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตที่มีผลตอโครงสรางทางอุตสาหกรรม ดังตอไปนี้วา
            • ความแตกตางของคูแขงขันลดลง
            • เกิดการแขงขันในเรื่องของราคา
            • จํานวนของคูแขงขันเพิ่มมากขึ้น ในแงของความกวางทางดานภูมิศาสตรที่ทําใหตลาดขยายตัว
                ออกไป
            • อุปสรรคของสินคาทดแทนใหมที่เพิ่มมากขึ้น ที่เปนผลมาจากการใชงานอินเทอรเน็ตที่เพิ่มมาก
                ขึ้น
            • ความแตกตางในมาตรฐานของสินคาที่ลดลง
            • อํานาจการตอรองของ Suppliers ที่ลดลง จากการที่มี barriers ที่ลดลง
            • อํานาจการตอรองของชองทางการจัดจําหนายแบบเกาที่ถกกําจัดใหหมดไป
                                                                ู
            • อํานาจการตอรองของผูบริโภคขั้นสุดทายที่มีเพิ่มมากขึ้น จากการที่ผูบริโภคมี switching cost
                ที่ต่ําลง
            • ความยากลําบากในการที่จะรักษาการประยุกตการใชอินเทอรเน็ต จากคูแขงขันรายใหมที่เขามา
                อุตสาหกรรม
            • อินเทอรเน็ตทําใหเกิดการขยายตลาด ที่ทําใหอุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น


        จากเหตุผลที่กลาวมาขางตนยังมีปจจัยอื่นๆอีก ที่เมื่อมีการพัฒนาการสื่อสารทางการตลาด คูแขงขันแต
ละรายจะสามารถสรางความแตกตางไดลดลง และความเปนมาตรฐานของสินคาที่เกิดจากการพัฒนากลยุทธการ
วางตําแหนงผลิตภัณฑใหมที่ย่ังยืน อํานาจการตอรองของชองทางการจัดจําหนายแบบเกาไดถูกกําจัดใหหมดไป
ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการัดสินใจในสวนประสมทางการสื่อสาร (Communication mix) เมื่อเกิดการ
แขงขันทางดานราคาจากคูแขงขัน
อยางไรก็ตาม ความแตกตางที่สําคัญที่สุดของแนวคิดทางการสื่อสาร ไมไดเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
เครื่องมือสื่อสาร สิ่งที่สําคัญกวานั้นก็คือการปรับวัตถุประสงคและกลยุทธเมื่อการตลาดและการสื่อสารในโลก
ของความจริงมีการเปลี่ยนแปลงไป เราสามารถทําความเขาใจไดวา การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC)
เปนหัวขอที่มีความซับซอนมากขึ้น ในเรื่องของขอบเขตในการประสาน ตลอดจนจํานวนครั้งในการจัดกิจกรรม
ตางๆ การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนมากกวาศิลปะที่รวมเอาวัตถุประสงคและเปาหมายของผูสง
สาร โดยจําเปนตองมีการทําความเขาใจและตีความหมายอยางรอบคอบกอนที่จะทําการเลือกผูรับสาร เพื่อที่จะ
ไดทําการพัฒนากลยุทธอยางสรางสรรค ที่มีสวนประกอบตั้งแตการเลือกขาวสาร (message) ที่ใชในการสื่อสาร
ที่ตองสอดคลองเหมาะสมกันกับชองทางการสื่อสารที่ไดเลือกไว กระบวนการดังกลาวนี้คลายกันกับระเบียบวิธี
วิจัยเชิงคุณภาพ ที่ใชถอยคําเพื่อโนมนาวจิตใจคน (classic methodology of rhetoric) (Vossius, 1990)


        ดังนั้นการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนประเด็นเชิงกลยุทธ ที่คิดขึ้นตามกลยุทธ
และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ ลักษณะทั่วๆไปที่เกี่ยวของกับแนวคิดเชิงกลยุทธและการตัดสินใจเชิงกลยุทธ ไดแก
            1. กลยุทธจะมีความเกี่ยวของกับทิศทางการดําเนินงานในระยะยาวขององคกรหรือของบริษัท
            2. การตัดสินใจเชิงกลยุทธจะทําใหเกิดความขอไดเปรียบในเชิงการแขงขัน
            3. การตัดสินใจเชิงกลยุทธจะตองพิจารณาขอบเขตของกิจกรรมตางๆขององคกร


        การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหรูวาใครเปนเจาของและตองการบริหาร
จัดการองคกรอยางไร การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) หมายรวมถึง การตัดสินใจที่สําคัญที่เกี่ยวของ
กับวิสัยทัศน ประเภทของสินคา (product       range), การถอนตัวหรือการเขามาในตลาด Johnson             and
Scholes (2002) อางวากลยุทธสามารถจับคูกันกับ (matching) ทรัพยากร และ กิจกรรมตางๆ หรือ การ
บริหารจัดการองคกรใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่ธุรกิจดําเนินงานอยู บางครั้งอาจจะตองคนหากลยุทธที่
เหมาะสมกั บ สภาพแวดล อ มนั้ น ๆ นอกเหนื อ จากการระบุ จุ ด แข็ ง และจุ ด อ อ น โอกาสและอุ ป สรรคของ
สภาพแวดลอมทางธุรกิจ การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ยังถูกมองวาเปนสวนสําคัญที่จะชวยให
ธุรกิจสามารถวางตําแหนงของบริษัทหรือองคกรไดอยางถูกตองและบรรลุผลสําเร็จ ซึ่งหมายรวมถึงการบริหาร
จัดการแนวคิดที่สําคัญขององคกรทั้ง 3 แนวคิด ไดแก ความโดดเดน (Identity), โครงสราง (Profile), ภาพพจน
(Image)
การสือสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC)
     ่
เปนสวนสําคัญทีจะชวยใหธรกิจสามารถวางตําแหนงของบริษทหรือองคกรไดอยางถูกตองและบรรลุผลสําเร็จ
                ่         ุ                           ั




The Business Environment
Three Concepts of the Organization




        คํ า ถามในการพิ จ ารณาความเชื่ อ มโยงกั น ระหว า งแนวความคิ ด หลั ก ทั้ ง 3 แนวคิ ด นั้ น ก็ คื อ การให
ความสําคัญในเรื่องของความสัมพันธขององคกรที่เกี่ยวของกับการตลาด เพื่อทําใหสามารถพัฒนา รักษา และ
เพิ่มตําแหนงการแขงขันของธุรกิจ (Holm, 1998)


การปฏิวัติทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ

        ในระดับ Macro เราสามารถจําแนกความแตกตางของ 3 ปจจัย ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงความพรอม
ในการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ที่สําคัญ
                 • การเปลี่ยนแปลงไปของตลาด
                 • โลกาภิวัฒน (Globalization) การแพรกระจายของระบบเศรษฐกิจทั่วทั้งโลก
                 • การบริโภคของผูบริโภคที่มีลักษณะที่เปนแบบปจเจกบุคคล
ปจจัยที่สําคัญ ก็คือ การเกิดขึ้นของเทคโนโลยีสารสนเทศใหมๆ ที่ทําใหเกิดระบบที่มีความแตกตางกัน 3
ระบบ ที่มีอทธิพลอยางมากตอการติดตอสื่อสาร ไดแก
           ิ
                • เสียง (Sound)
                • รูปภาพ (Image)
                • งานเขียน (Writing)


        การพัฒนาในเชิงเทคนิคขึ้นอยูกับระบบเหลานี้ แตเดิมที่ไมมีเทคโนโลยีใดที่จะสามารถถายทอดระบบ
ทั้งหมดไดพรอมๆ กัน อยางมากก็ทําได 2 ระบบพรอมกัน Gutenberg ไดทําการสรางงานเขียน (writing) และ
รูปภาพ (image) ขึ้น โดยในป ค.ศ.1929 Sound film ไดเริ่มถูกพัฒนาขึ้นมาจากเทคโนโลยีเสียงและการ
ถายภาพ การปฏิวัติทางดานเทคโนโลยี (numeric) ไดจับเอา 3 ระบบเขาไวดวยกันนํา และพัฒนากลายเปน
ระบบในยุคที่ 4 คือ ระบบ digital ที่ตัวมันเองมีผลตอมูลคาทางเศรษฐกิจอยางมหาศาล และมีผลทางดานสังคม
ตามมาอยางมากมาย


The Consequences of the IT - revolution
กอนหนานี้ ระบบการสื่อสารทั้ง 3 ระบบ จะทํางานแยกจากกัน การปฏิวัติทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ
(IT) ไดทําใหเกิดความเปนไปไดของการบูรณาการทางดานการสื่อสารทั้งหมด        ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง
โครงสรางทางธุรกิจ ปจจุบันไดเกิดการบูรณาการกันของ 3 ธุรกิจใหญ อันไดแก
                 - อุตสาหกรรมระบบการสื่อสารโทรคมนาคม
                 - อุตสาหกรรมโทรทัศน
                 - อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร


Three large business areas are now integrated.




        ความเชี่ยวชาญที่มีเฉพาะดานเริ่มมีความสําคัญลดนอยลง และความแตกตางทางดานวัฒนธรรมที่มีกอน
หนานี้ ไดถกทําใหลดนอยลงที่ จากการ
            ู
                 - อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ
                 - อุตสาหกรรมภาพยนตร
                 - อุตสาหกรรมเพลง


        โดยมีผลทําใหทั้ง 3 อุตสาหกรรมมีขนาดที่เล็กลง การหลอมรวมกันของทั้ง 3 อุตสาหกรรม ทําใหเกิด
อุตสาหกรรมใหมเปนจํานวนมากในปจจุบัน การปฏิวัติอุตสาหกรรมในชวงกวา 200 ปที่ผานมา ทําใหเกิดการ
พัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ โนโลกอยางรวดเร็วตลอด 20 ปมานี้
อยางไรก็ตาม การสื่อสารยังคงเปนหนึ่งในกิจกรรมที่สําคัญของมนุษย เราสามารถใหคําจํากัดความของ
การสื่อสารวาเปน “กระบวนการดําเนินการตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป อยางมีจุดประสงค เพื่อตั้งใจ (จงใจ) ทําใหเกิดการ
แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน โดยผานการใชสัญลักษณ” (Engle et al., 1994)


          การรับรูมีสวนประกอบที่ความสําคัญ ดังนี้
               • ความพยายามที่ทําอยางตั้งใจ (จงใจ) เพื่อทําใหเกิดการตอบสนองอยางหนึ่งอยางใด การ
                    สื่อสารเปนกระกวนการหนึ่ง และมีผูเกี่ยวของอยูในกระบวนการ
               • การสื่อสารเปนการสื่อสัญลักษณของ คําพูด, รูปภาพ, เสียงเพลง และสิ่งกระตุนอื่นๆ ที่ถูกใช
                    เพื่อถายทอดความคิด (Blythe, 2000)


          การสื่อสารบนพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร รวมถึงระบบฐานขอมูลและเว็บไซต เราสามารถกลาวไดวา
การพัฒนาทางดานเทคโนโลยีทําใหเกิด “good old days” ตามมา ภาวการณแขงขันในปจจุบันนี้มีลักษณะ
คลายคลึงกันกับชวงกลาง ค.ศ. 1990s (Blythe, 2000, p.10) การตลาดแบบมวลชนที่ปรากฏในปจจุบันแถบจะ
ไม มี ค วามแตกต า งกั น หลายป จ จั ย มี ก ารรวมตั ว และมี ป ฏิ สั ม พั น ธ ต อ กั น ที่ เ ป น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ
สภาพแวดลอมในการสื่อสารเชิงกลยุทธที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว                      Engel et al (1994) อางวา ใน
การตลาดแบบมวลชน ทายที่สุด
แลว จะทําใหเกิดการโนมนาวจิตใจของแตละบุคคลเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผลลัพธสําคัญที่ตามมาอยางหนึ่งก็คือ ใน
อดีตที่ผานมา จะมีการใหความสําคัญกับการทําการสงเสริมการสื่อสารแบบผานสื่อมวลชน (หรือเรียกวา above-
        
the-line) ที่ปจจุบันกําลังถูกแทนที่ดวยการทํากิจกรรมการสงเสริมการตลาดทางตรงกับกลุมเปาหมายที่มีขนาด
เล็กลงเรื่อยๆ โดยการใช Direct marketing และเครื่องมืออื่นๆ เพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมายที่เปนปจเจกบุคคล
(รายบุคคล)
เครื่องมือของสวนประสมของการสื่อสารและระดับของการตัดสินใจ

        มีกลวิธีมากมายที่นักการตลาดจะใชในการควบคุมสวนประกอบตางๆ ของสวนประสมทางการสื่อสาร
เพื่อที่จะใหเกิดอิทธิพลตอกิจกรรมการสื่อสารใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เทคนิคพื้นฐานในการแบงประเภทของ
เครื่องมือการสงเสริมการตลาดมีดวยกัน 4 วิธี (Blythe, 2000) ไดแก Advertising, Public Relations, Sale
Promotion, Personal Selling


The Basic of Promotional Tools




        แตกอนเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาดมีประมาณ 12 – 20 เครื่องมือ เรียกรวมๆกันวาเปน
Promotion Mix (Blythe, 2000; Burnett and Moriarity, 1998; Fill, 1999; Kitchen, 2003; Kotler,
2003; Pickton and Broderick, 2001; Smith et al. 1999)


        เพื่อใหเห็นภาพของกระบวนการสื่อสารที่มีความซับซอน เราจําเปนตองมีการเพิ่มจํานวนเครื่องมือที่มี
ความสําคัญและมีคุณลักษณะที่แตกตางกันออกไป ทั้งการสื่อสารทางการตลาดแบบปจเจกบุคคลและแบบ
มวลชน ในระดับของ Macro ขอบเขตของการทําตลาด หมายรวมถึง แนวความคิดที่เปนรากฐานมาจากสังคม,
การเมือง ที่รูจักกันทั่วๆไป ก็คือ การทําโฆษณาผานทางโทรทัศนหรือวิทยุ ในภาพใหญตัวอยางเชน the Nazi era
ที่ประเทศเยอรมัน ในป 1936 กระทรวงการสื่อสารมีแผนที่จะทําการประชาสัมพันธการแขงขันกีฬาที่คลายๆกับ
งาน Olympic Games ซึ่งเปนงาน Event Marketing ขนาดใหญ ที่มีการใชเครื่องมือการสื่อสารทั้งหมด อัน
ประกอบไปดวย ดนตรี,
เครื่องมือของสวนประสมของการสื่อสารและระดับของการตัดสินใจ (ตอ)

opera, ศิลปะ, สถาปตยกรรม, ชุด uniforms, badges, ธงประดับ, งานแสดงนิทรรศการ ภาพยนตร. สื่อ
สิ่งพิมพ (literature), การศึกษา และ ขบวน parades         เพื่อที่จะขายความคิดทางดานสังคม เศรษฐกิจและ
การเมือง เราสามารถหาตัวอยางที่คลายคลึงกันในลักษณะนี้ได เชน ใน Soviet Union เดิม และประเทศ North
Korea ในปจจุบัน และรวมถึงประเทศทางตะวันตกที่มีระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อยางไรก็ตาม
ความตองการและโอกาส ที่จะเขาถึงผูบริโภค, ผูขาย, แขก, ผูรับบริการ, ผูเขาเยี่ยมชม, คนไข หรือ ผูลงคะแนน,
ผูนํา ในแตละรายใหเพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะคนหาประสบการณใหมากขึ้น และเครื่องมือที่สําคัญที่เหมาะสมในแต
ละสถานการณ An eye contract (ความสนใจในการติดตอสื่อสาร) ที่ไมควรเกิดขึ้น ก็คือ การตอบคําถามที่ไม
สุภาพสามารถสรางความเสียหายตอชื่อเสียงในระยะยาว ใหแก โรงแรม, รานอาหาร, พนักงานขายบุคลของ
ผลิตภัณฑเอปเปล, นักการเมือง ระเบียบวิธีวิจัยเปนสิ่งที่มีความสําคัญมาก และนําไปสูการพิจารณาเครื่องมือที่
นาสนใจ โดยเฉพาะแนวความคิดทางการตลาดแบบ one-to-one market เปนเครื่องมือที่สามารถวัดผลไดเปน
อยางดี และการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ที่มีความซับซอนที่ไมสามารถวัดผลได และการตัดสินใจ
ที่เกี่ยวของกับการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนประเด็นเชิงกลยุทธ ที่ประกอบไปดวย หลักการและ
แนวทางมากกวาการสั่งการในระดับปฏิบัติการ (tactical level) ที่สวนใหญจะจัดการโดยบริษัทที่เปนตัวแทนทํา
โฆษณา (Schroeder, 2002; Percy et al., 2002) และในระดับ Account Executives


Management Level of communication




                                                           Advertising Agencies and  
                                                                Account Executives  




                                                               
เราสามารถตั้งสมมติฐานไดวา แนวคิดทางดานทฤษฎีและระเบียบวิธีการวิจัยตลอดจนขอบเขตของการ
ดําเนินงานไดรับอิทธิพลมาจากแนวคิดทางดานวิชาการ และขนบธรรมเนียมประเพณี ในระดับของการบริหาร
จัดการทางดานกลวิธีทางการตลาด (Tactical Level) การสื่อสารถูกบริหารจัดการโดย                  Account
Executives, Art Directors และ Copy Directors ที่ซึ่งเปนบุคคลที่มีความสามารถและประสบการณทางดาน
การบริหารจัดการเชิงกลยุทธที่คอนขางจํากัด จากการศึกษาในสาขาการสื่อสารทางการตลาดชั้นนํา 2 แหงใน
ประเทศสวีเดน แสดงใหเห็นถึงแผนการศึกษาที่บรรจุเอาวิชาการ ทางดานภาวะผูนา และการบริหารจัดการเชิงกล
                                                                        ํ
ยุทธ เขาไวในหลักสูตรการศึกษาที่มีปริมาณนอยกวา 10% สวนที่เหลือที่มากวา 90% มุงเนนไปที่ ทฤษฎีการ
สื่อสาร, พฤติกรรมผูบริโภค, advertising, media, art copy และ project work (IHR – Institute for
applied Communication and RMI – Berghs School of Communication)


        เมื่อไมนานมานี้ Swedish Institute of Management (Institute for foretagsledning, IFL) ซึ่ง
เปนสถาบันการศึกษาชันนําในประเทศสวีเดน ไดทาการศึกษาแผนการเรียนการสอน ที่ไดทําการรวบรวมขอมูล
                    ้                      ํ
การศึกษาในชวงเวลาอยางนอย 20 ป โดยเฉพาะอยางยิ่งการออกแบบโครงสรางการศึกษาในระดับการบริหาร
จัดการเชิงกลยุทธ (Strategic level) ที่แสดงใหเห็นวา ไดมีการบรรจุวิชาการ ทางดานทฤษฎีการสื่อสาร และ
ระเบียบวิธีวิจัย ไวในหลักสูตรฯประมาณ 3% ของเวลาทั้งหมด สวนที่เหลือเปนวิชาทีเกียวของกับ การวางแผน
                                                                              ่ ่
เชิงกลยุทธ, การประยุกตการบริหารจัดการ, การวิเคราะหทางการเงิน, การตลาด, การปกครอง และเศรษฐกิจ


เปรียบเทียบแผนการศึกษาระหวางผูบริหารระดับ Tactical Level และ Strategic Level
                               
บทสรุปที่สําคัญอยางหนึ่ง ที่ทําใหเราสามารถคาดเดาไดวา ผูที่มีหนาที่รับผิดชอบตอกลยุทธและกลวิธี
ของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ยังคงไมสามารถบูรณาการ (แบงแยก) หลักการดานการศึกษา,
วัฒนธรรม, แนวความคิด และประสบการณตรง ความรับผิดชอบตอกระบวนการตัดสินใจในการบริหารจัดการ
เชิงกลยุทธ สิ่งที่สําคัญที่สุด ก็คือ ความสามารถในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ ที่ยังขาดความเขาใจ และการ
พิจารณาถึงทฤษฎีการรับรูและวิธีการสื่อสารอยางลึกซึ้ง (อยางละเอียด) และทักษะความเชี่ยวชาญในการสื่อสารที่
ไมสอดคลองกับการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ, แนวคิดทางดานทฤษฎี และประสบการณตรง ถาเราจินตนาการถึง
2 สาขา (Strategic Level และ Tactic Level) จะทําใหเราสามารถสังเกตเห็นจุดเล็กๆที่ 2 สาขามาประสานกัน


สรุปแผนการเรียนการสอนทางดานการสือสารทางการตลาด
                                 ่
ระหวางระดับ Tactical Level และ Strategic Level


                                                                                                                      Subjects
                                                    Consumer Behavior




                                                                                                                                                          Strategic Planning




                                                                                                                                                                                                 Financial Analysis
 Level                                                                                                                                                                                                                                                                     Total
                                                                                                                        Communication
                                         t




                                                                                                                                                                                                             t
                                                                                                                                        Methodology
                                                                            Advertising
              Leadership




                                                                                                                                                                                                                                                           Economics
                                                                                                                                                                                                                            Marketing
                             Strategic




                                                                                                                                                                                   Applied




                                                                                                                                                                                                                                            Politics
                                                                                                Media
                                         Copy




                                                                                                            Art



                                                                                                                                        Th
                                         M




                                                                                                                                                                                                 M



Tactical                   10%                                                                90%                                                                                                                                                                          100%
Strategic                                                                                                                               3%                                                                                97%                                              100%




            ไดมีการทําการศึกษาบริษัทสัญชาติสวีเดนขนาดใหญจํานวน 4 บริษัท แสดงใหเห็นถึง การขาดการรับรู
ในอดีตที่ผานมา, การคิดเชิงกลยุทธ, ความเขาใจทางการตลาด และการรับรูทางดานทฤษฎี (Holm,                                                                                                                                                               2003,
2004)        ความไมสนใจของผูประกอบการ, ประวัติศาสตร, วัฒนธรรม, เทคโนโลยี และพื้นฐานทางเศรษฐกิจ
นอกจากนี้ มันยังขึ้นอยูกับปรัชญาการบริหารจัดการที่มีรากฐานมากจากแนวความคิดในอดีต หรือการพิจารณา
ถึงสภาพแวดลอมภายใน ที่มีความเกี่ยวของกับสถานการณการแขงขันที่แทจริงของบริษัท การศึกษานี้ยังหมาย
รวมถึงตัวอยางความ
รวมมือกันของผูบริโภคในสังคมตะวันตก ,บริษัทเอกชนที่มีกระบวนการผลิตแบบดั่งเดิม ตัวอยางของการเติบโตใน
ภาคอุตสาหกรรมของประเทศทางตะวันตก, บริษัทที่บริหารงานโดยภาครัฐที่ดําเนินธุรกิจในตลาดแบบระบบเปด
และ(เปน)หนึ่งในบริษัทที่เปนผูนําทางดานธุรกิจโทรคมนาคม บริษัทในภาคอุตสาหกรรมตางๆ บริษัทเหลานี้ถูก
นํามาใชในการวิเคราะหในทฤษฎี, โดยอาศัย model การสังเคราะหทางธุรกิจ (BPD) (Holm, 2003, 2004)


การศึกษากรณีศึกษาทั้ง 4 บริษัท แสดงใหเห็นถึงผลที่ตามมา ดังนี้ตอไปนี้
                                                               
        - ธุรกิจควรจะทําความเขาใจถึงความหมายและผลกะทบของการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดที่ทําให
            ธุรกิจประสบความลมเหลว
        - การขาดการศึกษาถึงการรับรูถึงเรื่องราวในอดีตที่ผานมา (ประวัติศาสตร) ทางการตลาด และการ
            รั บ รู ท างทฤษฎี ที่ นํ า ไปสู ก ารตั ด สิ น ที่ ผิ ด พลาดของผู นํ า เมื่ อ สภาพแวดล อ มทางการตลาด
            เปลี่ยนแปลงไป ผูนําการเปลี่ยนแปลงที่ชาญฉลาดและผูประกอบการที่เปนเจาของธุรกิจการผลิตมัก
            มุงเนนไปที่ปญหาทางดานเทคโนโลยี และการคงไวซึ่งสูตรของความสําเร็จ (สูตรสําเร็จ) พอเมื่อ
            เผชิญกับอุปสรรคที่กอตัวขึ้นเรื่อยๆในชวงตนป ค.ศ.1970           รัฐบาลที่เปนผูถือหุนใหญในบริษัท
            ทางดานธุรกิจโทรคมนาคม ใชความพยายามในการดําเนินนโยบายเพื่อที่จะขจัดกลไกลการทํางาน
            ของระบบตลาด โดยการใชความพยายามในการบังคับใหบริษัทปฏิบัติตามแนวความคิดแบบสังคม
            นิยม การบริหารจัดการในภาคเอกชนและบริษัทผูนําทางดานธุรกิจโทรคมนาคมไดประมาณการณ
            การเติบโตของตลาดในเรื่องความเขาใจในการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการบริโภคที่ผิดพลาด การที่
            ไมไดทําการสังเกตผลของการเปลี่ยนแปลงของคูแขงขันที่ตามมาและการไมเขาใจถึง                    user-
            friendliness และความไดเปรียบของการแขงขันที่สําคัญที่มาจากการออกแบบผลิตภัณฑ


เกี่ยวกับทฤษฎีการสื่อสาร

        ตองมีความเขาใจในความหมายของการสื่อสารของคนอื่น กลาวอีกนัยหนึ่งคือ การแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็น (บทสนทนา – dialogue) จะไมเกิดขึ้น เพียงผานความคิดและความเขาใจในกระบวนการสื่อสารเทานั้น
ผูที่ตองการที่จะบรรลุเปาหมาย เพื่อทําใหมีอิทธิพลตอทัศนคติ, ความรู และ/หรือ พฤติกรรม ของคนอื่น ในการที่
จะแนวโนมจิตใจ เปนเหตุผลหนึ่งที่มีความสําคัญอยางมาก วาทําไมองคกรจึงตองการที่จะทําการสื่อสาร (Fill,
1999) การที่ทุกคนตางใหความสนใจในแนวคิดและสาขาทางดานการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เพิ่ม
มากขึ้นอยางแพรหลายไปทั่วทุกมุมโลก จึงเปนสวนสําคัญที่ที่นําไปสูการศึกษาทางดานหลักการทางทฤษฎี
Shannon and Weaver (1949) ไดตั้งขอสังเกตวา ในปจจุบันนี้ไดมีการพิสูจนถึงการวิจัยทางทฤษฎี
ทางดานการสื่อสารที่สําคัญ ทั้ง 2 ทาน (Shannon and Weaver) ไดกลาววาปญหาหลักที่สําคัญของการ
สื่อสาร คือ การจําลองจุดๆหนึ่งที่แนนอนหรือคราวๆ จากจุดอื่นๆ ของการเลือกขาวสารไปยังจุดอีกจุดหนึ่ง
(Shannon and Weaver, 1949, p.3) โดยระบบการสื่อสาร Shannon and Weaver หมายถึง ระบบที่
ประกอบไปดวยสวนที่สําคัญดวยกัน 5 สวนไดแก
                    1. แหลงของขอมูล ที่สิ่งสรางขาวสาร (message) หรือ ขาวสารที่ตามมา เพื่อสื่อสารไป
                        ยังผูรบสารปลายทาง โดยขาวสาร (message) มีไดหลายรูปแบบ
                               ั
                    2. การเผยแพร (transmitter:      เครื่องสงสัญญาณ) ที่ทําหนาที่ในการจัดการขาวสาร
                        (message) เพื่อสรางสัญญาณที่เหมาะสมกับชองทางการเผยแพร
                    3. ชองทางเปนเพียงสื่อกลางในการที่จะเผยแพรสัญญาณจากเครื่องสงสัญญาณไปยัง
                        ผูรบขาวสาร
                            ั
                    4. ผูรบขาวสาร เปนผูที่รับขาวสาร (message) จากสัญญาณ (signal)
                           ั
                    5. จุดหมายปลายทาง คือ บุคคลที่ขาวสารตั้งใจสงไปถึง




        Shannon and Weaver ไดแบงประเภทของระบบการสื่อสารออกเปน 3 ประเภทหลักๆ ไดแก


        •       ความเปนอิสระ (Discrete)

        •       ความตอเนื่อง (Continuous)

        •       การประสมประสาน (Mixed)
Three Main Categories of Communication Systems

           ความเปนอิสระ (Discrete)
           เปนทั้งขาวสารและสัญญาณ ที่เปนผลมากจากสัญลักษณที่เปนอิสระ (discrete – แยกตางหาก)
ยกตัวอยางเชน ระบบโทรเลข


           ระบบตอเนื่อง (Continuous)
           เปนขาวสารและสัญญาณ ที่ทั้งสองอยางสามารถทํางานไดอยางตอเนื่อง อาทิเชน ระบบวิทยุ หรือ ระบบ
โทรทัศน


           ระบบประสมประสาน (Mixed)
           เปนระบบที่ประกอบไปดวยความเปนอิสระและมีความตอเนื่อง เชน การเปลงเสียงคําพูด


           เพื่อใหเขาใจถึงปญหาโดยทั่วไปที่เกี่ยวของกับระบบการสื่อสาร Shannon and Weaver ไดพบวา
ระบบประกอบไปดวยสวนประกอบตางๆที่มีความเกี่ยวของกับคณิตศาสตร


           Shannon and Weaver ไดเขียนเนื้อหาที่สําคัญ ดังนี้
           ความถี่ของขาวสาร หมายความถึง ความถี่ที่ขาวสารไดถูกพูดถึง (อางถึง) หรือ มีความสัมพันธกับบาง
ระบบในลักษณะทางดานกายภาพ หรือ เกี่ยวของกับแนวคิด ในความหมายทางดานการสื่อสารนี้ ไมไดเกี่ยวของ
กับปญหาทางดานวิศวกรรมศาสตร (p.3)
Warren (1949) ไดระบุ ถึงปญหาของการสื่อสารอยางกวางๆ ออกเปน 3 ระดับ




       Level A: ปญหาทางดานเทคนิค
       สัญลักษณที่ใชในของการสื่อสารจะถูกเผยแพรใหอยางถูกตองไดอยางไร


       Level B: ปญหาที่เกี่ยวของกับการสื่อความหมาย
       สัญลักษณที่สื่อสารออกไปจะสามารถถายทอดความหมายที่ตองการไดอยางถูกตองเที่ยงตรงไดอยางไร


       Level C: ปญหาทางดานความมีประสิทธิภาพ
       ความหมายที่ไดรับจะมีประสิทธิภาพเปนไปในทิศทางที่ตองการไดอยางไร
รูปที่ 1


                     Message                   Signal             Received                Message 
                                                                   Signal
             
                                                                                                           
      Information               Transmitter                                   Receiver               Destination 
         Source 




                                                            

                                                         Noise 
                                                        Source 




           แสดงใหเห็นระบบของการสื่อสาร ที่แหลงของขอมูลขาวสาร (information)                       ไดเลือกสงขาวสาร
(message) ที่ตองการออกจากชุดขาวสาร (messages) ที่เปนไปได ขาวสาร (message) ที่ถูกเลือกประกอบไป
ดวย คําที่ถูกเขียน (written) หรือคําพูด (spoken word) หรือรูปภาพ (picture), เสียงเพลง (music) เปนตน
ขาวสาร (message) จะถูกแปลงไปเปนสัญญาณ (signal) โดยการใชเครื่องสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส จากนั้นจะ
สงสัญญาณผานชองทาง (Channel) ไปยังผูรับสาร (receiver)


           ประเภทของคําถามที่ Shannon ใชในการคนหาวาระบบการสื่อสาร คือ
                1. จะวัดจํานวนของขาวสารขอมูล (Information) ไดอยางไร?
                2. จะวัดความสามารถของชองทางการสื่อสารไดอยางไร?
                3.              การทํางานของเครื่องสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสในการแปลงขาวสาร (message) ไป
                     เปนสัญญาณ (signal) ที่มักจะเกี่ยวของกับกระบวนการใสรหัส (coding) เมื่อกระบวนการใส
                     รหัสมีประสิทธิภาพแลว ชองทางจะสามารถถายทอดขอมูลขาวสาร (Information)                        ไดใน
                     อัตราเร็วเทาใด?
                4. อะไรคือลักษณะทั่วไปของสิ่งรบกวน (Noise) และจะลดผลกระทบของสงรบกวนที่ไมตองการให
                     นอยที่สุดเทาที่จะทําได หรือกําจัดใหหมดไปไดอยางไร?
                5. ถาสัญญาณ (Signal) กําลังถูกถายทอด (Transmitted) (เชน ภาษาเขียน, โทรเลข) จะเกิดผล
                     กระทบที่เปนปญหาอยางไร?
Shannon แสดงความเห็นวา ขอความในขาวสารขอมูลในทางทฤษฎี ไมควรที่จะมีความหมายซับซอน
Shannon กลาววา ครึ่งหนึ่งของขาวสาร จะมีความหมายและสวนที่เหลือไมมีความหมาย ขาวสาร (message)
ทั้ง 2 ขาวสาร เปนขาวสารที่มีความหมายเหมือนกันในมุมมองปจจุบัน ถือวาเปนขาวสารขอมูล (Information) ที่
นาสนใจ (นาจับตามอง) Shannon หมายความวา เมื่อไหรก็ตามที่คนพูดวา “ลักษณะในการสื่อความหมายของ
การสื่อสารไมมีความเกี่ยวของกับลักษณะทางดานวิศวกรรมศาสตร” อยางไรก็ตาม Shannon ยังเสริมวา “มัน
ไมไดหมายความวา ลักษณะทางดานวิศวกรรมศาสตรไมมีความสัมพันธกับลักษณะในการสื่อความหมายของการ
สื่อสารแตอยางใด” (p.99)


          Shannon และ Weaver ไดทําการพัฒนา วาอะไรเปนแบบจําลองมาตรฐาน (basic model) ของการ
สื่อสารที่เปนที่ยอมรับ วาอะไรเปนแบบจําลอง (model) ที่มีความตอเนื่อง หรือ แบบจําลองเชิงเสน linear
model ที่เกิดขึ้นในชวงหลาย 10 ปที่ผานมา และดูเหมือนวาจะมีรูปราง (shapes) ที่คอนขางแตกตางกันออกไป
ในแตละบทความที่ถูกตีพิมพในสาขาทางดานการสื่อสารการตลาด อยางไรก็ตาม แบบจําลอง (model)                                        ที่
แบบจําลองที่สําคัญแบบจําลองหนึ่งของการสื่อสาร คือ แบบจําลอง one-step model และเปนแบบจําลอง
อยางงาย เพราะวาการสื่อสารที่เกิดขึ้นไมจําเปนตองเปนแบบ single step แบบจําลองเชิงเสน (linear model)
ของการสื่อสารใหความสําคัญกับการถายทอด (transmission – การสง) สัญญาณ, แนวความคิด และขาวสาร
ขอมูล ผานสัญลักษณตางๆ ดังนั้นเราพบวาแบบจําลองเชิงเสน (linear                          model)         ใหความสนใจไปที่
ประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล ของการถายทอด (transmission – การสง) ตลอดจนการใหความสําคัญกับ
ความสามารถในการวัดผลของการสื่อสาร Holm (2002) พบวา 70 – 80% ของบทความในสาขาการสื่อสาร
การตลาดที่ถูกตีพิมพในชวงระหวางป ค.ศ. 1990S นั้น จะอยูบนพื้นฐานของแบบจําลองเชิงเสน (linear model)
ที่มุงเนนไปที่กระบวนการพื้นฐานทางดานทัศนคติในแงของทฤษฎีการสื่อสาร (process                               –       oriented
perspective on communication theory)


          พวกเราสันนิษฐานวา การสื่อสาร เปนการกระทําที่ทําอยางตั้งใจ และเปนความพยายามที่ผานการ
ไตรตรองอยางรอบคอบเพื่อใหเกิดการตอบสนอง พวกเรายังสันนิษฐานวา การสื่อสาร เปนกระบวนการที่
เกี่ยวของกับการดําเนินการระหวาง 2 ฝาย หรือมากกวานั้น ดวยจุดประสงค เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนที่ผาน
การกระทํ า ที่ ทํ า อย า งตั้ ง ใจโดยผ า นการใช สั ญ ลั ก ษณ ต า งๆ ในความหมายนี้ ผู ที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ งทั้ ง หมดใน
กระบวนการจะตองมีความ
คิ ด เห็ น ร ว มกั น ว า สั ญ ลั ก ษณ แ ละเครื่ อ งหมายอะไรที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ ความหมายที่ แ ท จ ริ ง ในลั ก ษณะนี้
หมายถึ ง ประสบการณ ต า งๆของผู ส ง สารและผู รั บ สาร , ความเข า ใจ, สิ่ ง ที่ ทํ า มาก อ นเพื่ อ แปลความหมาย
เพื่อที่จะขยายขอบเขตที่มันคาบเกี่ยวกันไดอยางถูกตอง ดวยเหตุนี้เองจึงตองการวิธีการทางทฤษฎีบางสวนที่
แตกตางกันออกไปในการพัฒนาการสื่อสารการตลาด, วิธีเชิงคุณภาพ (qualitative approach) ที่ใหความ
สนใจกับผูอาน, ผูฟง และผูดู เนื่องจากไมเพียงเปนจุดประสงคทางดานสังคมวิทยาเทานั้น (Blythe,                         2000)
ความหมาย, สัญญาณ, สัญลักษณ, การศึกษาโครงสรางของประโยค และวัฒนธรรมไดกลายเปนสวนประกอบที่มี
ความจําเปนตอการพัฒนาการสื่อสาร แบบจําลองเชิงเสน (linear,                          process-oriented            model) และ
สวนประกอบของแบบจําลองเชิงสันที่มีลักษณะตรงไปตรงมา เขาใจไดงาย แตแบบจําลองเชิงเสน เปนวิธีเชิง
คุณภาพในการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางสวนประกอบตางๆที่มีในกระบวนการที่มีความหลากหลายที่มี
อิทธิพลตอการสื่อสารที่ทําใหการสื่อสารประสบความสําเร็จ (Fill, 2002)                            อยางไรก็ตามแนวคิดนี้ไดให
ความสําคัญอยางมากตอการสื่อสาร 20-30% ของบทความในสาขาการสื่อสารการตลาดที่ถูกตีพิมพทั่วๆไป


บทสรุป

          จุดหมายที่สําคัญที่สุดของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) คือ เพื่อใหมีผลกระทบตอแนวคิด
ในเรื่องของคุณคาและพฤติกรรมที่ผานการสื่อสารโดยตรง การพัฒนาและความซับซอนของการสื่อสารการตลาด
แบบครบวงจร (IMC) มีความเกี่ยวของอยางมากกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอยางเร็วรวด และ
การเกิดขึ้นของโลกาภิวัฒน (Globalization) ที่กระจายไปทั่วโลกอยางเร็วรวด และการเปลี่ยนปลงรูปแบบของ
การบริโภคที่มีลักษณะที่เปนแบบปจเจกบุคคล (รายบุคคล) การบริโภคที่ใหความสําคัญกับความตองการที่
สามารถปรับเปลี่ยนวัตถุประสงคและกลยุทธ เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดที่เกิดขึ้นจริง
จากจุดที่สําคัญนี้เอง, การสื่อสารตองมีการเปลี่ยนแปลงจากกลวิธีไปสูกลยุทธ ในโลกของการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและมีการแขงขันอยางรุนแรงในศตวรรษที่ 20 นี้ การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC)
ที่อยูบนพื้นฐานเชิงกลยุทธจะสามารถชวยใหธุรกิจเดินไปขางหนาได (กาวหนา) อยางไรก็ตาม Kitchen และ
Scultz (2000) ไดพบวาธุรกิจสวนใหญยังคงประสมประสานสวนประกอบตางๆ ของการสงเสริมการตลาดโดย
การให ก ลวิ ธี และมี ธุ รกิ จ จํ า นวนน อ ยมากในปจ จุ บั น ที่ สามารถบู ร ณาการการดํ า เนิ น การทางการเงิน เข า กั บ
การบรูณาการเชิงกลยุทธ
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy
Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy

More Related Content

What's hot

การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยPunyapon Tepprasit
 
AIM3304 รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...
AIM3304   รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...AIM3304   รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...
AIM3304 รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...Muthitachokesom
 

What's hot (8)

IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)IMC Overview (ch.2)
IMC Overview (ch.2)
 
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทยการจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
การจัดการกลยุทธ์ซัพพลายเชน กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ประเทศไทย
 
IMC description
IMC descriptionIMC description
IMC description
 
Marketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overviewMarketing & consumer behavior overview
Marketing & consumer behavior overview
 
Bcm
BcmBcm
Bcm
 
Google 2010 case study gm
Google 2010 case study gmGoogle 2010 case study gm
Google 2010 case study gm
 
AIM3304 รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...
AIM3304   รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...AIM3304   รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...
AIM3304 รูปแบบการสร้างของบริษัทตัวแทนโฆษณาที่ดำเนินธุรกิจโดยใช้แนวคิดการสื่...
 
Cirriculum executive summary
Cirriculum executive summaryCirriculum executive summary
Cirriculum executive summary
 

Similar to Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy

การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์tra thailand
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotlerดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ KotlerDrDanai Thienphut
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศNaresuan University Library
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดetcenterrbru
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรWichien Juthamongkol
 
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...jarudphanwandee
 
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies ReviewADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Reviewchonticha chamchuen
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpointthanaporn
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plansiriporn pongvinyoo
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์Krumai Kjna
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่arm_smiley
 

Similar to Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy (20)

Media IMC
Media IMCMedia IMC
Media IMC
 
Chap5
Chap5Chap5
Chap5
 
Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1Introduction to Global Marketing #Ch.1
Introduction to Global Marketing #Ch.1
 
Prestudy marketing plan_objective_product
Prestudy marketing plan_objective_productPrestudy marketing plan_objective_product
Prestudy marketing plan_objective_product
 
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการการสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
การสื่อสารการตลาดแบบบูรณการ
 
Diversification Strategy
Diversification StrategyDiversification Strategy
Diversification Strategy
 
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
การวางแผนการตลาดและการประชาสัมพันธ์
 
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotlerดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
ดร.ดนัย เทียนพุฒ ในคิดใหม่ของ Kotler
 
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศการตลาดในงานบริการสารสนเทศ
การตลาดในงานบริการสารสนเทศ
 
Marketing com Planing
Marketing com PlaningMarketing com Planing
Marketing com Planing
 
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาดบทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
บทที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการสื่อสารและการตลาด
 
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากรการบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
การบริหารสปา โครงการพัฒนาวิทยากร
 
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
Aim3304 การสื่อสารการตลาดแบบครบเครื่องในบริษัทตัวแทนโฆษณาให้บริการการสื่อสารก...
 
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies ReviewADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
ADM3306 Digital Media Advertising Agencies Review
 
Mk212powerpoint
Mk212powerpointMk212powerpoint
Mk212powerpoint
 
TOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing PlanTOT Contact Center Marketing Plan
TOT Contact Center Marketing Plan
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
marketing for non marketeer
marketing for non marketeermarketing for non marketeer
marketing for non marketeer
 
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
เรื่องที่ 4 การตลาดสำหรับกิจการค้าปลีกสมัยใหม่
 

More from siriporn pongvinyoo

ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2siriporn pongvinyoo
 
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)siriporn pongvinyoo
 
Social Media Start with the Listening
Social Media Start with the ListeningSocial Media Start with the Listening
Social Media Start with the Listeningsiriporn pongvinyoo
 
What You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government AgenciesWhat You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government Agenciessiriporn pongvinyoo
 
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทยข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทยsiriporn pongvinyoo
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control Systemsiriporn pongvinyoo
 
ICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case StudyICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case Studysiriporn pongvinyoo
 
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...siriporn pongvinyoo
 
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for ThailandThink Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailandsiriporn pongvinyoo
 
Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?siriporn pongvinyoo
 

More from siriporn pongvinyoo (20)

ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
ข้าราชการพลเรือนสามัญสาย IT ตอนที่ 2
 
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
ข้าราชการพลเรือนสามัญทางด้านสาย IT ปีงบ 53 (ตอนที่ 1)
 
Social Media Start with the Listening
Social Media Start with the ListeningSocial Media Start with the Listening
Social Media Start with the Listening
 
What You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government AgenciesWhat You Need to Know of Social Media for Government Agencies
What You Need to Know of Social Media for Government Agencies
 
Type of Social Media
Type of Social MediaType of Social Media
Type of Social Media
 
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทยข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
ข้อมูลพื้นฐานข้าราชการไทย
 
Understanding Strategies
Understanding StrategiesUnderstanding Strategies
Understanding Strategies
 
The Nature of Management Control System
The Nature of Management Control SystemThe Nature of Management Control System
The Nature of Management Control System
 
Mama Marketing Plan
Mama Marketing PlanMama Marketing Plan
Mama Marketing Plan
 
ICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case StudyICT Application in Hospital: Case Study
ICT Application in Hospital: Case Study
 
WAL-MARKT: Case Study
WAL-MARKT: Case StudyWAL-MARKT: Case Study
WAL-MARKT: Case Study
 
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
Website Ranking and the Analysis of Consumer's Behavior in Accessing Websites...
 
HYBRID CAR IMC Plan
HYBRID CAR IMC PlanHYBRID CAR IMC Plan
HYBRID CAR IMC Plan
 
Philip Morris: Case Study
Philip Morris: Case StudyPhilip Morris: Case Study
Philip Morris: Case Study
 
Starbucks Coffee: Case Study
Starbucks Coffee: Case StudyStarbucks Coffee: Case Study
Starbucks Coffee: Case Study
 
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for ThailandThink Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
Think Globalize Act Localize: A Business Model for Thailand
 
Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?Why Apple Products Come to be Successful?
Why Apple Products Come to be Successful?
 
Marketing Management
Marketing ManagementMarketing Management
Marketing Management
 
Wal-Mart: Case Study
Wal-Mart: Case StudyWal-Mart: Case Study
Wal-Mart: Case Study
 
Black Cat Marketing Plan
Black Cat Marketing PlanBlack Cat Marketing Plan
Black Cat Marketing Plan
 

Integrated Marketing Communication from Tactic to Strategy

  • 1.    Integrated Marketing Communication: from Tactic to Strategy  เสนอ ผศ.ดร.ธีรพันธ โลหทองคํา  จัดทําโดย นางสาวศิรพร พงศวญู ิ ิ รายงานนีเปนสวนหนึงของวิชา ้ ่ Integrated Marketing Communication Strategy ประจําภาคเรียนฤดูรอน ปการศึกษา 2551  หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด ทยาศาสตรมหาบั คณะพาณิชยศาสตรและการบัญชี จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
  • 2. INTEGRATED MARKETINGCOMMUNICATION STRATEGY: INTEGRATED MARKETINGCOMMUNICATION STRATEGY: คํานํา รายงานฉบั บ นี้ เ ป น การแปลบทความเรื่ อ ง Integrated Marketing Communication: form Tactic to Strategy ผลงานเขียนของ Olof Holm, Stockholm University School of Business, Stockholm, Sweden ซึ่งเปนสวนหนึ่งของรายวิชา 2605616: กลยุทธการสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการ ผูจัดทําหวังเปนอยางยิ่งวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนกับผูที่ตองการศึกษาเกี่ยวกับ Integrated Marketing Communication ไมมากก็นอย หากมีขอผิดพลาดประการใด ทาง ผูจัดทําขออภัยมา ณ โอกาสนี้ FROM TACTIC TO STRATEGY FROM TACTIC TO STRATEGY ศิริพร พงศวิญู วันที่ 13 พฤษภาคม พ.ศ. 2551    
  • 3.           บทความแปล ภาษาไทย                                              
  • 4. การสือสารการตลาดแบบครบวงจร: ่ จากกลวิธไปสูกลยุทธ ี  Olof Holm Stockholm University School of Business, Stockholm, Sweden บทคัดยอ จุดมุงหมาย  การเกิดขึ้นของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนตัวอยางที่มีความสําคัญตอการ พัฒนาทางดานการตลาด การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) มีอิทธิพลตอความคิดและการนําไปปฏิบัติ ในทุกบริษัทและทุกองคกรที่ตองเผชิญกับภาวการณแขงขันในเศรษฐกิจระบบเปด จากจุดเริ่มตนของศตวรรษที่ 1990s การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนหัวขอไดรับความสนใจอยางมากในสาขาทางดาน การตลาด ขั้นตอนของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) มีดวยกัน 4 ขั้นตอน เริ่มตนตั้งแตจากการ ประสานกลวิธีทางดานการเงินและการบูรณาการกลยุทธ อยางไรก็ตาม ธุรกิจสวนใหญยังคงยึดติดกับขั้นตอน แรกและมีการเปลี่ยนแปลงไปสูระดับกลยุทธเพียงเล็กนอย สุดทายแลวมีอุปสรรคหลายอยางในการพัฒนาการ สื่อสารการตลาดแบบครบวงจรจากกลวิธีไปสูกลยุทธ จุดมุงหมายที่สําคัญของบทความนี้ก็เพื่ออธิบายถึงอุปสรรค ในการพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจรใหประสงความสําเร็จ การออกแบบ / ระเบียบวิธี / วิธการ ี การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวของระหวางชวงศตวรรษที่ 1990s และการศึกษาบริษัทสัญชาติสวีเดน ขนาดใหญ 4 บริษัท
  • 5. ผลของการสืบคน ผลลัพธจะแสดงใหเห็นถึงการตัดสินใจที่เกี่ยวของกับการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) อยูบน พื้นฐานของแผนการทําโฆษณาและความลมเหลวของระดับการบริหารจัดการที่ปรากฏ ทําใหการสื่อสารไมมี ประสิทธิภาพ ลาสมัย ความแปลกใหม / คุณคา แสดงใหเห็นถึงความตองการของการวิจัยในระดับนานาชาติ และการพิจารณาเกี่ยวกับแผนการเรียนการ สอนที่เกี่ยวของกับการบริหารจัดการ การตลาด และการสื่อสารการตลาด แบบใหม คําสําคัญ การสื่อสารทางการตลาด, การตลาดเชิงกลยุทธ, กลยุทธการแขงขัน, สวีเดน ประเภทของบทความ บทความวิจย ั
  • 6. บทนํา การปรากฏของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนตัวอยางที่มีความสําคัญมาก ที่สุดของการพัฒนาในสาขาการตลาด (Kitchen, 2003) การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) มีอิทธิพล ตอแนวความคิดและการนําไปปฏิบัติใชของบริษัทตางๆ รวมถึงหนวยงานราชการ, และพรรคการเมือง ที่ตอง เผชิญกับกับภาวการณแขงขันในเศรษฐกิจระบบเปดในโลกของความเปนจริง ตลอด 20 ปที่ผานมา นักวิชาการและผูเชี่ยวชาญในสาขาอาชีพ ไดมีการอภิปรายถึงทฤษฎีและวิธีการ นําไปปฏิบัติใชของการสื่อสารทางธุรกิจ แตปราศจากการพิจารณาถึงแนวคิดของการบูรณาการดวยวิธีการที่เปน จริง เพื่อใหสามารถบรรลุถึงตําแหนงทางการแขงขันในเชิงกลยุทธของธุรกิจ ไดเริ่มมีความพยายามที่จะศึกษาใน เรื่องดังกลาวขึ้นเมื่อไมมานี้ คือในชวงป ค.ศ. 1980s นักวิชาการไดเริ่มใหความสนใจและเริ่มมีบทความทางดาน วิชาการถูกตีพิมพข้ึน (Dyer,1982; Coulson – Thomas, 1993) จากจุดเริ่มตนของการสื่อสารทางการตลาด แบบครบวงจร (IMC) ในป ค.ศ. 1990S ไดกลายมาเปนหัวขอที่ไดรับความสนใจอยางมากในสาขาทางดาน การตลาด (Gaywood et al, 1991; Miller and Rose, 1994; Kitchen and Schultz,1997, 1998, 1999) ในชวง 20 ปที่ผานมา ในประเทศสหรัฐอเมริกา 75% ของงบประมาณทางดานการตลาด ไดถูกจัดสรร ใหกับ Advertising
  • 7. ปจจุบันนี้ 50% จัดสรรใหกับการทํา Trade Promotions, 25% จัดสรรใหกับทํา Consumer promotions และนอยกวา 25% จัดสรรใหกับทํา Advertising (Kitchen, 2003) งบประมาณทางดานการสื่อสารการตลาดระหวาง 20 ปกอน และปจจุบัน
  • 8. การจัดสรรงบประมาณทางดานการสื่อสารเริ่มเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางอื่นจาก Mass media และ Advertising แบบเดิมๆ ที่นํามาใชในการสนับสนุนการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เพื่อสรางความ เขาใจและใหความสําคัญสําหรับการทําการตลาดอยางมีประสิทธิภาพอยางเห็นไดชัด การปรากฏตัวขึ้นของ IT เปนสวนที่สําคัญที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงขอบเขตของ media ที่เปนสาเหตุหนึ่งที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง ทางดานการตลาดที่ไมเปนทางการ และรูปแบบของการบริโภคที่เปนแบบปจเจกบุคคล - มีลักษณะที่เปนแบบ เฉพาะราย (Individualized) และรสนิยมและความชื่นชอบของผูบริโภคที่มีผลทําใหเกิดการแบงสวนของตลาดที่ เพิ่มมากขึ้น (Eagle and Kitchen, 2000; Kitchen 2003) การเปรียบเทียบที่จัดสรรงบประมาณ Advertising Advertising    50%  Advertising   25%  Kitchen and Schultz (2000) ไดระบุถึง ขั้นตอนของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ออกเปนเปน 4 ขั้นตอน ดังนี้ • การประสานกลวิธีของสวนประกอบตางๆของทําการสงเสริมการตลาด • การปรับปรุงขอบเขตของการสื่อสารทางการตลาด • การประยุกตเทคโนโลยีสารสนเทศใหเขาการดําเนินการทางเงิน • การบูรณาการเชิงกลยุทธ
  • 9. 4 Stages of Integrated Marketing Communication (IMC) Kitchen and Schultz ไดพบวา ธุรกิจสวนใหญจะยึดติดกับ 2 ขั้นตอนแรก บางก็ขามขั้นตอนที่ 3 และ ไปสูข้นตอนที่ 4 อยางชาๆ ั บทสรุปหนึ่งคือมีอุปสรรคหลายอยางในการพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบคบวงจร (IMC) ที่เริ่มจาก กลวิธี ไ ปสู ระดั บ กลยุท ธ หากเรายอมรับ ว า การสื่ อสารเป นพื้ นฐานของความสัม พั นธ ของมนุ ษ ยทุ ก ๆคนแล ว (Duncan, 2002) เราก็ตองยอมรับดวยวาการบูรณาการการสื่อสารตราสินคาเชิงกลยุทธ ยังชวยใหธุรกิจบรรลุ การวางตําแหนงของการแขงขันอยางยั่งยืนอีกดวย จุดประสงคหลักของบทความนี้ก็เพื่อชี้ใหเห็นถึงอุปสรรคของ การพัฒนาการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ใหประสบความสําเร็จ หลักการของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) หลักการของสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เริ่มเปนที่รูจกอยางกวางขวางในชวงป 1990s ดังนั้น ั การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนคําที่ถูกใชคอนขางแพรหลายเมื่อไมนานมานี้ ที่อาจจะยังไมมี คําอธิบายที่ทําใหสามารถเขาใจไดอยางงายๆ ถึงความหมายที่แทจริง และการขาดการใหคําจํากัดความที่เปน มาตรฐานทั่วๆไปสมมติวาจุดมุงหมายสุดทายของการตลาดก็คือ การสงมอบความมาตรฐานของการดํารงชีวิตของ
  • 10. หลักการของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) – ตอ มนุษยใหสูงขึ้น (การสงเสริมมาตรฐานการดํารงชีวิตของมนุษยใหสูงขึ้น) (Kotler, 2003) ถาเราจํากัดคําจํากัด ความใหแคบลง เราก็สามารถพูดไดวา การตลาด คือ กระบวนทางสังคมกระกวนการหนึ่ง ที่ประกอบดวยบุคคล และกลุมบุคคลที่ไดรับการตอบสนองความตองการอะไรบางอยางผาน การสรางสรรค การใหขอเสนอ และการ แลกเปลี่ยนคุณคาของสินคาหรือบริการอยางเปนอิสระ (Kotler, 2003, p.9) สาระสําคัญก็คือ “คุณคา” คุณคา ก็ คือ สวนตางระหวางผลประโยชนที่ไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับตนทุน ระหวางสิ่งที่ลูกคาไดรับเมื่อเปรียบเทียบกับ สิ่งที่ลูกคาจายไป การเพิ่มคุณคาใหแกลูกคาก็คือ การที่นกการตลาดสามารถเสนอการประสานวิธีการตางๆเขา ั ดวยกัน ซึ่งขอเสนอดังกลาวนี้ก็เพื่อเปนการเพิ่มผลประโยชนตางๆ และเพื่อเปนการลดตนทุน คุณคาเปน จุดประสงคที่สําคัญของสื่อสารการตลาดที่เห็นไดอยางชัดเจนที่กระทบตอแนวคิดที่เกียวของกับคุณคาของ ่ ผูบริโภค และมีความสัมพันธกันระหวางผลประโยชนที่ลูกคาไดรับเปรียบเทียบกับเงินทีลูกคาตองจายไป การเพิ่ม ่ ผลประโยชน การลดตนทุน (ในแงของผูบริโภค) การเพิ่มผลกําไร และการลดตนทุน (ในแงของธุรกิจ) สามารถ ทําใหบรรลุผลสําเร็จได โดยการเพิ่มผลประโยชนใหสูงกวาตนทุนที่เพิ่มขึ้น และการลดผลประโยชนใหนอยกวาตน ทุกที่ลดลง Smith et al (1999) ไดใหความหมายของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไว 3 ความหมาย ดังนี้ 1. การบริหารจัดการและการควบคุมการสื่อสารทางการตลาดทั้งหมด 2. การวางตําแหนงของตราสินคาที่ถูกตอง คุณลักษณะและขอความ (message) ที่สื่อสารออกไป ที่ทํางานรวมกันโดยผานสวนประกอบของการสื่อสารที่สงมาจากกลยุทธที่สอดคลองเปนไปใน ทิศทางเดียวกัน 3. การวิเคราะหกลยุทธ, ทางเลือก, การนําไปปฏิบัติ และการควบคุมสวนประกอบของการสื่อสาร ทางการตลาดทั้งหมดอยางมีประสิทธิภาพ (การใชทรัพยากรอยางดีที่สุด) , คุมคา (ตนทุนที่ต่ํา ที่สุด), และมีประสิทธิผล (ไดผลประโยชนสูงสุด), อิทธิผลของความสัมพันธระหวางองคกรและ ลูกคา, ผูบริโภค และผูใชบริการ ที่เปนลูกคาที่มีศักยภาพขององคกร ที่องคกรมีอยูในปจจุบัน
  • 11. เพื่อที่จะสามารถทําความเขาใจความหมายและกระบวนการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ทั้งหมดไดดีย่ิงขึ้น โดย Smith el al (1999) ไดจําแนกการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ออกเปน 7 ระดับ ที่แตกตางกันออกไป ดังตอไปนี้ Levels and Corresponding Degrees of Integration • Vertical objective integration หมายถึ ง วั ต ถุ ป ระสงค ข องการสื่ อ สารต อ งสอดคล อ งกั บ วั ต ถุ ป ระสงค ท างการตลาดและ วัตถุประสงคขององคกรโดยรวม • Horizontal/ functional integration หมายถึง กิจกรรมการสื่อสารทางการตลาดที่สอดคลองกันเปนอยางดีกับการบริหารงานทาง ธุรกิจในสวนงานอื่นๆ อาทิ การบริหารจัดการทางดานผลิต, การดําเนินงาน, และการบริหาร ทรัพยากรบุคคล
  • 12. • Marketing mix integration หมายถึง สวนประสมทางการตลาดที่เกี่ยวของกับการตัดสินใจทางดานผลิตภัณฑ (product), การตัดสินใจทางดานราคา (price) และ การตัดสินใจทางดานสถานที่จัดจําหนาย (place) ที่ สอดคลองกับการตัดสินใจทางดานการสงเสริมการขาย (promotion) ดวยการการสื่อสาร ขาวสารที่เปนที่ตองการ • Communications mix integration หมายถึง เครื่องมือการสื่อสารทั้ง 12 อยาง ถูกนํามาใชเพื่อแนะนําใหแกลูกคา /ผูบริโภค/ ผูใชบริการ โดยผานแตละขั้นตอนของกระบวนการซื้อ และเครื่องมือการสื่อสารทั้งหมดที่แสดง ขาวสารที่สอดคลองกัน • Creative design integration หมายถึง การออกแบบที่มีความคิดริเริ่มสรางสรรคและการดําเนินการที่เปนแบบแผนดวยกัน และสอดคลองกับการวางตําแหนงของผลิตภัณฑที่วางแผนเอาไว • Internal / external integration หมายถึง ทุกๆฝายภายในองคกร และทุกๆ สวนที่เปนพันธมิตรทางธุรกิจที่อยูภายนอกองคกร จะตองทํางานรวมกัน และเห็นดวยกับแผนการดําเนินการและกลยุทธที่วางไว • Financial integration หมายถึง งบประมาณถูกใชอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เพื่อใหแนใจวาจะสามารถ ประหยัดจากขนาดของกําลังการผลิต (Economy of scale) และสามารถบรรลุเปาหมายของ การลงทุนในระยะยาวไดเหมาะสม (Optimize – คุมคา) Smith el al ไดอางวา Vertical integration of objective and activities เปนวิธีการพิจาณา พื้นฐานที่มีความสําคัญมากที่สุด และไมมีผลกระทบตอวัตถุประสงคของการสื่อสารการตลาดที่ไดกําหนดไว ที่ ไม ไ ด มี ก ารเชื่ อ มโยงโดยตรงกั บ วั ต ถุ ป ระสงค ท างการตลาดที่ เ ฉพาะเจาะจง และมี ค วามเกี่ ย วเนื่ อ งกั น กั บ วัตถุประสงคขององคกร
  • 13. วิ ธี ก ารพิ จ ารณาทั้ ง หมดประกอบด ว ยป ญ หาที่ เ ฉพาะเจาะจง ที่ เ ป น ป ญ หาที่ อ าจจะเกิ ด ขึ้ น ระหว า ง กระบวนการและความตองการที่จะแกไขปญหา เราอาจจะพิจารณาเพียงเฉพาะประเด็นที่มีความสําคัญ หนึ่งในภารกิจที่สําคัญที่สุดที่ตองทําก็คือ ตองมั่นใจวามีความแตกตางกันของเปาหมายในแตละระดับ และลักษณะที่จะทําใหบรรลุวตถุประสงคของการกําไรที่ยั่งยืนไดสําเร็จ ซึ่งประกอบไปดวย ั Consistency of Profitable Objectives • วัตถุประสงคของการเติบโต • การมีสวนแบงทางการตลาดที่เพิ่มมากขึ้น • ความรับผิดชอบตอสังคมและเปนความรับผิดชอบที่สังคมกําลังใหความสนใจอยางกวางขวาง เปาหมายและกลยุทธจะตองเกี่ยวของกับอุปสรรคของอุตสาหกรรม และการพิจารณาความเสี่ยงที่จะ เกิดขึ้นจากการตอบโตจากการแขงขัน เมื่อมีการนํากลยุทธมาใชในการสื่อสารและนําไปปฏิบัติจริง โดยจะตอง แนใจวา ผูปฏิบัติหลักไดทําความเขาใจและยอมรับกับเปาหมายนั้นเปนอยางดีแลว บางสิ่งบางอยางที่ไมสามารถ ทักทวง ไมแตเฉพาะที่เปนเทคนิคของบริษัท ยกตัวอยางเชน Ericsson การเกิดขึ้นของอินเทอรเน็ตและเทคโนโลยี ใหมๆไดทําใหหลายบริษัทไดนํามาใชเปนปจจัยที่สําคัญในการแขงขันที่ทําใหบริษัทประสบความสําเร็จ Porter (2001) กลาววา หลายบริษัทไดนําเอาเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตมาใช ทําใหการแขงขันเปลี่ยนแปลงไปอยางมาก
  • 14. จากเดิมที่มีการแขงขันในเรื่องของคุณภาพ คุณลักษณะของสินคาและบริการ ไปสูการแขงขันทางดานราคา เทคโนโลยีอินเทอรเน็ตทําใหบริษัทตางๆในอุตสาหกรรมทํากําไรไดลําบากมากขึ้น Porter ชี้ใหเห็นถึงอิทธิพล ของเทคโนโลยีอินเทอรเน็ตที่มีผลตอโครงสรางทางอุตสาหกรรม ดังตอไปนี้วา • ความแตกตางของคูแขงขันลดลง • เกิดการแขงขันในเรื่องของราคา • จํานวนของคูแขงขันเพิ่มมากขึ้น ในแงของความกวางทางดานภูมิศาสตรที่ทําใหตลาดขยายตัว ออกไป • อุปสรรคของสินคาทดแทนใหมที่เพิ่มมากขึ้น ที่เปนผลมาจากการใชงานอินเทอรเน็ตที่เพิ่มมาก ขึ้น • ความแตกตางในมาตรฐานของสินคาที่ลดลง • อํานาจการตอรองของ Suppliers ที่ลดลง จากการที่มี barriers ที่ลดลง • อํานาจการตอรองของชองทางการจัดจําหนายแบบเกาที่ถกกําจัดใหหมดไป ู • อํานาจการตอรองของผูบริโภคขั้นสุดทายที่มีเพิ่มมากขึ้น จากการที่ผูบริโภคมี switching cost ที่ต่ําลง • ความยากลําบากในการที่จะรักษาการประยุกตการใชอินเทอรเน็ต จากคูแขงขันรายใหมที่เขามา อุตสาหกรรม • อินเทอรเน็ตทําใหเกิดการขยายตลาด ที่ทําใหอุตสาหกรรมมีประสิทธิภาพมากขึ้น จากเหตุผลที่กลาวมาขางตนยังมีปจจัยอื่นๆอีก ที่เมื่อมีการพัฒนาการสื่อสารทางการตลาด คูแขงขันแต ละรายจะสามารถสรางความแตกตางไดลดลง และความเปนมาตรฐานของสินคาที่เกิดจากการพัฒนากลยุทธการ วางตําแหนงผลิตภัณฑใหมที่ย่ังยืน อํานาจการตอรองของชองทางการจัดจําหนายแบบเกาไดถูกกําจัดใหหมดไป ที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงการัดสินใจในสวนประสมทางการสื่อสาร (Communication mix) เมื่อเกิดการ แขงขันทางดานราคาจากคูแขงขัน
  • 15. อยางไรก็ตาม ความแตกตางที่สําคัญที่สุดของแนวคิดทางการสื่อสาร ไมไดเกิดจากการเปลี่ยนแปลง เครื่องมือสื่อสาร สิ่งที่สําคัญกวานั้นก็คือการปรับวัตถุประสงคและกลยุทธเมื่อการตลาดและการสื่อสารในโลก ของความจริงมีการเปลี่ยนแปลงไป เราสามารถทําความเขาใจไดวา การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนหัวขอที่มีความซับซอนมากขึ้น ในเรื่องของขอบเขตในการประสาน ตลอดจนจํานวนครั้งในการจัดกิจกรรม ตางๆ การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนมากกวาศิลปะที่รวมเอาวัตถุประสงคและเปาหมายของผูสง สาร โดยจําเปนตองมีการทําความเขาใจและตีความหมายอยางรอบคอบกอนที่จะทําการเลือกผูรับสาร เพื่อที่จะ ไดทําการพัฒนากลยุทธอยางสรางสรรค ที่มีสวนประกอบตั้งแตการเลือกขาวสาร (message) ที่ใชในการสื่อสาร ที่ตองสอดคลองเหมาะสมกันกับชองทางการสื่อสารที่ไดเลือกไว กระบวนการดังกลาวนี้คลายกันกับระเบียบวิธี วิจัยเชิงคุณภาพ ที่ใชถอยคําเพื่อโนมนาวจิตใจคน (classic methodology of rhetoric) (Vossius, 1990) ดังนั้นการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ไดกลายเปนประเด็นเชิงกลยุทธ ที่คิดขึ้นตามกลยุทธ และการตัดสินใจเชิงกลยุทธ ลักษณะทั่วๆไปที่เกี่ยวของกับแนวคิดเชิงกลยุทธและการตัดสินใจเชิงกลยุทธ ไดแก 1. กลยุทธจะมีความเกี่ยวของกับทิศทางการดําเนินงานในระยะยาวขององคกรหรือของบริษัท 2. การตัดสินใจเชิงกลยุทธจะทําใหเกิดความขอไดเปรียบในเชิงการแขงขัน 3. การตัดสินใจเชิงกลยุทธจะตองพิจารณาขอบเขตของกิจกรรมตางๆขององคกร การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ถูกสรางขึ้นมาเพื่อใหรูวาใครเปนเจาของและตองการบริหาร จัดการองคกรอยางไร การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) หมายรวมถึง การตัดสินใจที่สําคัญที่เกี่ยวของ กับวิสัยทัศน ประเภทของสินคา (product range), การถอนตัวหรือการเขามาในตลาด Johnson and Scholes (2002) อางวากลยุทธสามารถจับคูกันกับ (matching) ทรัพยากร และ กิจกรรมตางๆ หรือ การ บริหารจัดการองคกรใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมที่ธุรกิจดําเนินงานอยู บางครั้งอาจจะตองคนหากลยุทธที่ เหมาะสมกั บ สภาพแวดล อ มนั้ น ๆ นอกเหนื อ จากการระบุ จุ ด แข็ ง และจุ ด อ อ น โอกาสและอุ ป สรรคของ สภาพแวดลอมทางธุรกิจ การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ยังถูกมองวาเปนสวนสําคัญที่จะชวยให ธุรกิจสามารถวางตําแหนงของบริษัทหรือองคกรไดอยางถูกตองและบรรลุผลสําเร็จ ซึ่งหมายรวมถึงการบริหาร จัดการแนวคิดที่สําคัญขององคกรทั้ง 3 แนวคิด ไดแก ความโดดเดน (Identity), โครงสราง (Profile), ภาพพจน (Image)
  • 16. การสือสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ่ เปนสวนสําคัญทีจะชวยใหธรกิจสามารถวางตําแหนงของบริษทหรือองคกรไดอยางถูกตองและบรรลุผลสําเร็จ ่ ุ ั The Business Environment
  • 17. Three Concepts of the Organization คํ า ถามในการพิ จ ารณาความเชื่ อ มโยงกั น ระหว า งแนวความคิ ด หลั ก ทั้ ง 3 แนวคิ ด นั้ น ก็ คื อ การให ความสําคัญในเรื่องของความสัมพันธขององคกรที่เกี่ยวของกับการตลาด เพื่อทําใหสามารถพัฒนา รักษา และ เพิ่มตําแหนงการแขงขันของธุรกิจ (Holm, 1998) การปฏิวัติทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ ในระดับ Macro เราสามารถจําแนกความแตกตางของ 3 ปจจัย ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงความพรอม ในการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ที่สําคัญ • การเปลี่ยนแปลงไปของตลาด • โลกาภิวัฒน (Globalization) การแพรกระจายของระบบเศรษฐกิจทั่วทั้งโลก • การบริโภคของผูบริโภคที่มีลักษณะที่เปนแบบปจเจกบุคคล
  • 18. ปจจัยที่สําคัญ ก็คือ การเกิดขึ้นของเทคโนโลยีสารสนเทศใหมๆ ที่ทําใหเกิดระบบที่มีความแตกตางกัน 3 ระบบ ที่มีอทธิพลอยางมากตอการติดตอสื่อสาร ไดแก ิ • เสียง (Sound) • รูปภาพ (Image) • งานเขียน (Writing) การพัฒนาในเชิงเทคนิคขึ้นอยูกับระบบเหลานี้ แตเดิมที่ไมมีเทคโนโลยีใดที่จะสามารถถายทอดระบบ ทั้งหมดไดพรอมๆ กัน อยางมากก็ทําได 2 ระบบพรอมกัน Gutenberg ไดทําการสรางงานเขียน (writing) และ รูปภาพ (image) ขึ้น โดยในป ค.ศ.1929 Sound film ไดเริ่มถูกพัฒนาขึ้นมาจากเทคโนโลยีเสียงและการ ถายภาพ การปฏิวัติทางดานเทคโนโลยี (numeric) ไดจับเอา 3 ระบบเขาไวดวยกันนํา และพัฒนากลายเปน ระบบในยุคที่ 4 คือ ระบบ digital ที่ตัวมันเองมีผลตอมูลคาทางเศรษฐกิจอยางมหาศาล และมีผลทางดานสังคม ตามมาอยางมากมาย The Consequences of the IT - revolution
  • 19. กอนหนานี้ ระบบการสื่อสารทั้ง 3 ระบบ จะทํางานแยกจากกัน การปฏิวัติทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ไดทําใหเกิดความเปนไปไดของการบูรณาการทางดานการสื่อสารทั้งหมด ที่ทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลง โครงสรางทางธุรกิจ ปจจุบันไดเกิดการบูรณาการกันของ 3 ธุรกิจใหญ อันไดแก - อุตสาหกรรมระบบการสื่อสารโทรคมนาคม - อุตสาหกรรมโทรทัศน - อุตสาหกรรมคอมพิวเตอร Three large business areas are now integrated. ความเชี่ยวชาญที่มีเฉพาะดานเริ่มมีความสําคัญลดนอยลง และความแตกตางทางดานวัฒนธรรมที่มีกอน หนานี้ ไดถกทําใหลดนอยลงที่ จากการ ู - อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ - อุตสาหกรรมภาพยนตร - อุตสาหกรรมเพลง โดยมีผลทําใหทั้ง 3 อุตสาหกรรมมีขนาดที่เล็กลง การหลอมรวมกันของทั้ง 3 อุตสาหกรรม ทําใหเกิด อุตสาหกรรมใหมเปนจํานวนมากในปจจุบัน การปฏิวัติอุตสาหกรรมในชวงกวา 200 ปที่ผานมา ทําใหเกิดการ พัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ โนโลกอยางรวดเร็วตลอด 20 ปมานี้
  • 20. อยางไรก็ตาม การสื่อสารยังคงเปนหนึ่งในกิจกรรมที่สําคัญของมนุษย เราสามารถใหคําจํากัดความของ การสื่อสารวาเปน “กระบวนการดําเนินการตั้งแต 2 ฝายขึ้นไป อยางมีจุดประสงค เพื่อตั้งใจ (จงใจ) ทําใหเกิดการ แลกเปลี่ยนซึ่งกันและกัน โดยผานการใชสัญลักษณ” (Engle et al., 1994) การรับรูมีสวนประกอบที่ความสําคัญ ดังนี้ • ความพยายามที่ทําอยางตั้งใจ (จงใจ) เพื่อทําใหเกิดการตอบสนองอยางหนึ่งอยางใด การ สื่อสารเปนกระกวนการหนึ่ง และมีผูเกี่ยวของอยูในกระบวนการ • การสื่อสารเปนการสื่อสัญลักษณของ คําพูด, รูปภาพ, เสียงเพลง และสิ่งกระตุนอื่นๆ ที่ถูกใช เพื่อถายทอดความคิด (Blythe, 2000) การสื่อสารบนพื้นฐานของระบบคอมพิวเตอร รวมถึงระบบฐานขอมูลและเว็บไซต เราสามารถกลาวไดวา การพัฒนาทางดานเทคโนโลยีทําใหเกิด “good old days” ตามมา ภาวการณแขงขันในปจจุบันนี้มีลักษณะ คลายคลึงกันกับชวงกลาง ค.ศ. 1990s (Blythe, 2000, p.10) การตลาดแบบมวลชนที่ปรากฏในปจจุบันแถบจะ ไม มี ค วามแตกต า งกั น หลายป จ จั ย มี ก ารรวมตั ว และมี ป ฏิ สั ม พั น ธ ต อ กั น ที่ เ ป น ไปในทิ ศ ทางเดี ย วกั น กั บ สภาพแวดลอมในการสื่อสารเชิงกลยุทธที่มีการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็ว Engel et al (1994) อางวา ใน การตลาดแบบมวลชน ทายที่สุด แลว จะทําใหเกิดการโนมนาวจิตใจของแตละบุคคลเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ผลลัพธสําคัญที่ตามมาอยางหนึ่งก็คือ ใน อดีตที่ผานมา จะมีการใหความสําคัญกับการทําการสงเสริมการสื่อสารแบบผานสื่อมวลชน (หรือเรียกวา above-  the-line) ที่ปจจุบันกําลังถูกแทนที่ดวยการทํากิจกรรมการสงเสริมการตลาดทางตรงกับกลุมเปาหมายที่มีขนาด เล็กลงเรื่อยๆ โดยการใช Direct marketing และเครื่องมืออื่นๆ เพื่อใหเขาถึงกลุมเปาหมายที่เปนปจเจกบุคคล (รายบุคคล)
  • 21. เครื่องมือของสวนประสมของการสื่อสารและระดับของการตัดสินใจ มีกลวิธีมากมายที่นักการตลาดจะใชในการควบคุมสวนประกอบตางๆ ของสวนประสมทางการสื่อสาร เพื่อที่จะใหเกิดอิทธิพลตอกิจกรรมการสื่อสารใหมากที่สุดเทาที่จะทําได เทคนิคพื้นฐานในการแบงประเภทของ เครื่องมือการสงเสริมการตลาดมีดวยกัน 4 วิธี (Blythe, 2000) ไดแก Advertising, Public Relations, Sale Promotion, Personal Selling The Basic of Promotional Tools แตกอนเครื่องมือการสื่อสารทางการตลาดมีประมาณ 12 – 20 เครื่องมือ เรียกรวมๆกันวาเปน Promotion Mix (Blythe, 2000; Burnett and Moriarity, 1998; Fill, 1999; Kitchen, 2003; Kotler, 2003; Pickton and Broderick, 2001; Smith et al. 1999) เพื่อใหเห็นภาพของกระบวนการสื่อสารที่มีความซับซอน เราจําเปนตองมีการเพิ่มจํานวนเครื่องมือที่มี ความสําคัญและมีคุณลักษณะที่แตกตางกันออกไป ทั้งการสื่อสารทางการตลาดแบบปจเจกบุคคลและแบบ มวลชน ในระดับของ Macro ขอบเขตของการทําตลาด หมายรวมถึง แนวความคิดที่เปนรากฐานมาจากสังคม, การเมือง ที่รูจักกันทั่วๆไป ก็คือ การทําโฆษณาผานทางโทรทัศนหรือวิทยุ ในภาพใหญตัวอยางเชน the Nazi era ที่ประเทศเยอรมัน ในป 1936 กระทรวงการสื่อสารมีแผนที่จะทําการประชาสัมพันธการแขงขันกีฬาที่คลายๆกับ งาน Olympic Games ซึ่งเปนงาน Event Marketing ขนาดใหญ ที่มีการใชเครื่องมือการสื่อสารทั้งหมด อัน ประกอบไปดวย ดนตรี,
  • 22. เครื่องมือของสวนประสมของการสื่อสารและระดับของการตัดสินใจ (ตอ) opera, ศิลปะ, สถาปตยกรรม, ชุด uniforms, badges, ธงประดับ, งานแสดงนิทรรศการ ภาพยนตร. สื่อ สิ่งพิมพ (literature), การศึกษา และ ขบวน parades เพื่อที่จะขายความคิดทางดานสังคม เศรษฐกิจและ การเมือง เราสามารถหาตัวอยางที่คลายคลึงกันในลักษณะนี้ได เชน ใน Soviet Union เดิม และประเทศ North Korea ในปจจุบัน และรวมถึงประเทศทางตะวันตกที่มีระบบการปกครองในระบอบประชาธิปไตย อยางไรก็ตาม ความตองการและโอกาส ที่จะเขาถึงผูบริโภค, ผูขาย, แขก, ผูรับบริการ, ผูเขาเยี่ยมชม, คนไข หรือ ผูลงคะแนน, ผูนํา ในแตละรายใหเพิ่มมากขึ้น เพื่อที่จะคนหาประสบการณใหมากขึ้น และเครื่องมือที่สําคัญที่เหมาะสมในแต ละสถานการณ An eye contract (ความสนใจในการติดตอสื่อสาร) ที่ไมควรเกิดขึ้น ก็คือ การตอบคําถามที่ไม สุภาพสามารถสรางความเสียหายตอชื่อเสียงในระยะยาว ใหแก โรงแรม, รานอาหาร, พนักงานขายบุคลของ ผลิตภัณฑเอปเปล, นักการเมือง ระเบียบวิธีวิจัยเปนสิ่งที่มีความสําคัญมาก และนําไปสูการพิจารณาเครื่องมือที่ นาสนใจ โดยเฉพาะแนวความคิดทางการตลาดแบบ one-to-one market เปนเครื่องมือที่สามารถวัดผลไดเปน อยางดี และการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ที่มีความซับซอนที่ไมสามารถวัดผลได และการตัดสินใจ ที่เกี่ยวของกับการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เปนประเด็นเชิงกลยุทธ ที่ประกอบไปดวย หลักการและ แนวทางมากกวาการสั่งการในระดับปฏิบัติการ (tactical level) ที่สวนใหญจะจัดการโดยบริษัทที่เปนตัวแทนทํา โฆษณา (Schroeder, 2002; Percy et al., 2002) และในระดับ Account Executives Management Level of communication Advertising Agencies and   Account Executives    
  • 23. เราสามารถตั้งสมมติฐานไดวา แนวคิดทางดานทฤษฎีและระเบียบวิธีการวิจัยตลอดจนขอบเขตของการ ดําเนินงานไดรับอิทธิพลมาจากแนวคิดทางดานวิชาการ และขนบธรรมเนียมประเพณี ในระดับของการบริหาร จัดการทางดานกลวิธีทางการตลาด (Tactical Level) การสื่อสารถูกบริหารจัดการโดย Account Executives, Art Directors และ Copy Directors ที่ซึ่งเปนบุคคลที่มีความสามารถและประสบการณทางดาน การบริหารจัดการเชิงกลยุทธที่คอนขางจํากัด จากการศึกษาในสาขาการสื่อสารทางการตลาดชั้นนํา 2 แหงใน ประเทศสวีเดน แสดงใหเห็นถึงแผนการศึกษาที่บรรจุเอาวิชาการ ทางดานภาวะผูนา และการบริหารจัดการเชิงกล ํ ยุทธ เขาไวในหลักสูตรการศึกษาที่มีปริมาณนอยกวา 10% สวนที่เหลือที่มากวา 90% มุงเนนไปที่ ทฤษฎีการ สื่อสาร, พฤติกรรมผูบริโภค, advertising, media, art copy และ project work (IHR – Institute for applied Communication and RMI – Berghs School of Communication) เมื่อไมนานมานี้ Swedish Institute of Management (Institute for foretagsledning, IFL) ซึ่ง เปนสถาบันการศึกษาชันนําในประเทศสวีเดน ไดทาการศึกษาแผนการเรียนการสอน ที่ไดทําการรวบรวมขอมูล ้ ํ การศึกษาในชวงเวลาอยางนอย 20 ป โดยเฉพาะอยางยิ่งการออกแบบโครงสรางการศึกษาในระดับการบริหาร จัดการเชิงกลยุทธ (Strategic level) ที่แสดงใหเห็นวา ไดมีการบรรจุวิชาการ ทางดานทฤษฎีการสื่อสาร และ ระเบียบวิธีวิจัย ไวในหลักสูตรฯประมาณ 3% ของเวลาทั้งหมด สวนที่เหลือเปนวิชาทีเกียวของกับ การวางแผน ่ ่ เชิงกลยุทธ, การประยุกตการบริหารจัดการ, การวิเคราะหทางการเงิน, การตลาด, การปกครอง และเศรษฐกิจ เปรียบเทียบแผนการศึกษาระหวางผูบริหารระดับ Tactical Level และ Strategic Level 
  • 24. บทสรุปที่สําคัญอยางหนึ่ง ที่ทําใหเราสามารถคาดเดาไดวา ผูที่มีหนาที่รับผิดชอบตอกลยุทธและกลวิธี ของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ยังคงไมสามารถบูรณาการ (แบงแยก) หลักการดานการศึกษา, วัฒนธรรม, แนวความคิด และประสบการณตรง ความรับผิดชอบตอกระบวนการตัดสินใจในการบริหารจัดการ เชิงกลยุทธ สิ่งที่สําคัญที่สุด ก็คือ ความสามารถในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ ที่ยังขาดความเขาใจ และการ พิจารณาถึงทฤษฎีการรับรูและวิธีการสื่อสารอยางลึกซึ้ง (อยางละเอียด) และทักษะความเชี่ยวชาญในการสื่อสารที่ ไมสอดคลองกับการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ, แนวคิดทางดานทฤษฎี และประสบการณตรง ถาเราจินตนาการถึง 2 สาขา (Strategic Level และ Tactic Level) จะทําใหเราสามารถสังเกตเห็นจุดเล็กๆที่ 2 สาขามาประสานกัน สรุปแผนการเรียนการสอนทางดานการสือสารทางการตลาด ่ ระหวางระดับ Tactical Level และ Strategic Level Subjects Consumer Behavior Strategic Planning Financial Analysis Level Total Communication t t Methodology Advertising Leadership Economics Marketing Strategic Applied Politics Media Copy Art Th M M Tactical 10% 90%               100% Strategic           3% 97% 100% ไดมีการทําการศึกษาบริษัทสัญชาติสวีเดนขนาดใหญจํานวน 4 บริษัท แสดงใหเห็นถึง การขาดการรับรู ในอดีตที่ผานมา, การคิดเชิงกลยุทธ, ความเขาใจทางการตลาด และการรับรูทางดานทฤษฎี (Holm, 2003, 2004) ความไมสนใจของผูประกอบการ, ประวัติศาสตร, วัฒนธรรม, เทคโนโลยี และพื้นฐานทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ มันยังขึ้นอยูกับปรัชญาการบริหารจัดการที่มีรากฐานมากจากแนวความคิดในอดีต หรือการพิจารณา ถึงสภาพแวดลอมภายใน ที่มีความเกี่ยวของกับสถานการณการแขงขันที่แทจริงของบริษัท การศึกษานี้ยังหมาย รวมถึงตัวอยางความ
  • 25. รวมมือกันของผูบริโภคในสังคมตะวันตก ,บริษัทเอกชนที่มีกระบวนการผลิตแบบดั่งเดิม ตัวอยางของการเติบโตใน ภาคอุตสาหกรรมของประเทศทางตะวันตก, บริษัทที่บริหารงานโดยภาครัฐที่ดําเนินธุรกิจในตลาดแบบระบบเปด และ(เปน)หนึ่งในบริษัทที่เปนผูนําทางดานธุรกิจโทรคมนาคม บริษัทในภาคอุตสาหกรรมตางๆ บริษัทเหลานี้ถูก นํามาใชในการวิเคราะหในทฤษฎี, โดยอาศัย model การสังเคราะหทางธุรกิจ (BPD) (Holm, 2003, 2004) การศึกษากรณีศึกษาทั้ง 4 บริษัท แสดงใหเห็นถึงผลที่ตามมา ดังนี้ตอไปนี้  - ธุรกิจควรจะทําความเขาใจถึงความหมายและผลกะทบของการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดที่ทําให ธุรกิจประสบความลมเหลว - การขาดการศึกษาถึงการรับรูถึงเรื่องราวในอดีตที่ผานมา (ประวัติศาสตร) ทางการตลาด และการ รั บ รู ท างทฤษฎี ที่ นํ า ไปสู ก ารตั ด สิ น ที่ ผิ ด พลาดของผู นํ า เมื่ อ สภาพแวดล อ มทางการตลาด เปลี่ยนแปลงไป ผูนําการเปลี่ยนแปลงที่ชาญฉลาดและผูประกอบการที่เปนเจาของธุรกิจการผลิตมัก มุงเนนไปที่ปญหาทางดานเทคโนโลยี และการคงไวซึ่งสูตรของความสําเร็จ (สูตรสําเร็จ) พอเมื่อ เผชิญกับอุปสรรคที่กอตัวขึ้นเรื่อยๆในชวงตนป ค.ศ.1970 รัฐบาลที่เปนผูถือหุนใหญในบริษัท ทางดานธุรกิจโทรคมนาคม ใชความพยายามในการดําเนินนโยบายเพื่อที่จะขจัดกลไกลการทํางาน ของระบบตลาด โดยการใชความพยายามในการบังคับใหบริษัทปฏิบัติตามแนวความคิดแบบสังคม นิยม การบริหารจัดการในภาคเอกชนและบริษัทผูนําทางดานธุรกิจโทรคมนาคมไดประมาณการณ การเติบโตของตลาดในเรื่องความเขาใจในการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบการบริโภคที่ผิดพลาด การที่ ไมไดทําการสังเกตผลของการเปลี่ยนแปลงของคูแขงขันที่ตามมาและการไมเขาใจถึง user- friendliness และความไดเปรียบของการแขงขันที่สําคัญที่มาจากการออกแบบผลิตภัณฑ เกี่ยวกับทฤษฎีการสื่อสาร ตองมีความเขาใจในความหมายของการสื่อสารของคนอื่น กลาวอีกนัยหนึ่งคือ การแลกเปลี่ยนความ คิดเห็น (บทสนทนา – dialogue) จะไมเกิดขึ้น เพียงผานความคิดและความเขาใจในกระบวนการสื่อสารเทานั้น ผูที่ตองการที่จะบรรลุเปาหมาย เพื่อทําใหมีอิทธิพลตอทัศนคติ, ความรู และ/หรือ พฤติกรรม ของคนอื่น ในการที่ จะแนวโนมจิตใจ เปนเหตุผลหนึ่งที่มีความสําคัญอยางมาก วาทําไมองคกรจึงตองการที่จะทําการสื่อสาร (Fill, 1999) การที่ทุกคนตางใหความสนใจในแนวคิดและสาขาทางดานการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) เพิ่ม มากขึ้นอยางแพรหลายไปทั่วทุกมุมโลก จึงเปนสวนสําคัญที่ที่นําไปสูการศึกษาทางดานหลักการทางทฤษฎี
  • 26. Shannon and Weaver (1949) ไดตั้งขอสังเกตวา ในปจจุบันนี้ไดมีการพิสูจนถึงการวิจัยทางทฤษฎี ทางดานการสื่อสารที่สําคัญ ทั้ง 2 ทาน (Shannon and Weaver) ไดกลาววาปญหาหลักที่สําคัญของการ สื่อสาร คือ การจําลองจุดๆหนึ่งที่แนนอนหรือคราวๆ จากจุดอื่นๆ ของการเลือกขาวสารไปยังจุดอีกจุดหนึ่ง (Shannon and Weaver, 1949, p.3) โดยระบบการสื่อสาร Shannon and Weaver หมายถึง ระบบที่ ประกอบไปดวยสวนที่สําคัญดวยกัน 5 สวนไดแก 1. แหลงของขอมูล ที่สิ่งสรางขาวสาร (message) หรือ ขาวสารที่ตามมา เพื่อสื่อสารไป ยังผูรบสารปลายทาง โดยขาวสาร (message) มีไดหลายรูปแบบ ั 2. การเผยแพร (transmitter: เครื่องสงสัญญาณ) ที่ทําหนาที่ในการจัดการขาวสาร (message) เพื่อสรางสัญญาณที่เหมาะสมกับชองทางการเผยแพร 3. ชองทางเปนเพียงสื่อกลางในการที่จะเผยแพรสัญญาณจากเครื่องสงสัญญาณไปยัง ผูรบขาวสาร ั 4. ผูรบขาวสาร เปนผูที่รับขาวสาร (message) จากสัญญาณ (signal) ั 5. จุดหมายปลายทาง คือ บุคคลที่ขาวสารตั้งใจสงไปถึง Shannon and Weaver ไดแบงประเภทของระบบการสื่อสารออกเปน 3 ประเภทหลักๆ ไดแก • ความเปนอิสระ (Discrete) • ความตอเนื่อง (Continuous) • การประสมประสาน (Mixed)
  • 27. Three Main Categories of Communication Systems ความเปนอิสระ (Discrete) เปนทั้งขาวสารและสัญญาณ ที่เปนผลมากจากสัญลักษณที่เปนอิสระ (discrete – แยกตางหาก) ยกตัวอยางเชน ระบบโทรเลข ระบบตอเนื่อง (Continuous) เปนขาวสารและสัญญาณ ที่ทั้งสองอยางสามารถทํางานไดอยางตอเนื่อง อาทิเชน ระบบวิทยุ หรือ ระบบ โทรทัศน ระบบประสมประสาน (Mixed) เปนระบบที่ประกอบไปดวยความเปนอิสระและมีความตอเนื่อง เชน การเปลงเสียงคําพูด เพื่อใหเขาใจถึงปญหาโดยทั่วไปที่เกี่ยวของกับระบบการสื่อสาร Shannon and Weaver ไดพบวา ระบบประกอบไปดวยสวนประกอบตางๆที่มีความเกี่ยวของกับคณิตศาสตร Shannon and Weaver ไดเขียนเนื้อหาที่สําคัญ ดังนี้ ความถี่ของขาวสาร หมายความถึง ความถี่ที่ขาวสารไดถูกพูดถึง (อางถึง) หรือ มีความสัมพันธกับบาง ระบบในลักษณะทางดานกายภาพ หรือ เกี่ยวของกับแนวคิด ในความหมายทางดานการสื่อสารนี้ ไมไดเกี่ยวของ กับปญหาทางดานวิศวกรรมศาสตร (p.3)
  • 28. Warren (1949) ไดระบุ ถึงปญหาของการสื่อสารอยางกวางๆ ออกเปน 3 ระดับ Level A: ปญหาทางดานเทคนิค สัญลักษณที่ใชในของการสื่อสารจะถูกเผยแพรใหอยางถูกตองไดอยางไร Level B: ปญหาที่เกี่ยวของกับการสื่อความหมาย สัญลักษณที่สื่อสารออกไปจะสามารถถายทอดความหมายที่ตองการไดอยางถูกตองเที่ยงตรงไดอยางไร Level C: ปญหาทางดานความมีประสิทธิภาพ ความหมายที่ไดรับจะมีประสิทธิภาพเปนไปในทิศทางที่ตองการไดอยางไร
  • 29. รูปที่ 1 Message  Signal Received  Message  Signal         Information  Transmitter  Receiver  Destination  Source    Noise  Source  แสดงใหเห็นระบบของการสื่อสาร ที่แหลงของขอมูลขาวสาร (information) ไดเลือกสงขาวสาร (message) ที่ตองการออกจากชุดขาวสาร (messages) ที่เปนไปได ขาวสาร (message) ที่ถูกเลือกประกอบไป ดวย คําที่ถูกเขียน (written) หรือคําพูด (spoken word) หรือรูปภาพ (picture), เสียงเพลง (music) เปนตน ขาวสาร (message) จะถูกแปลงไปเปนสัญญาณ (signal) โดยการใชเครื่องสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกส จากนั้นจะ สงสัญญาณผานชองทาง (Channel) ไปยังผูรับสาร (receiver) ประเภทของคําถามที่ Shannon ใชในการคนหาวาระบบการสื่อสาร คือ 1. จะวัดจํานวนของขาวสารขอมูล (Information) ไดอยางไร? 2. จะวัดความสามารถของชองทางการสื่อสารไดอยางไร? 3. การทํางานของเครื่องสงสัญญาณอิเล็กทรอนิกสในการแปลงขาวสาร (message) ไป เปนสัญญาณ (signal) ที่มักจะเกี่ยวของกับกระบวนการใสรหัส (coding) เมื่อกระบวนการใส รหัสมีประสิทธิภาพแลว ชองทางจะสามารถถายทอดขอมูลขาวสาร (Information) ไดใน อัตราเร็วเทาใด? 4. อะไรคือลักษณะทั่วไปของสิ่งรบกวน (Noise) และจะลดผลกระทบของสงรบกวนที่ไมตองการให นอยที่สุดเทาที่จะทําได หรือกําจัดใหหมดไปไดอยางไร? 5. ถาสัญญาณ (Signal) กําลังถูกถายทอด (Transmitted) (เชน ภาษาเขียน, โทรเลข) จะเกิดผล กระทบที่เปนปญหาอยางไร?
  • 30. Shannon แสดงความเห็นวา ขอความในขาวสารขอมูลในทางทฤษฎี ไมควรที่จะมีความหมายซับซอน Shannon กลาววา ครึ่งหนึ่งของขาวสาร จะมีความหมายและสวนที่เหลือไมมีความหมาย ขาวสาร (message) ทั้ง 2 ขาวสาร เปนขาวสารที่มีความหมายเหมือนกันในมุมมองปจจุบัน ถือวาเปนขาวสารขอมูล (Information) ที่ นาสนใจ (นาจับตามอง) Shannon หมายความวา เมื่อไหรก็ตามที่คนพูดวา “ลักษณะในการสื่อความหมายของ การสื่อสารไมมีความเกี่ยวของกับลักษณะทางดานวิศวกรรมศาสตร” อยางไรก็ตาม Shannon ยังเสริมวา “มัน ไมไดหมายความวา ลักษณะทางดานวิศวกรรมศาสตรไมมีความสัมพันธกับลักษณะในการสื่อความหมายของการ สื่อสารแตอยางใด” (p.99) Shannon และ Weaver ไดทําการพัฒนา วาอะไรเปนแบบจําลองมาตรฐาน (basic model) ของการ สื่อสารที่เปนที่ยอมรับ วาอะไรเปนแบบจําลอง (model) ที่มีความตอเนื่อง หรือ แบบจําลองเชิงเสน linear model ที่เกิดขึ้นในชวงหลาย 10 ปที่ผานมา และดูเหมือนวาจะมีรูปราง (shapes) ที่คอนขางแตกตางกันออกไป ในแตละบทความที่ถูกตีพิมพในสาขาทางดานการสื่อสารการตลาด อยางไรก็ตาม แบบจําลอง (model) ที่ แบบจําลองที่สําคัญแบบจําลองหนึ่งของการสื่อสาร คือ แบบจําลอง one-step model และเปนแบบจําลอง อยางงาย เพราะวาการสื่อสารที่เกิดขึ้นไมจําเปนตองเปนแบบ single step แบบจําลองเชิงเสน (linear model) ของการสื่อสารใหความสําคัญกับการถายทอด (transmission – การสง) สัญญาณ, แนวความคิด และขาวสาร ขอมูล ผานสัญลักษณตางๆ ดังนั้นเราพบวาแบบจําลองเชิงเสน (linear model) ใหความสนใจไปที่ ประสิทธิภาพ และ ประสิทธิผล ของการถายทอด (transmission – การสง) ตลอดจนการใหความสําคัญกับ ความสามารถในการวัดผลของการสื่อสาร Holm (2002) พบวา 70 – 80% ของบทความในสาขาการสื่อสาร การตลาดที่ถูกตีพิมพในชวงระหวางป ค.ศ. 1990S นั้น จะอยูบนพื้นฐานของแบบจําลองเชิงเสน (linear model) ที่มุงเนนไปที่กระบวนการพื้นฐานทางดานทัศนคติในแงของทฤษฎีการสื่อสาร (process – oriented perspective on communication theory) พวกเราสันนิษฐานวา การสื่อสาร เปนการกระทําที่ทําอยางตั้งใจ และเปนความพยายามที่ผานการ ไตรตรองอยางรอบคอบเพื่อใหเกิดการตอบสนอง พวกเรายังสันนิษฐานวา การสื่อสาร เปนกระบวนการที่ เกี่ยวของกับการดําเนินการระหวาง 2 ฝาย หรือมากกวานั้น ดวยจุดประสงค เพื่อใหเกิดการแลกเปลี่ยนที่ผาน การกระทํ า ที่ ทํ า อย า งตั้ ง ใจโดยผ า นการใช สั ญ ลั ก ษณ ต า งๆ ในความหมายนี้ ผู ที่ มี ส ว นเกี่ ย วข อ งทั้ ง หมดใน กระบวนการจะตองมีความ
  • 31. คิ ด เห็ น ร ว มกั น ว า สั ญ ลั ก ษณ แ ละเครื่ อ งหมายอะไรที่ มี ค วามเกี่ ย วข อ งกั บ ความหมายที่ แ ท จ ริ ง ในลั ก ษณะนี้ หมายถึ ง ประสบการณ ต า งๆของผู ส ง สารและผู รั บ สาร , ความเข า ใจ, สิ่ ง ที่ ทํ า มาก อ นเพื่ อ แปลความหมาย เพื่อที่จะขยายขอบเขตที่มันคาบเกี่ยวกันไดอยางถูกตอง ดวยเหตุนี้เองจึงตองการวิธีการทางทฤษฎีบางสวนที่ แตกตางกันออกไปในการพัฒนาการสื่อสารการตลาด, วิธีเชิงคุณภาพ (qualitative approach) ที่ใหความ สนใจกับผูอาน, ผูฟง และผูดู เนื่องจากไมเพียงเปนจุดประสงคทางดานสังคมวิทยาเทานั้น (Blythe, 2000) ความหมาย, สัญญาณ, สัญลักษณ, การศึกษาโครงสรางของประโยค และวัฒนธรรมไดกลายเปนสวนประกอบที่มี ความจําเปนตอการพัฒนาการสื่อสาร แบบจําลองเชิงเสน (linear, process-oriented model) และ สวนประกอบของแบบจําลองเชิงสันที่มีลักษณะตรงไปตรงมา เขาใจไดงาย แตแบบจําลองเชิงเสน เปนวิธีเชิง คุณภาพในการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางสวนประกอบตางๆที่มีในกระบวนการที่มีความหลากหลายที่มี อิทธิพลตอการสื่อสารที่ทําใหการสื่อสารประสบความสําเร็จ (Fill, 2002) อยางไรก็ตามแนวคิดนี้ไดให ความสําคัญอยางมากตอการสื่อสาร 20-30% ของบทความในสาขาการสื่อสารการตลาดที่ถูกตีพิมพทั่วๆไป บทสรุป จุดหมายที่สําคัญที่สุดของการสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) คือ เพื่อใหมีผลกระทบตอแนวคิด ในเรื่องของคุณคาและพฤติกรรมที่ผานการสื่อสารโดยตรง การพัฒนาและความซับซอนของการสื่อสารการตลาด แบบครบวงจร (IMC) มีความเกี่ยวของอยางมากกับความกาวหนาทางดานเทคโนโลยีที่เกิดขึ้นอยางเร็วรวด และ การเกิดขึ้นของโลกาภิวัฒน (Globalization) ที่กระจายไปทั่วโลกอยางเร็วรวด และการเปลี่ยนปลงรูปแบบของ การบริโภคที่มีลักษณะที่เปนแบบปจเจกบุคคล (รายบุคคล) การบริโภคที่ใหความสําคัญกับความตองการที่ สามารถปรับเปลี่ยนวัตถุประสงคและกลยุทธ เพื่อใหสอดคลองกับการเปลี่ยนแปลงทางการตลาดที่เกิดขึ้นจริง จากจุดที่สําคัญนี้เอง, การสื่อสารตองมีการเปลี่ยนแปลงจากกลวิธีไปสูกลยุทธ ในโลกของการเปลี่ยนแปลงที่ เกิดขึ้นอยางรวดเร็วและมีการแขงขันอยางรุนแรงในศตวรรษที่ 20 นี้ การสื่อสารการตลาดแบบครบวงจร (IMC) ที่อยูบนพื้นฐานเชิงกลยุทธจะสามารถชวยใหธุรกิจเดินไปขางหนาได (กาวหนา) อยางไรก็ตาม Kitchen และ Scultz (2000) ไดพบวาธุรกิจสวนใหญยังคงประสมประสานสวนประกอบตางๆ ของการสงเสริมการตลาดโดย การให ก ลวิ ธี และมี ธุ รกิ จ จํ า นวนน อ ยมากในปจ จุ บั น ที่ สามารถบู ร ณาการการดํ า เนิ น การทางการเงิน เข า กั บ การบรูณาการเชิงกลยุทธ