SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน แอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ สะดวกด้วยการเชื่อมโยงขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Application SMART CHIANGMAI
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ
ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์ เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ตั้งแต่ เดือนกันยายน 2560 ถึง เดือนธันวาคม
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันจังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนบนและมีนักท่องเที่ยวเข้ามา
ในจังหวัดเชียงใหม่ถึง 10 ล้านคนต่อปี ประกอบกับจังหวัดเชียงใหม่กลายเป็นสังคมเมืองที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาใช้
รถยนต์ส่วนบุคคลกันเป็นส่วนมากจนทาให้เกิดปัญหารถติดสะสมในเวลาเร่งด่วน โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้เริ่มศึกษา
โครงการรถไฟฟ้า LRT ภายในตัวเมืองเชียงใหม่ หากโครงการนี้สาเร็จจังหวัดเชียงใหม่จะมีโครงการขนส่งมวลชน
สาธารณะครอบคลุมภายในเขตอาเภอเมืองและส่วนต่อขยายรอบตัวเมืองต่อไป รวมถึงจังหวัดเชียงใหม่มีแนวคิดเร่ง
ทาการศึกษาโครงการสนามบินแห่งใหม่ หากสาเร็จจะมีโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมสนามบินและตัวเมืองเพิ่มอีก 1
เส้นทาง ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ริเริ่มศึกษาและจัดทาแอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI ขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์สังคมเมือง
สังคมแห่งการเร่งรีบ เพียงโหลดแอพพลิเคชันผ่านสมาร์ทโฟน โดยแอพพลิเคชันนี้จะบอกรายละเอียดการเชื่อมโยง
ระหว่างสถานีหรือการเชื่อมโยงในระบบขนส่งสาธารณะอื่นๆ รวมทั้งยังแสดงตาแหน่งของรถไฟฟ้าหรือขนส่งมวลชน
รูปแบบอื่นๆเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถคานวณเวลาที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย และในอนาคตจะสามารถใช้จ่ายเงิน
ผ่านแอพพลิเคชันได้เพื่อตอบโจทย์สังคมเมืองและการพัฒนาในอนาคตต่อไป
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อสารวจและศึกษาพฤติกรรมการใช้ขนส่งสาธารณะในแต่ละรูปแบบ เพื่อลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วน
บุคคลลง
2. เพื่อสร้างความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานระบบขนส่งสาธารณะจังหวัดเชียงใหม่
3. เพื่อเชื่อมโยงผู้โดยสารในแต่ระบบขนส่งมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพ
4. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนอีกรูปแบบหนึ่ง
ขอบเขตโครงงาน
แอพพลิเคชันนี้ครอบคลุมเฉพาะระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเท่านั้น อาทิเช่น ขนส่งมวลชนระบบราง LRT
รถไฟฟ้าเชื่อมสนามบิน รถเมล์เทศบาลนครเชียงใหม่ รถเมล์ปอ.10 เป็นต้น
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดทาโครงงานศึกษาในครั้งนี้ ทางผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซด์ดังนี้
1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation)
2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation
Network Alternatives A and B
3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่
1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation)
คือบริการคมนาคมขนส่งผู้โดยสารที่สามารถใช้ได้โดยสาธารณชน ซึ่งแตกต่างจากรถแท็กซี่ รถร่วม หรือ
รถเมล์เช่าเหมาคันที่จะไม่รับผู้โดยสารแปลกหน้าหากไม่มีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า วิธีการขนส่งสาธารณะรวมไปถึง
รถประจาทางสาธารณะ รถราง รถลาก และรถไฟ แล้วยังหมายรวมถึงระบบขนส่งมวลชนเช่นรถไฟฟ้าและรถไฟฟ้า
ใต้ดินและเรือข้ามฟาก สายการบิน รถทัวร์ และรถไฟระหว่างเมืองมักจะใช้ในการขนส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง มีการ
พัฒนาเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในหลายพื้นที่ทั่วโลกอีกด้วย การขนส่งสาธาณะในมหานครมีความแตกต่างในพื้นที่
เอเซีย อเมริกาเหนือ และยุโรปเป็นอย่างมาก ในเอเชียการขนส่งมวลชนมีผู้ให้บริการคือบริษัทเอกชนหรือมหาชน
ที่แสวงหาผลกาไรและผู้ลงทุนทางการอสังหาริมทรัพย์ ในอเมริกาเหนือ หน่วยงานด้านการขนส่งมวลชนเป็นผู้ดูแล
การบริการขนส่งสาธารณะ ในยุโรป รัฐบาลมักมอบหมายให้บริษัทเอกชนเป็นผู้ดูแลจัดการการขนส่งสาธารณะ
ระบบขนส่งสาธารณะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) Grade-separated" หรือ "Exclusive" (2) ระบบ
รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) ระบบขนส่งสาธารณะแบบรางเบา (Light Rail Transit, LRT) และ
(3) รถโดยสารประจาทาง โดยในเมืองใหญ่ๆทั่วประเทศได้มีการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อทาให้คุณภาพในการใช้
ชีวิตเมืองดีขึ้น ลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และลดการใช้พลังงานลง เรียกว่า 'Smart City' เช่น San Francisco,
Amsterdam, Tokyo, Stockholm เป็นต้น และอีกหนึ่งสิ่งที่สาคัญในการที่จะพัฒนาควบคู่ไปด้วยกันคือ การพัฒนา
และจัดการเมืองหรือพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนให้เกิดความกระชับ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน
เรียกว่า TOD (Transit-Oriented Development) ซึ่งมักมีองค์ประกอบหลายด้าน เช่น พื้นที่ย่านการค้า, พื้นที่ย่าน
พักอาศัย, พื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ที่พักอาศัยแบบหนาแน่นน้อย
4
http://www.pe.eng.ku.ac.th/files/semimar/2016/group10/images/paste27.jpg
ภาพเปรียบเทียบการใช้ขนส่งสาธารณะและการใช้ยานพาหะนะส่วนบุคคล
2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation Network
Alternatives A and B
1. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ A
เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดิน และ ใต้ดินร่วมกันประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้
สายสีแดง (A)
ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการ จังหวัดเชียงใหม่และสนามกีฬา
700 ปี ต่อไปยังศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ และเริ่มใช้ทางวิ่งใต้ดินที่บริเวณแยกข่วงสิงห์ มุ่งสู่
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และต่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อพ้นเขตท่าอากาศยาน
นานาชาติจังหวัดเชียงใหม่จะกลับขึ้นใช้ทางวิ่งบนดินก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะสมานสามัคคี (แยกบิกซีหางดง)
สายสีเขียว (A)
ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกรวมโชค เข้าสู่เส้นทางวิ่งใต้ดินที่จุดแยกแม่โจ้ (แยกโรงพยาบาลเทพ
ปัญญา) ผ่านตลาดวโรรส เชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่าเชียงใหม่แอร์พอร์ต ก่อนจะไปสิ้นสุด
ที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่
สายสีน้าเงิน (A)
ระยะทาง 12 กิโลเมตร เริ่มต้นเส้นทางวิ่งใต้ดิน จากสวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ตามลาดับ หักเลี้ยวลงมาตามถนนเส้นคันคลองชลประทาน ถึงบริเวณแยกตลาดต้นพะยอม
มุ่งหน้าไปทางโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พบจุดตัดกับสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ผ่านใต้คู
เมือง ไปถึงจุดตัดกับสายสีเขียว บริเวณเชียงใหม่ไนท์บาร์ซ่า วิ่งตรงไปเรื่อยๆ ไปจนถึงจุดกลับขึ้นใช้เส้นทางบนดิน
ที่แยกหนองประทีป วิ่งตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา (แยกพรอมเมนาดา)
5
2. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ B
เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดินทั้งหมดประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้
สายสีแดง (B)
ระยะทางประมาณ 15.65 กิโลเมตรเริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการและสนามกีฬา 700ปี ต่อไปยัง
ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ ไปยังมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ไปพบกับจุดเปลี่ยนสายสีน้าเงินที่
โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ก่อนที่จะต่อไปยังสนามบินนานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ ไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะ
สมานสามัคคี(แยกบิ๊กซีหางดง)
สายสีเขียว (B)
ระยะทางประมาณ 11.11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสี่แยกรวมโชค ผ่านแยกแม่โจ้(แยกโรงพยาบาลเทพปัญญา) ไปยังห้าง
เซ็นทรัลเฟสติวัล ก่อนจะต่อไปยังสถานีขนส่งอาเขต ผ่านกาดหลวงเชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ไปสู่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล
พลาซาเชียงใหม่แอร์พอร์ต และไปสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่
สายสีน้าเงิน (B)
ระยะทางประมาณ 13.81 กิโลเมตร เริ่มต้นที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อไปยังจุดตัดระหว่างสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เลียบผ่านคูเมือง
ทางด้านทิศใต้ ไปยังสถานีรถไฟเชียงใหม่ ผ่านบิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา(แยกพรอมเมนาดา)
3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่
กระทรวงคมนาคมได้ประชุมหารือ "โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบน" โดยมีความคืบหน้า
ดังนี้
1. เตรียมก่อสร้างท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบนหรือท่าอากาศยานเชียงใหม่ 2
2. ขณะนี้กาลังหาพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่ (ตามข่าวล่าสุดจะเป็นพื้นที่ที่มี
รถไฟฟ้ารางเบาเชียงใหม่ไปถึง)
3. สนามบินเชียงใหม่เดิมจะยังคงเปิดใช้งานเฉพาะเที่ยวบินทหารและเที่ยวบินพาณิชย์ที่จาเป็นบางส่วน
เท่านั้น
4. พื้นที่ของสนามบินเชียงใหม่เดิมจะถูกพัฒนาให้เป็นเมืองใหม่ ประกอบด้วย ศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม
และโรงแรม เป็นต้น
ทั้งนี้สานักการบินพลเรือนจะดาเนินการจัดทาแผนแม่บทโครงการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่และโครงการ
พัฒนาพื้นที่สนามบินเชียงใหม่เดิมต่อไป

More Related Content

What's hot

2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18jeerasak1210
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawisthayawistha
 
งานฝ้าย
งานฝ้ายงานฝ้าย
งานฝ้ายOatty_CMU
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Panpreeya Kawturn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมRatchasin Poomchor
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)ssuser6e9093
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project THXB
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichayathitichaya2442
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610guntjetnipat
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project T000 Ter
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอมjutamart muemsittiprae
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวกTai MerLin
 

What's hot (20)

2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2561 project 607-18
2561 project  607-182561 project  607-18
2561 project 607-18
 
2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha2561 project 10-yawistha
2561 project 10-yawistha
 
งานฝ้าย
งานฝ้ายงานฝ้าย
งานฝ้าย
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
2562 final-project (1)
2562 final-project  (1)2562 final-project  (1)
2562 final-project (1)
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
2562 final-project -13-610
2562 final-project -13-6102562 final-project -13-610
2562 final-project -13-610
 
605 15projectcom
605 15projectcom605 15projectcom
605 15projectcom
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม23 jutamart โครงรางงานคอม
23 jutamart โครงรางงานคอม
 
Com
ComCom
Com
 
โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวก
 

Similar to 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI

2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่เซฟ หัวเกรียน
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานSirawich Kamla
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์Ritthipon Ponjakfa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สทธัตถ์ ทาวีกุล
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 thunnattapat
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์omaha123
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์greatzaza007
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนNuttida Meepo
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 

Similar to 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI (20)

2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ2560 project แฟรงเซฟ
2560 project แฟรงเซฟ
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI 2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI
 
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
2560 project แฟรงเซฟ ใหม่
 
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI คู่
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะโครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
โครงงาน ระบบจอดรถอัจฉริยะ
 
Chon;acahrt monta sarong
Chon;acahrt  monta sarongChon;acahrt  monta sarong
Chon;acahrt monta sarong
 
Supachat
SupachatSupachat
Supachat
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
Atomic 1
Atomic  1Atomic  1
Atomic 1
 
Suppachat Panpintar
Suppachat PanpintarSuppachat Panpintar
Suppachat Panpintar
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟน
 
002
002002
002
 
2559 project
2559 project2559 project
2559 project
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 

2560 project แอพพลิเคชัน Smart CHIANGMAI

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน แอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ เลขที่ 37 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แอพพลิเคชัน สมาร์ท เชียงใหม่ สะดวกด้วยการเชื่อมโยงขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Application SMART CHIANGMAI ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ภานุวัฒน์ สุขอินต๊ะ ชื่อที่ปรึกษา อาจารย์ เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ตั้งแต่ เดือนกันยายน 2560 ถึง เดือนธันวาคม ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันจังหวัดเชียงใหม่เป็นเมืองศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภาคเหนือตอนบนและมีนักท่องเที่ยวเข้ามา ในจังหวัดเชียงใหม่ถึง 10 ล้านคนต่อปี ประกอบกับจังหวัดเชียงใหม่กลายเป็นสังคมเมืองที่ผู้คนส่วนใหญ่หันมาใช้ รถยนต์ส่วนบุคคลกันเป็นส่วนมากจนทาให้เกิดปัญหารถติดสะสมในเวลาเร่งด่วน โดยจังหวัดเชียงใหม่ได้เริ่มศึกษา โครงการรถไฟฟ้า LRT ภายในตัวเมืองเชียงใหม่ หากโครงการนี้สาเร็จจังหวัดเชียงใหม่จะมีโครงการขนส่งมวลชน สาธารณะครอบคลุมภายในเขตอาเภอเมืองและส่วนต่อขยายรอบตัวเมืองต่อไป รวมถึงจังหวัดเชียงใหม่มีแนวคิดเร่ง ทาการศึกษาโครงการสนามบินแห่งใหม่ หากสาเร็จจะมีโครงการรถไฟฟ้าเชื่อมสนามบินและตัวเมืองเพิ่มอีก 1 เส้นทาง ดังนั้นผู้จัดทาจึงได้ริเริ่มศึกษาและจัดทาแอพพลิเคชัน SMART CHIANGMAI ขึ้นมาเพื่อตอบโจทย์สังคมเมือง สังคมแห่งการเร่งรีบ เพียงโหลดแอพพลิเคชันผ่านสมาร์ทโฟน โดยแอพพลิเคชันนี้จะบอกรายละเอียดการเชื่อมโยง ระหว่างสถานีหรือการเชื่อมโยงในระบบขนส่งสาธารณะอื่นๆ รวมทั้งยังแสดงตาแหน่งของรถไฟฟ้าหรือขนส่งมวลชน รูปแบบอื่นๆเพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถคานวณเวลาที่ใช้ได้อย่างเหมาะสมอีกด้วย และในอนาคตจะสามารถใช้จ่ายเงิน ผ่านแอพพลิเคชันได้เพื่อตอบโจทย์สังคมเมืองและการพัฒนาในอนาคตต่อไป
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อสารวจและศึกษาพฤติกรรมการใช้ขนส่งสาธารณะในแต่ละรูปแบบ เพื่อลดปริมาณการใช้รถยนต์ส่วน บุคคลลง 2. เพื่อสร้างความสะดวกสบายต่อผู้ใช้งานระบบขนส่งสาธารณะจังหวัดเชียงใหม่ 3. เพื่อเชื่อมโยงผู้โดยสารในแต่ระบบขนส่งมวลชนอย่างมีประสิทธิภาพ 4. เพื่อเพิ่มการเข้าถึงระบบขนส่งมวลชนอีกรูปแบบหนึ่ง ขอบเขตโครงงาน แอพพลิเคชันนี้ครอบคลุมเฉพาะระบบขนส่งมวลชนสาธารณะเท่านั้น อาทิเช่น ขนส่งมวลชนระบบราง LRT รถไฟฟ้าเชื่อมสนามบิน รถเมล์เทศบาลนครเชียงใหม่ รถเมล์ปอ.10 เป็นต้น หลักการและทฤษฎี ในการจัดทาโครงงานศึกษาในครั้งนี้ ทางผู้จัดทาได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซด์ดังนี้ 1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation) 2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation Network Alternatives A and B 3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่ 1. การขนส่งสาธารณะ (Public Transportation) คือบริการคมนาคมขนส่งผู้โดยสารที่สามารถใช้ได้โดยสาธารณชน ซึ่งแตกต่างจากรถแท็กซี่ รถร่วม หรือ รถเมล์เช่าเหมาคันที่จะไม่รับผู้โดยสารแปลกหน้าหากไม่มีการตกลงกันก่อนล่วงหน้า วิธีการขนส่งสาธารณะรวมไปถึง รถประจาทางสาธารณะ รถราง รถลาก และรถไฟ แล้วยังหมายรวมถึงระบบขนส่งมวลชนเช่นรถไฟฟ้าและรถไฟฟ้า ใต้ดินและเรือข้ามฟาก สายการบิน รถทัวร์ และรถไฟระหว่างเมืองมักจะใช้ในการขนส่งผู้โดยสารระหว่างเมือง มีการ พัฒนาเครือข่ายรถไฟความเร็วสูงในหลายพื้นที่ทั่วโลกอีกด้วย การขนส่งสาธาณะในมหานครมีความแตกต่างในพื้นที่ เอเซีย อเมริกาเหนือ และยุโรปเป็นอย่างมาก ในเอเชียการขนส่งมวลชนมีผู้ให้บริการคือบริษัทเอกชนหรือมหาชน ที่แสวงหาผลกาไรและผู้ลงทุนทางการอสังหาริมทรัพย์ ในอเมริกาเหนือ หน่วยงานด้านการขนส่งมวลชนเป็นผู้ดูแล การบริการขนส่งสาธารณะ ในยุโรป รัฐบาลมักมอบหมายให้บริษัทเอกชนเป็นผู้ดูแลจัดการการขนส่งสาธารณะ ระบบขนส่งสาธารณะ แบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ (1) Grade-separated" หรือ "Exclusive" (2) ระบบ รถโดยสารด่วนพิเศษ (Bus Rapid Transit, BRT) ระบบขนส่งสาธารณะแบบรางเบา (Light Rail Transit, LRT) และ (3) รถโดยสารประจาทาง โดยในเมืองใหญ่ๆทั่วประเทศได้มีการใช้ระบบขนส่งสาธารณะ เพื่อทาให้คุณภาพในการใช้ ชีวิตเมืองดีขึ้น ลดผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม และลดการใช้พลังงานลง เรียกว่า 'Smart City' เช่น San Francisco, Amsterdam, Tokyo, Stockholm เป็นต้น และอีกหนึ่งสิ่งที่สาคัญในการที่จะพัฒนาควบคู่ไปด้วยกันคือ การพัฒนา และจัดการเมืองหรือพื้นที่รอบสถานีขนส่งมวลชนให้เกิดความกระชับ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ที่ดินแบบผสมผสาน เรียกว่า TOD (Transit-Oriented Development) ซึ่งมักมีองค์ประกอบหลายด้าน เช่น พื้นที่ย่านการค้า, พื้นที่ย่าน พักอาศัย, พื้นที่สาธารณะ และพื้นที่ที่พักอาศัยแบบหนาแน่นน้อย
  • 4. 4 http://www.pe.eng.ku.ac.th/files/semimar/2016/group10/images/paste27.jpg ภาพเปรียบเทียบการใช้ขนส่งสาธารณะและการใช้ยานพาหะนะส่วนบุคคล 2. โครงข่ายทางเลือกระบบขนส่งสาธารณะเมืองเชียงใหม่ แผน A และ B Public Transportation Network Alternatives A and B 1. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ A เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดิน และ ใต้ดินร่วมกันประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้ สายสีแดง (A) ระยะทางประมาณ 12 กิโลเมตร เริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการ จังหวัดเชียงใหม่และสนามกีฬา 700 ปี ต่อไปยังศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ และเริ่มใช้ทางวิ่งใต้ดินที่บริเวณแยกข่วงสิงห์ มุ่งสู่ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ และต่อไปยังท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ เมื่อพ้นเขตท่าอากาศยาน นานาชาติจังหวัดเชียงใหม่จะกลับขึ้นใช้ทางวิ่งบนดินก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะสมานสามัคคี (แยกบิกซีหางดง) สายสีเขียว (A) ระยะทางประมาณ 11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากแยกรวมโชค เข้าสู่เส้นทางวิ่งใต้ดินที่จุดแยกแม่โจ้ (แยกโรงพยาบาลเทพ ปัญญา) ผ่านตลาดวโรรส เชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัลพลาซ่าเชียงใหม่แอร์พอร์ต ก่อนจะไปสิ้นสุด ที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ สายสีน้าเงิน (A) ระยะทาง 12 กิโลเมตร เริ่มต้นเส้นทางวิ่งใต้ดิน จากสวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ตามลาดับ หักเลี้ยวลงมาตามถนนเส้นคันคลองชลประทาน ถึงบริเวณแยกตลาดต้นพะยอม มุ่งหน้าไปทางโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ พบจุดตัดกับสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ผ่านใต้คู เมือง ไปถึงจุดตัดกับสายสีเขียว บริเวณเชียงใหม่ไนท์บาร์ซ่า วิ่งตรงไปเรื่อยๆ ไปจนถึงจุดกลับขึ้นใช้เส้นทางบนดิน ที่แยกหนองประทีป วิ่งตามถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ ก่อนจะไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา (แยกพรอมเมนาดา)
  • 5. 5 2. โครงข่ายทางเลือกรูปแบบ B เป็นโครงข่ายที่ใช้ทางวิ่งบนดินทั้งหมดประกอบด้วยเส้นทางหลัก 3 เส้น ดังนี้ สายสีแดง (B) ระยะทางประมาณ 15.65 กิโลเมตรเริ่มต้นจากโรงพยาบาลนครพิงค์ ผ่านศูนย์ราชการและสนามกีฬา 700ปี ต่อไปยัง ศูนย์ประชุมและแสดงสินค้านานาชาติเชียงใหม่ ไปยังมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงใหม่ ไปพบกับจุดเปลี่ยนสายสีน้าเงินที่ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ก่อนที่จะต่อไปยังสนามบินนานาชาติ จังหวัดเชียงใหม่ ไปสิ้นสุดที่แยกแม่เหียะ สมานสามัคคี(แยกบิ๊กซีหางดง) สายสีเขียว (B) ระยะทางประมาณ 11.11 กิโลเมตร เริ่มต้นจากสี่แยกรวมโชค ผ่านแยกแม่โจ้(แยกโรงพยาบาลเทพปัญญา) ไปยังห้าง เซ็นทรัลเฟสติวัล ก่อนจะต่อไปยังสถานีขนส่งอาเขต ผ่านกาดหลวงเชียงใหม่ไนท์บาร์ซาร์ ไปสู่ห้างสรรพสินค้าเซ็นทรัล พลาซาเชียงใหม่แอร์พอร์ต และไปสิ้นสุดที่ท่าอากาศยานนานาชาติจังหวัดเชียงใหม่ สายสีน้าเงิน (B) ระยะทางประมาณ 13.81 กิโลเมตร เริ่มต้นที่สวนสัตว์เชียงใหม่ ผ่านมหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนาและ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต่อไปยังจุดตัดระหว่างสายสีแดงที่โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ เลียบผ่านคูเมือง ทางด้านทิศใต้ ไปยังสถานีรถไฟเชียงใหม่ ผ่านบิ๊กซีซูเปอร์เซ็นเตอร์ไปสิ้นสุดที่แยกศรีบัวเงินพัฒนา(แยกพรอมเมนาดา) 3. การศึกษาเพื่อสร้างสนามบินเชียงใหม่แห่งใหม่ กระทรวงคมนาคมได้ประชุมหารือ "โครงการพัฒนาท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบน" โดยมีความคืบหน้า ดังนี้ 1. เตรียมก่อสร้างท่าอากาศยานภาคเหนือตอนบนหรือท่าอากาศยานเชียงใหม่ 2 2. ขณะนี้กาลังหาพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่ (ตามข่าวล่าสุดจะเป็นพื้นที่ที่มี รถไฟฟ้ารางเบาเชียงใหม่ไปถึง) 3. สนามบินเชียงใหม่เดิมจะยังคงเปิดใช้งานเฉพาะเที่ยวบินทหารและเที่ยวบินพาณิชย์ที่จาเป็นบางส่วน เท่านั้น 4. พื้นที่ของสนามบินเชียงใหม่เดิมจะถูกพัฒนาให้เป็นเมืองใหม่ ประกอบด้วย ศูนย์แสดงสินค้า ศูนย์ประชุม และโรงแรม เป็นต้น ทั้งนี้สานักการบินพลเรือนจะดาเนินการจัดทาแผนแม่บทโครงการก่อสร้างสนามบินแห่งใหม่และโครงการ พัฒนาพื้นที่สนามบินเชียงใหม่เดิมต่อไป