SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน การศึกษาการให้อาหารไข่ไก่ในแต่ละระยะการเลี้ยงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นายณัฐกิตติ์ ใจแก้ว เลขที่ 28 ชั้น 6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)…………………………………………………
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม Hen Eating
1.นายณัฐกิตติ์ ใจแก้ว เลขที่ 28 2.นายกฤษฎา คาปัญญา เลขที่ 32
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การศึกษาการให้อาหารไข่ไก่ในแต่ละระยะการเลี้ยงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Hen Eating
ประเภทโครงงาน โครงงานวิจัย
ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐกิตติ์ ใจแก้ว ม 6/8 เลขที่ 28
นายกฤษฎา คาปัญญา ม.6/8 เลขที่ 32
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ประเทศไทยนั้นขึ้นชื่อได้ว่าเป็นประเทศแห่งการเกษตร ประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศประกอบ
อาชีพเกษตรกร ไม่ว่าจะเป็น การเลี้ยงหมู ปลูกข้าว ทาพืชไร่ ทาพืชสวน ฯลฯ และการเลี้ยงไข่ไก่นั้นถือ
เป็นอีก 1 อาชีพที่ขาดไม่ได้ เพราะไก่ไข่นั้นให้ผลผลิตคือไข่ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของอาหาร 5 หมู่
สามารถพบได้ทั้งอาหารคาวและหวาน ซึ่งการเลี้ยงไก่ไข่นั้นมีปัจจัยหลายอย่างไม่ว่าจะเป็น แม่พันธุ์ไก่
อาหารไก่ อุณหภูมิ การให้แสง ประเภทของโรงเรือน ฯ และเกษตรกรอาจจะไม่มีความรู้ในเรื่องการเลือกโปรแกรม
อาหารที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงไก่ไข่ในระยะต่างๆซึ่งผู้จัดทาได้เห็นว่าควรจะมีการเลือกให้โปรแกรมการให้ให้ไก่ไข่
ได้อย่างเหมาะสมและทาให้ได้ผลผลิตที่มีปริมาณที่คุ้มค่าต่อเกษตรกรในการเลี้ยง
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาโปรแกรมการให้อาหารไข่ไก่ในระยะต่างๆ
2.เพื่อให้อาหารไก่ไข่ได้ถูกต้องในแต่ละระยะการเลี้ยง
3.เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1.ศึกษางานเกี่ยวกับชนิดของอาหารไก่ไข่
3
2.ศึกษาการเติบโตของไก่ไข่ในแต่ระยะ
3.ศึกษาปริมาณการให้อาหารของไก่ไข่ในแต่ระยะ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การเลี้ยงไก่ไข่ผู้เลี้ยงจะต้องควบคุมปริมาณการกินอาหารของไก่ดังกล่าวตั้งแต่อายุประมาณ 7 - 8 สัปดาห์
ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของไก่ ซึ่งแต่ก่อนไม่มีการควบคุมปริมาณการกินอาหารของไก่รุ่น และไก่สาวก่อนให้
ไข่ ทาให้ไก่ดังกล่าวมีน้าหนักตัวมากเกินไป การให้ไข่จะให้ไข่ที่เร็วขึ้น และขนาดไข่จะฟองเล็ก ตลอดจนอายุ
การให้ไข่จะสั้นลง นอกจากนั้นยังทาให้สิ้นเปลืองค่าอาหารที่สูงเกิน ความจาเป็นในการผลิต ดังนั้นจึงต้องมี
การควบคุมปริมาณอาหารที่ให้กินควบคู่ไปกับการควบคุมน้าหนักตัวไก่ในระยะต่าง ๆ ตามสายพันธุ์ที่ผู้ผลิต
กาหนด เพื่อป้องกัน มิให้ไก่ไข่เร็วเกินไป หรือ ชะลอความเป็นสาว (delaying sexual maturity) เพื่อช่วยให้
สุขภาพของไก่แข็งแรงสมบูรณ์ให้ไข่ฟองโตและอายุการให้ไข่นาน การควบคุมอาหารอาจทาได้หลายวิธี คือ
1. การให้อาหารวันเว้นวัน (Skip- A- Day feeding) โดยให้ไก่กินอาหาร 1 วัน แล้วหยุดให้กิน 1 วัน
สลับกันไปตลอดช่วงของการเลี้ยงไก่รุ่น - ไก่สาว ซึ่งวิธีการกินนี้นิยมมากกว่าวิธีอื่น ๆ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่า
ขั้นตอนการปฏิบัติไม่ค่อยยุ่งยากมากนักอย่างไรก็ตาม การควบคุมอาหารเพื่อชลอความเป็นสาวของไก่โดยวิธี
นี้ ในวันที่ไก่ไม่ได้กินอาหารอาจใช้ ข้าวโพดโปรยให้ไก่จิกกินตามพื้นคอก โดยใช้ 1 กิโลกรัมต่อ ไก่จานวน
100 ตัว และระยะก่อนที่ไก่จะให้ไข่ 3 - 4 สัปดาห์ ควรใช้เปลือกหอยจานวน 0.25 กิโลกรัมต่อไก่ 100 ตัว
เพื่อให้ไก่ก่อนไข่ได้รับแคลเซี่ยมอย่างเพียงพอ โดยวางไว้ในคอกให้ไก่ จิกกินเอง
2. จากัดปริมาณอาหารที่ให้ไก่กินแต่ละวัน (Manual Restriction) การควบคุมอาหารวิธีนี้ไก่จะได้รับ
ปริมาณโปรตีนและพลังงาน สูงกว่าความต้องการของสายพันธุ์หรืออายุของไก่ในระยะนั้นเล็กน้อย และ ต้อง
เปลี่ยนแปลงสูตรอาหารไปตามสภาพแวดล้อมของทุกฤดูกาล จึงจะให้ผลตอบแทนที่ดี อย่างไรก็ตามในการ
กาจัดอาหารโดยวิธีนี้ต้องมีรางน้า และรางอาหารหรือถังอาหารเพียงพอ เพื่อให้ไก่ทุกตัว ได้กินเพื่อมิให้
กระทบต่อความสม่าเสมอของไก่ภายในฝูง และหากไก่ป่วยในช่วงควบคุมปริมาณอาหาร จาเป็นต้องให้ไก่กิน
เต็มที่ จนกว่าจะหายจากอาการป่วยแล้วจึงค่อยควบคุมน้าหนักตัวและ ปริมาณอาหารต่อไป ถ้าน้าหนักตัว
ของไก่เกินมาตรฐานกาหนดของสายพันธุ์นั้น ๆ ก็ต้องลดปริมาณอาหารลงที่ละน้อยเพื่อดึงน้าหนักตัวลงมาที่
มาตรฐาน และถ้าน้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐานก็ต้อง เพิ่มปริมาณอาหารมากขึ้นเพื่อให้น้าหนักตัวสูงตาม
มาตรฐานของสายพันธุ์ที่กาหนด ซึ่งในการเพิ่มหรือลดต้องเพิ่มหรือลดที่ละน้อยโดยใช้เวลาประมาณ 7 - 10
วัน แล้วทดสอบน้าหนักไก่อีกครั้งหนึ่ง โดยปกติจะต้องมีการทดสอบน้าหนักของไก่แต่ละสัปดาห์เพื่อปรับ
น้าหนักไก่ในฝูงให้อยู่ในระดับมาตรฐานตลอดการควบคุม
3. การควบคุมอาหารโดยให้อาหารที่มีเยื่อใยสูง (High Fiber Ration) โดยวิธีนี้จะมีโปรตีนประมาณไม่
เกิน 13% และพลังงานค่อนข้างต่า คือประมาณ 1750 - 1975 แคลอรี่ (ME) ต่อกิโลกรัม อาหารที่มีเยื่อใยสูง
ลักษณะ ของอาหารฟาร์มทาให้ไก่ไม่อยากกิน หรือในบางครั้งลักษณะของอาหารที่มีเยื่อใยสูงไก่อาจจะกิน
เพิ่มขึ้นเพื่อให้โปรตีนและพลังงานตามความต้องการของไก่
4. โดยการให้อาหารที่มีโปรตีนต่า และพวกกรดอะมิโนไม่สมดุลย์ (Low Proteib and Amino Aeid
Imbalanded Diete) อาหารประเภทนี้จะมีโปรตีน ประมาณ 9 - 10 % และจะขาดกรดอะมิโนที่จาเป็น
ต่อร่างกายของไก่ อย่างน้อย 1 ชนิด ทาให้ชลอความเป็นสาวของไก่ให้ช้าลงได้อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งวิธีนี้จะใช้ได้ผลดี
กับประเทศในเขตหนาวส่วนประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนมักเกิดผลเสียมากกว่า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
4
สร้างตารางโปรแกรมการให้อาหารไก่ไข่
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
คอมพิวเตอร์
งบประมาณ
1000-2000
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.เกษตรกรสามารถให้อาหารไก่ในแต่ละระยะได้อย่างถูกต้อง
2.ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การอาชีพและเทคโนโลยี
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://oknation.nationtv.tv/blog/surapinyo/2012/10/01/entry-3
https://www.ku.ac.th/e-magazine/september47/agri/hen.html

More Related Content

What's hot

โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพWinthai Booloo
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งJah Jadeite
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพMewBesty
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project tata natt
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Preawpraow Klinhomm
 
ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5 ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5 Vitchda Samaket
 
2559 project -final
2559 project -final2559 project -final
2559 project -finaltata natt
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605eve2312
 
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30Pattawee Siriwongkhruea
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project pPhansachon
 
อาหารกับสมอง1
อาหารกับสมอง1อาหารกับสมอง1
อาหารกับสมอง1Kanyarat606
 
โครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าโครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าJah Jadeite
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanaporn Sripoug
 

What's hot (17)

โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพโครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
โครงงานออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ
 
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่งแบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
แบบโครงร่างโครงงานน้ำเหม่ง
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ อาหารเพื่อสุขภาพ
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5 ใบงานกิจกรรมที่ 5
ใบงานกิจกรรมที่ 5
 
2559 project -final
2559 project -final2559 project -final
2559 project -final
 
2558 project-com605
2558 project-com6052558 project-com605
2558 project-com605
 
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
โครงงานวิทยาศาสตร์การกีฬา602.30
 
Final
Final Final
Final
 
2562 final-project p
2562 final-project p2562 final-project p
2562 final-project p
 
27 38 604
27 38 60427 38 604
27 38 604
 
อาหารกับสมอง1
อาหารกับสมอง1อาหารกับสมอง1
อาหารกับสมอง1
 
โครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋าโครงร่าง จ๋า
โครงร่าง จ๋า
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1โครงร่างคอมคู่1
โครงร่างคอมคู่1
 

Similar to Work1.

Lower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLaksika Butkaeo
 
นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29
นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29
นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29chanokchonkhochanin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์isaka123
 
Kittapong 20
Kittapong 20Kittapong 20
Kittapong 20NodChaa
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project yoyensry
 
Titipong 02
Titipong 02Titipong 02
Titipong 02pixppd
 

Similar to Work1. (20)

Trans fatty acids
Trans fatty acidsTrans fatty acids
Trans fatty acids
 
As
AsAs
As
 
18
1818
18
 
Lower belly reduce disease
Lower belly reduce diseaseLower belly reduce disease
Lower belly reduce disease
 
Fruit juice
Fruit juiceFruit juice
Fruit juice
 
นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29
นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29
นายชนกชนม์ คชนิล ม.6/2 เลขที่ 29
 
Nattun 605 06
Nattun 605 06Nattun 605 06
Nattun 605 06
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
Kittapong 20
Kittapong 20Kittapong 20
Kittapong 20
 
Project com48
Project com48Project com48
Project com48
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Projec
ProjecProjec
Projec
 
Project com nakub
Project com nakubProject com nakub
Project com nakub
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทยมหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
 
Titipong 02
Titipong 02Titipong 02
Titipong 02
 
งาน1
งาน1งาน1
งาน1
 
Work
WorkWork
Work
 

Work1.

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน การศึกษาการให้อาหารไข่ไก่ในแต่ละระยะการเลี้ยงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นายณัฐกิตติ์ ใจแก้ว เลขที่ 28 ชั้น 6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)………………………………………………… ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม Hen Eating 1.นายณัฐกิตติ์ ใจแก้ว เลขที่ 28 2.นายกฤษฎา คาปัญญา เลขที่ 32 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การศึกษาการให้อาหารไข่ไก่ในแต่ละระยะการเลี้ยงเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Hen Eating ประเภทโครงงาน โครงงานวิจัย ชื่อผู้ทาโครงงาน นายณัฐกิตติ์ ใจแก้ว ม 6/8 เลขที่ 28 นายกฤษฎา คาปัญญา ม.6/8 เลขที่ 32 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ประเทศไทยนั้นขึ้นชื่อได้ว่าเป็นประเทศแห่งการเกษตร ประชาชนส่วนใหญ่ในประเทศประกอบ อาชีพเกษตรกร ไม่ว่าจะเป็น การเลี้ยงหมู ปลูกข้าว ทาพืชไร่ ทาพืชสวน ฯลฯ และการเลี้ยงไข่ไก่นั้นถือ เป็นอีก 1 อาชีพที่ขาดไม่ได้ เพราะไก่ไข่นั้นให้ผลผลิตคือไข่ ซึ่งเป็นองค์ประกอบหลักของอาหาร 5 หมู่ สามารถพบได้ทั้งอาหารคาวและหวาน ซึ่งการเลี้ยงไก่ไข่นั้นมีปัจจัยหลายอย่างไม่ว่าจะเป็น แม่พันธุ์ไก่ อาหารไก่ อุณหภูมิ การให้แสง ประเภทของโรงเรือน ฯ และเกษตรกรอาจจะไม่มีความรู้ในเรื่องการเลือกโปรแกรม อาหารที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงไก่ไข่ในระยะต่างๆซึ่งผู้จัดทาได้เห็นว่าควรจะมีการเลือกให้โปรแกรมการให้ให้ไก่ไข่ ได้อย่างเหมาะสมและทาให้ได้ผลผลิตที่มีปริมาณที่คุ้มค่าต่อเกษตรกรในการเลี้ยง วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาโปรแกรมการให้อาหารไข่ไก่ในระยะต่างๆ 2.เพื่อให้อาหารไก่ไข่ได้ถูกต้องในแต่ละระยะการเลี้ยง 3.เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพที่ดี ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1.ศึกษางานเกี่ยวกับชนิดของอาหารไก่ไข่
  • 3. 3 2.ศึกษาการเติบโตของไก่ไข่ในแต่ระยะ 3.ศึกษาปริมาณการให้อาหารของไก่ไข่ในแต่ระยะ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การเลี้ยงไก่ไข่ผู้เลี้ยงจะต้องควบคุมปริมาณการกินอาหารของไก่ดังกล่าวตั้งแต่อายุประมาณ 7 - 8 สัปดาห์ ขึ้นอยู่กับความสมบูรณ์ของไก่ ซึ่งแต่ก่อนไม่มีการควบคุมปริมาณการกินอาหารของไก่รุ่น และไก่สาวก่อนให้ ไข่ ทาให้ไก่ดังกล่าวมีน้าหนักตัวมากเกินไป การให้ไข่จะให้ไข่ที่เร็วขึ้น และขนาดไข่จะฟองเล็ก ตลอดจนอายุ การให้ไข่จะสั้นลง นอกจากนั้นยังทาให้สิ้นเปลืองค่าอาหารที่สูงเกิน ความจาเป็นในการผลิต ดังนั้นจึงต้องมี การควบคุมปริมาณอาหารที่ให้กินควบคู่ไปกับการควบคุมน้าหนักตัวไก่ในระยะต่าง ๆ ตามสายพันธุ์ที่ผู้ผลิต กาหนด เพื่อป้องกัน มิให้ไก่ไข่เร็วเกินไป หรือ ชะลอความเป็นสาว (delaying sexual maturity) เพื่อช่วยให้ สุขภาพของไก่แข็งแรงสมบูรณ์ให้ไข่ฟองโตและอายุการให้ไข่นาน การควบคุมอาหารอาจทาได้หลายวิธี คือ 1. การให้อาหารวันเว้นวัน (Skip- A- Day feeding) โดยให้ไก่กินอาหาร 1 วัน แล้วหยุดให้กิน 1 วัน สลับกันไปตลอดช่วงของการเลี้ยงไก่รุ่น - ไก่สาว ซึ่งวิธีการกินนี้นิยมมากกว่าวิธีอื่น ๆ ทั้งนี้อาจเป็น เพราะว่า ขั้นตอนการปฏิบัติไม่ค่อยยุ่งยากมากนักอย่างไรก็ตาม การควบคุมอาหารเพื่อชลอความเป็นสาวของไก่โดยวิธี นี้ ในวันที่ไก่ไม่ได้กินอาหารอาจใช้ ข้าวโพดโปรยให้ไก่จิกกินตามพื้นคอก โดยใช้ 1 กิโลกรัมต่อ ไก่จานวน 100 ตัว และระยะก่อนที่ไก่จะให้ไข่ 3 - 4 สัปดาห์ ควรใช้เปลือกหอยจานวน 0.25 กิโลกรัมต่อไก่ 100 ตัว เพื่อให้ไก่ก่อนไข่ได้รับแคลเซี่ยมอย่างเพียงพอ โดยวางไว้ในคอกให้ไก่ จิกกินเอง 2. จากัดปริมาณอาหารที่ให้ไก่กินแต่ละวัน (Manual Restriction) การควบคุมอาหารวิธีนี้ไก่จะได้รับ ปริมาณโปรตีนและพลังงาน สูงกว่าความต้องการของสายพันธุ์หรืออายุของไก่ในระยะนั้นเล็กน้อย และ ต้อง เปลี่ยนแปลงสูตรอาหารไปตามสภาพแวดล้อมของทุกฤดูกาล จึงจะให้ผลตอบแทนที่ดี อย่างไรก็ตามในการ กาจัดอาหารโดยวิธีนี้ต้องมีรางน้า และรางอาหารหรือถังอาหารเพียงพอ เพื่อให้ไก่ทุกตัว ได้กินเพื่อมิให้ กระทบต่อความสม่าเสมอของไก่ภายในฝูง และหากไก่ป่วยในช่วงควบคุมปริมาณอาหาร จาเป็นต้องให้ไก่กิน เต็มที่ จนกว่าจะหายจากอาการป่วยแล้วจึงค่อยควบคุมน้าหนักตัวและ ปริมาณอาหารต่อไป ถ้าน้าหนักตัว ของไก่เกินมาตรฐานกาหนดของสายพันธุ์นั้น ๆ ก็ต้องลดปริมาณอาหารลงที่ละน้อยเพื่อดึงน้าหนักตัวลงมาที่ มาตรฐาน และถ้าน้าหนักตัวต่ากว่ามาตรฐานก็ต้อง เพิ่มปริมาณอาหารมากขึ้นเพื่อให้น้าหนักตัวสูงตาม มาตรฐานของสายพันธุ์ที่กาหนด ซึ่งในการเพิ่มหรือลดต้องเพิ่มหรือลดที่ละน้อยโดยใช้เวลาประมาณ 7 - 10 วัน แล้วทดสอบน้าหนักไก่อีกครั้งหนึ่ง โดยปกติจะต้องมีการทดสอบน้าหนักของไก่แต่ละสัปดาห์เพื่อปรับ น้าหนักไก่ในฝูงให้อยู่ในระดับมาตรฐานตลอดการควบคุม 3. การควบคุมอาหารโดยให้อาหารที่มีเยื่อใยสูง (High Fiber Ration) โดยวิธีนี้จะมีโปรตีนประมาณไม่ เกิน 13% และพลังงานค่อนข้างต่า คือประมาณ 1750 - 1975 แคลอรี่ (ME) ต่อกิโลกรัม อาหารที่มีเยื่อใยสูง ลักษณะ ของอาหารฟาร์มทาให้ไก่ไม่อยากกิน หรือในบางครั้งลักษณะของอาหารที่มีเยื่อใยสูงไก่อาจจะกิน เพิ่มขึ้นเพื่อให้โปรตีนและพลังงานตามความต้องการของไก่ 4. โดยการให้อาหารที่มีโปรตีนต่า และพวกกรดอะมิโนไม่สมดุลย์ (Low Proteib and Amino Aeid Imbalanded Diete) อาหารประเภทนี้จะมีโปรตีน ประมาณ 9 - 10 % และจะขาดกรดอะมิโนที่จาเป็น ต่อร่างกายของไก่ อย่างน้อย 1 ชนิด ทาให้ชลอความเป็นสาวของไก่ให้ช้าลงได้อีกวิธีหนึ่ง ซึ่งวิธีนี้จะใช้ได้ผลดี กับประเทศในเขตหนาวส่วนประเทศไทยอยู่ในเขตร้อนมักเกิดผลเสียมากกว่า วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน
  • 4. 4 สร้างตารางโปรแกรมการให้อาหารไก่ไข่ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ คอมพิวเตอร์ งบประมาณ 1000-2000 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.เกษตรกรสามารถให้อาหารไก่ในแต่ละระยะได้อย่างถูกต้อง 2.ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดี สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การอาชีพและเทคโนโลยี 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://oknation.nationtv.tv/blog/surapinyo/2012/10/01/entry-3 https://www.ku.ac.th/e-magazine/september47/agri/hen.html