SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ปัญหาการBullyบ่อเกิดแห่งความตาย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.ปัญญาภรณ์ ปัญญาเหล็ก เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
สมาชิกในกลุ่ม 1 คน
1. น.ส.ปัญญาภรณ์ ปัญญาเหล็ก เลขที่ 25
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปัญหาการBullyบ่อเกิดแห่งความตาย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Bullying,suidide causes.
ประเภทโครงงาน ด้านสังคม
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ปัญญาภรณ์ ปัญญาเหล็ก
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันมีการกลั่นแกล้งกันภายในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นและเกิดขึ้นได้ง่ายขึ้น ทั้งในประเทศและ
ต่างประเทศ การกลั่นแกล้งนี้นาพามาซึ่งความเครียด การเป็นโรคซึมเศร้า และอาจทาให้เกิดการฆ่าตัวตายตามมา อีก
ทั้งในปัจจุบันที่สื่อทางอินเทอร์เน็ตที่รวดเร็วและง่ายดายในการแชร์หรือโพสต์เรื่องราวต่างๆ ทาให้เกิดการกลั่นแกล้ง
หรือการกระทารุนแรงที่ส่งผลต่อจิตใจได้ง่ายขึ้นทั้งการใช้ถ้อยคารุนงแรงหยาบคายด่าทอ การคุกคาม การแอบอ้างตัว
บุคคล และการกระทาอื่นๆที่ก่อให้เกิดความเครียดและความกดดัน จึงทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อนการสืบหาปัญหาและ
แก้ปัญหาอย่างถูกต้องและตรงจุดเพื่อลดปัญหาและยับยั้งการกลั่นแกล้งภายในโรงเรียนและทางสังคมออนไลน์ให้
น้อยลง นอกจากนี้ยังเป็นการเสนอแนวทางให้ทั้งทางโรงเรียนและผู้ปกครองได้มีวิธีรับมืออย่างถูกต้อง
วัตถุประสงค์
1.เพื่อให้ตระหนักถึงความรุนแรงในการกลั่นแกล้งกัน
2.เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับรู้ความผิดปกติของนักเรียนและหาวิธีการยับยั้ง
3.เพื่อยับยั้งการกลั่นแกล้งกันภายในโรงเรียน
ขอบเขตโครงงาน
เด็กนักเรียนตั้งแต่ประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา ที่มีความเสี่ยงต่อการโดนกลั่นแกล้งหรือเป็นบุคคลผู้ทา
การกลั่นแกล้งเอง คณะครูอาจารย์และผู้ปกครอง
3
หลักการและทฤษฎี
ทำไมเด็กๆ ถึง Bully
พฤติกรรมการแกล้งกันของเด็กเชื่อว่าเกิดจาก เด็กไทยไม่มี self หรือการมองเห็นศักยภาพตัวเอง เพราะ self
ของเด็กมันถูกผูกกับการศึกษาและความเก่งในห้องเรียน ที่พูดได้แบบนี้เพราะไปทางานวิจัยเรื่อง cyberbullying ที่
ญี่ปุ่น ดูการเปรียบเทียบการกลั่นแกล้งกันระหว่างสองประเทศ พบว่าสังคมญี่ปุ่นเขาจะแนะนาเด็กทุกคนในห้องได้
อย่างเท่าเทียมและน่ารัก คนนี้ล้างจานได้สะอาด คนนี้พับนกกระดาษได้เก่ง มีไม่กี่คนเท่านั้นที่จะถูกแนะนาว่าเรียน
เก่ง นอกนั้นจะเป็นเรื่องทั่วไปในบ้าน
การทาเช่นนี้ทาให้ทุกคนมีที่ยืน ถูกผลักออกมาข้างหน้าโดยเสมอกัน ทาให้เกิดการมองเห็นและเคารพกัน ว่า
ทุกคนมีดี มีความแตกต่างหลากหลาย เมื่อมันหลากหลายมันจึงไม่มีใครเหนือกว่าใคร หรือมีใครต่างจากใคร ไม่มีใคร
เป็นไอ้โง่ ไม่มีใครควรจะถูกแกล้ง เวลาที่เด็กจะแกล้งใคร เพราะเขารู้สึกว่ามันไม่เท่า มันไม่เหมือน มันต่าง จึงแกล้ง
เพื่อความสะใจบางอย่าง
เพรำะอะไรเด็กไทยถึงขำด self
เพราะพ่อแม่ ครู หรือทุกๆ อย่างที่พยายามบอกว่า เด็กดีจะต้องเป็นเด็กเรียนเก่ง จริงๆ คาว่า ‘ดี’ มันมีตั้ง
หลายอย่าง มันไม่จาเป็นต้องเรียนก็ได้ ดีในเรื่องอื่นๆ ก็ได้ แต่เราได้ฝังความเชื่อเรื่องนี้มานาน ‘ดีกับเก่ง’ จะต้องอยู่ใน
คนเดียวกัน พอไม่เรียนก็จัดเป็นเด็กไม่ดี
แบบไหนถึงเรียกว่ำ Bully
การกลั่นแกล้งมีทั้งหมด 3 ระดับ
 หนึ่ง คนแกล้งจะต้องมีเจตนา ไม่ล้อเล่น
 สอง คนที่ถูกแกล้งจะต้องรู้สึกเจ็บปวด ไม่ว่าจะเป็น ทางกาย วาจา ใจ
 สาม เกิดการกระทาต่อเนื่องเพราะเจตนาของคนแกล้งยังคงอยู่
เมื่อเด็กทาครั้งแรกแต่รู้ว่าเพื่อนไม่ชอบ ควรจะหยุด ไม่ควรเกิดครั้งที่สองและครั้งที่สาม ถ้ายังเกิดขึ้นอีกแสดงว่ามี
เจตนาแอบแฝง ดังนั้นพฤติกรรมการ bully หรือการรังแกคนอื่น จะต้องเป็นไปตามสามข้อนี้
กำรกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ (Cyberbullying)
สาเหตุของการเกิด cyberbullying เกือบทั้งหมด มักเริ่มก่อตัวจากความขัดแย้ง ความเห็นต่าง หรือมีกรณี
พิพาทระหว่าง 2 คน ลุกลามจนเป็นชนวนของการกลั่นแกล้งกันในโลกออนไลน์ นอกจากนี้ผู้คนยังเข้าใจว่าโซเชียล
มีเดียคือพื้นที่ส่วนตัว สามารถใช้ระบายความรู้สึกได้ ถ้อยคาที่ใช้โพสต์จึงออกแนวรุนแรง โพสต์เสียดสี หรือสร้างความ
เสียหายให้อีกฝ่ายและแสดงอารมณ์แง่ลบออกมาได้อย่างเต็มที่โดยไม่ต้องเกรงใจ
Cyber bullying แบ่งเป็น 7 ประเภท คือ
 การส่งข้อความนินทาผู้อื่น ให้เขาเสียหาย
 การไล่บางคนออกจากกลุ่มออนไลน์ เช่น กลุ่มไลน์หรือเฟซบุ๊กกรุ๊ป
 การแอบเข้าไปในใช้เฟซบุ๊กของคนอื่นและโพสต์ข้อความให้เจ้าของบัญชีเฟซบุ๊กเสียหาย และทาให้คนรอบตัว
เข้าใจผิด
 การว่ากล่าว ด่าทอ ด้วยถ้อยคาหยาบคาย ตอกย้าปมด้อยทาให้เสียความมั่นใจ
 ส่งข้อความ รูป วิดีโอ หรืออะไรก็ตามที่ทาให้คนอื่นอับอายบนอินเทอร์เน็ต รวมถึงข่มขู่
 หยอกล้อ ยั่วโมโหจนอีกฝ่ายเผยความลับที่น่าอายของตัวเองบนโลกออนไลน์
 เห็นการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์แล้วเข้าไปร่วมด้วย
4
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็ก
2.มองหาที่ปัญหาที่เกิดขึ้นและหาวิธีแก้ปัญหาอย่างตรงจุด
3.ลงมือการแก้ปัญหา
4.นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.โทรศัพท์มือถือ
2.คอมพิวเตอร์
3.หนังสือ
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน 
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล  
3 จัดทาโครงร่างงาน  
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน   
5 ปรับปรุงทดสอบ  
6 การทาเอกสารรายงาน 
7 ประเมินผลงาน 
8 นาเสนอโครงงาน 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
การลดลงของการกลั่นแกล้งกันทั้งในโรงเรียนและทางสังคมออนไลน์ การได้รับและให้ความรักความ
เข้าใจซึ่งกันและกันทั้งในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว
5
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสารระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
แหล่งอ้างอิง
กนกอร แซ่เบ๊/รชนิกร ศรีฟ้าวัฒนา (2018) เราไม่ควรอดทนกับการBULLYอีกต่อไป ผศ.ดร.วิมลทิพย์ มุสิก
พันธ์ สืบค้นเมื่อวันที่29 กันยายน 2019 จากเว็บไซต์
https://thepotential.org/2018/10/12/bully-in-school/
มูลนิธิยุวพัฒน์ (2019) การกลั่นแกล้ง (Bullying) ความรุนแรงในสังคม สืบค้นเมื่อวันที่29 กันยายน
2019 จากเว็บไซต์
https://www.yuvabadhanafoundation.org/th/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%
A7%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%
A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9%
84%E0%B8%9B/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%
B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8%
87-bullying-
%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99/

More Related Content

What's hot

2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39aomsin004
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project jamekid
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Akira Adulyanubhap
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22ssuser8b25961
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48RESET2
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีPrapapakThasee
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphornssuser08841b
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupaSaiparnChitsanupa
 

What's hot (20)

Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5
55
5
 
2561 project 39
2561 project  392561 project  39
2561 project 39
 
Faicom
FaicomFaicom
Faicom
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2562 final-project 48
2562 final-project 482562 final-project 48
2562 final-project 48
 
Work1 polram 32
Work1 polram 32Work1 polram 32
Work1 polram 32
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
 
Rice soup 604
Rice soup 604Rice soup 604
Rice soup 604
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
Work1 phattraphorn
Work1 phattraphornWork1 phattraphorn
Work1 phattraphorn
 
2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa2562 final-project 46-609_chitsanupa
2562 final-project 46-609_chitsanupa
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 

Similar to 2562 final-project

Similar to 2562 final-project (20)

2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
 
Final
Final Final
Final
 
2562 final-project ppp
2562 final-project ppp2562 final-project ppp
2562 final-project ppp
 
2562 final-project 25
2562 final-project 252562 final-project 25
2562 final-project 25
 
2562 final-project no25
2562 final-project no252562 final-project no25
2562 final-project no25
 
2562 final-project 25 (1)
2562 final-project 25 (1)2562 final-project 25 (1)
2562 final-project 25 (1)
 
2562 final-project tiranut21
2562 final-project tiranut212562 final-project tiranut21
2562 final-project tiranut21
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
Com
ComCom
Com
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-pai
2562 final-pai2562 final-pai
2562 final-pai
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
2562 final-project 19
2562 final-project 192562 final-project 19
2562 final-project 19
 
2562 final-project 26
2562 final-project 262562 final-project 26
2562 final-project 26
 

2562 final-project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ปัญหาการBullyบ่อเกิดแห่งความตาย ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.ปัญญาภรณ์ ปัญญาเหล็ก เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 สมาชิกในกลุ่ม 1 คน 1. น.ส.ปัญญาภรณ์ ปัญญาเหล็ก เลขที่ 25 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปัญหาการBullyบ่อเกิดแห่งความตาย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Bullying,suidide causes. ประเภทโครงงาน ด้านสังคม ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ปัญญาภรณ์ ปัญญาเหล็ก ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่1-2 ปีการศึกษา2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันมีการกลั่นแกล้งกันภายในโรงเรียนเพิ่มมากขึ้นและเกิดขึ้นได้ง่ายขึ้น ทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ การกลั่นแกล้งนี้นาพามาซึ่งความเครียด การเป็นโรคซึมเศร้า และอาจทาให้เกิดการฆ่าตัวตายตามมา อีก ทั้งในปัจจุบันที่สื่อทางอินเทอร์เน็ตที่รวดเร็วและง่ายดายในการแชร์หรือโพสต์เรื่องราวต่างๆ ทาให้เกิดการกลั่นแกล้ง หรือการกระทารุนแรงที่ส่งผลต่อจิตใจได้ง่ายขึ้นทั้งการใช้ถ้อยคารุนงแรงหยาบคายด่าทอ การคุกคาม การแอบอ้างตัว บุคคล และการกระทาอื่นๆที่ก่อให้เกิดความเครียดและความกดดัน จึงทาโครงงานนี้ขึ้นมาเพื่อนการสืบหาปัญหาและ แก้ปัญหาอย่างถูกต้องและตรงจุดเพื่อลดปัญหาและยับยั้งการกลั่นแกล้งภายในโรงเรียนและทางสังคมออนไลน์ให้ น้อยลง นอกจากนี้ยังเป็นการเสนอแนวทางให้ทั้งทางโรงเรียนและผู้ปกครองได้มีวิธีรับมืออย่างถูกต้อง วัตถุประสงค์ 1.เพื่อให้ตระหนักถึงความรุนแรงในการกลั่นแกล้งกัน 2.เพื่อให้ผู้ปกครองและครูได้รับรู้ความผิดปกติของนักเรียนและหาวิธีการยับยั้ง 3.เพื่อยับยั้งการกลั่นแกล้งกันภายในโรงเรียน ขอบเขตโครงงาน เด็กนักเรียนตั้งแต่ประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา ที่มีความเสี่ยงต่อการโดนกลั่นแกล้งหรือเป็นบุคคลผู้ทา การกลั่นแกล้งเอง คณะครูอาจารย์และผู้ปกครอง
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี ทำไมเด็กๆ ถึง Bully พฤติกรรมการแกล้งกันของเด็กเชื่อว่าเกิดจาก เด็กไทยไม่มี self หรือการมองเห็นศักยภาพตัวเอง เพราะ self ของเด็กมันถูกผูกกับการศึกษาและความเก่งในห้องเรียน ที่พูดได้แบบนี้เพราะไปทางานวิจัยเรื่อง cyberbullying ที่ ญี่ปุ่น ดูการเปรียบเทียบการกลั่นแกล้งกันระหว่างสองประเทศ พบว่าสังคมญี่ปุ่นเขาจะแนะนาเด็กทุกคนในห้องได้ อย่างเท่าเทียมและน่ารัก คนนี้ล้างจานได้สะอาด คนนี้พับนกกระดาษได้เก่ง มีไม่กี่คนเท่านั้นที่จะถูกแนะนาว่าเรียน เก่ง นอกนั้นจะเป็นเรื่องทั่วไปในบ้าน การทาเช่นนี้ทาให้ทุกคนมีที่ยืน ถูกผลักออกมาข้างหน้าโดยเสมอกัน ทาให้เกิดการมองเห็นและเคารพกัน ว่า ทุกคนมีดี มีความแตกต่างหลากหลาย เมื่อมันหลากหลายมันจึงไม่มีใครเหนือกว่าใคร หรือมีใครต่างจากใคร ไม่มีใคร เป็นไอ้โง่ ไม่มีใครควรจะถูกแกล้ง เวลาที่เด็กจะแกล้งใคร เพราะเขารู้สึกว่ามันไม่เท่า มันไม่เหมือน มันต่าง จึงแกล้ง เพื่อความสะใจบางอย่าง เพรำะอะไรเด็กไทยถึงขำด self เพราะพ่อแม่ ครู หรือทุกๆ อย่างที่พยายามบอกว่า เด็กดีจะต้องเป็นเด็กเรียนเก่ง จริงๆ คาว่า ‘ดี’ มันมีตั้ง หลายอย่าง มันไม่จาเป็นต้องเรียนก็ได้ ดีในเรื่องอื่นๆ ก็ได้ แต่เราได้ฝังความเชื่อเรื่องนี้มานาน ‘ดีกับเก่ง’ จะต้องอยู่ใน คนเดียวกัน พอไม่เรียนก็จัดเป็นเด็กไม่ดี แบบไหนถึงเรียกว่ำ Bully การกลั่นแกล้งมีทั้งหมด 3 ระดับ  หนึ่ง คนแกล้งจะต้องมีเจตนา ไม่ล้อเล่น  สอง คนที่ถูกแกล้งจะต้องรู้สึกเจ็บปวด ไม่ว่าจะเป็น ทางกาย วาจา ใจ  สาม เกิดการกระทาต่อเนื่องเพราะเจตนาของคนแกล้งยังคงอยู่ เมื่อเด็กทาครั้งแรกแต่รู้ว่าเพื่อนไม่ชอบ ควรจะหยุด ไม่ควรเกิดครั้งที่สองและครั้งที่สาม ถ้ายังเกิดขึ้นอีกแสดงว่ามี เจตนาแอบแฝง ดังนั้นพฤติกรรมการ bully หรือการรังแกคนอื่น จะต้องเป็นไปตามสามข้อนี้ กำรกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ (Cyberbullying) สาเหตุของการเกิด cyberbullying เกือบทั้งหมด มักเริ่มก่อตัวจากความขัดแย้ง ความเห็นต่าง หรือมีกรณี พิพาทระหว่าง 2 คน ลุกลามจนเป็นชนวนของการกลั่นแกล้งกันในโลกออนไลน์ นอกจากนี้ผู้คนยังเข้าใจว่าโซเชียล มีเดียคือพื้นที่ส่วนตัว สามารถใช้ระบายความรู้สึกได้ ถ้อยคาที่ใช้โพสต์จึงออกแนวรุนแรง โพสต์เสียดสี หรือสร้างความ เสียหายให้อีกฝ่ายและแสดงอารมณ์แง่ลบออกมาได้อย่างเต็มที่โดยไม่ต้องเกรงใจ Cyber bullying แบ่งเป็น 7 ประเภท คือ  การส่งข้อความนินทาผู้อื่น ให้เขาเสียหาย  การไล่บางคนออกจากกลุ่มออนไลน์ เช่น กลุ่มไลน์หรือเฟซบุ๊กกรุ๊ป  การแอบเข้าไปในใช้เฟซบุ๊กของคนอื่นและโพสต์ข้อความให้เจ้าของบัญชีเฟซบุ๊กเสียหาย และทาให้คนรอบตัว เข้าใจผิด  การว่ากล่าว ด่าทอ ด้วยถ้อยคาหยาบคาย ตอกย้าปมด้อยทาให้เสียความมั่นใจ  ส่งข้อความ รูป วิดีโอ หรืออะไรก็ตามที่ทาให้คนอื่นอับอายบนอินเทอร์เน็ต รวมถึงข่มขู่  หยอกล้อ ยั่วโมโหจนอีกฝ่ายเผยความลับที่น่าอายของตัวเองบนโลกออนไลน์  เห็นการกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์แล้วเข้าไปร่วมด้วย
  • 4. 4 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.ศึกษาและรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมของเด็ก 2.มองหาที่ปัญหาที่เกิดขึ้นและหาวิธีแก้ปัญหาอย่างตรงจุด 3.ลงมือการแก้ปัญหา 4.นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.โทรศัพท์มือถือ 2.คอมพิวเตอร์ 3.หนังสือ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน  2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล   3 จัดทาโครงร่างงาน   4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน    5 ปรับปรุงทดสอบ   6 การทาเอกสารรายงาน  7 ประเมินผลงาน  8 นาเสนอโครงงาน  ผลที่คาดว่าจะได้รับ การลดลงของการกลั่นแกล้งกันทั้งในโรงเรียนและทางสังคมออนไลน์ การได้รับและให้ความรักความ เข้าใจซึ่งกันและกันทั้งในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว
  • 5. 5 สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสารระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม แหล่งอ้างอิง กนกอร แซ่เบ๊/รชนิกร ศรีฟ้าวัฒนา (2018) เราไม่ควรอดทนกับการBULLYอีกต่อไป ผศ.ดร.วิมลทิพย์ มุสิก พันธ์ สืบค้นเมื่อวันที่29 กันยายน 2019 จากเว็บไซต์ https://thepotential.org/2018/10/12/bully-in-school/ มูลนิธิยุวพัฒน์ (2019) การกลั่นแกล้ง (Bullying) ความรุนแรงในสังคม สืบค้นเมื่อวันที่29 กันยายน 2019 จากเว็บไซต์ https://www.yuvabadhanafoundation.org/th/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8% A7%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3/%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8% A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B9% 84%E0%B8%9B/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8% B1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B9%89%E0%B8% 87-bullying- %E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%99/