SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
สุนทรภู่
วิชา ประวัติศาสตร์หัสวิชา ส32103
เรื่อง สุนทรภู่
โดย
นาย กฤษณะ เอมโอฐ์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 1
เสนอ
คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
เนื้อหา
พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ เป็น
กวีชาวไทยที่มี ชื่อเสียง ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศ
ไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็น
กวีราชสานักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้น
รัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้ง
ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์
ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้
เลื่อนตาแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวัง
บวร ซึ่งเป็นตาแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต
สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชานาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการ
ประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่าง
กว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทร
ภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวาย
โอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะ
เรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของ
วรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้
และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่
ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมา
จนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ
เรื่อง
ปี พ.ศ. 2529 ในโอกาสครบรอบ200 ปีชาตกาล สุนทรภู่ได้รับยกย่อง
จากองค์การยูเนสโกให้เป็นบุคคลสาคัญของโลกด้านงานวรรณกรรม
ผลงานของสุนทรภู่ยังเป็นที่นิยมในสังคมไทยอย่างต่อเนื่องตลอดมาไม่ขาด
สาย และมีการนาไปดัดแปลงเป็นสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือการ์ตูน ภาพยนตร์
เพลง รวมถึงละคร มีการก่อสร้างอนุสาวรีย์สุนทรภู่ไว้ที่ตาบลกร่า อาเภอแก
ลง จังหวัดระยอง บ้านเกิดของบิดาของสุนทรภู่ และเป็นที่กาเนิดผลงาน
นิราศเรื่องแรกของท่านคือ นิราศเมืองแกลง นอกจากนี้ยังมีอนุสาวรีย์แห่ง
อื่น ๆ อีก เช่น ที่วัดศรีสุดาราม ที่จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดนครปฐม วัน
เกิดของสุนทรภู่คือวันที่26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็น วันสุนทรภู่ ซึ่งเป็น
วันสาคัญด้านวรรณกรรมของไทย มีการจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติคุณและ
ส่งเสริมศิลปะการประพันธ์บทกวีจากองค์กรต่าง ๆ โดยทั่วไป
ต้นตระกูล
บันทึกส่วนใหญ่มักระบุถึงต้นตระกูลของสุนทรภู่เพียงว่า บิดา
เป็นชาวบ้านกร่า อาเภอแกลง จังหวัดระยอง มารดาเป็น
ชาวเมืองอื่น ทั้งนี้เนื่องจากเชื่อถือตามพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ
กรมพระยาดารงราชานุภาพ เรื่องชีวิตและงานของสุนทร
ภู่ ต่อมาในภายหลัง เมื่อมีการค้นพบข้อมูลต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ก็
มีแนวคิดเกี่ยวกับต้นตระกูลของสุนทรภู่แตกต่างกันออกไป
นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า ฝ่ายบิดาเป็นชาวบ้านกร่า
เมืองแกลง จริง เนื่องจากมีปรากฏเนื้อความอยู่ใน นิราศเมือง
แกลง ถึงวงศ์วานว่านเครือของสุนทรภู่ แต่ความเห็นเกี่ยวกับ
ตระกูลฝ่ายมารดานี้แตกออกเป็นหลายส่วน ส่วนหนึ่งว่าไม่
ทราบที่มาแน่ชัด ส่วนหนึ่งว่าเป็นชาวฉะเชิงเทรา เป็นต้น
วัยเยาว์
สุนทรภู่ มีชื่อเดิมว่า เตียวหยุ เกิดในสมัยรัชกาลที่1 แห่งกรุง
รัตนโกสินทร์ เมื่อวันจันทร์ เดือน8 ขึ้น 1 ค่า ปีมะเมีย จุลศักราช 1148
เวลาเช้า 2 โมง (ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329) ณ บริเวณด้าน
เหนือของพระราชวังหลัง ซึ่งเป็นบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อย
ปัจจุบันนี้ เชื่อว่าหลังจากสุนทรภู่เกิดได้ไม่นาน บิดามารดาก็หย่าร้างกัน
บิดาออกไปบวชอยู่ที่วัดป่ากร่าอันเป็นภูมิลาเนาเดิม ส่วนมารดาได้เข้าไป
อยู่ในพระราชวังหลัง ถวายตัวเป็นนางนมของพระองค์เจ้าหญิงจงกล
พระธิดาในเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์
กวีราชสานัก
สุนทรภู่ได้เข้ารับราชการในกรมพระอาลักษณ์เมื่อ พ.ศ.
2359 ในรัชสมัยรัชกาลที่2
ออกบวช ช่วงตกอยาก
กุฏิวัดเทพธิดารามที่สุนทรภู่บวชจาพรรษา เป็นสถานที่
ค้นพบวรรณกรรมที่ทรงคุณค่ามากมายเช่น พระอภัย
มณี ฯลฯ ที่ท่านเก็บซ่อนไว้ใต้เพดานหลังคากุฏิของท่าน
สุนทรภู่รับราชการอยู่เพียง 8 ปี เมื่อถึงปี พ.ศ.
2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จ
สวรรคต หลังจากนั้นสุนทรภู่ก็ออกบวช แต่จะได้ลาออก
จากราชการก่อนออกบวชหรือไม่ยังไม่ปรากฏแน่ชัด แม้
จะไม่ปรากฏโดยตรงว่าสุนทรภู่ได้รับพระบรมราชูปถัมภ์
จากราชสานักใหม่ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยู่หัว แต่ก็ได้รับพระอุปถัมภ์จากพระบรมวงศานุวงศ์
พระองค์อื่นอยู่เสมอ
สุนทรภู่บวชอยู่เป็นเวลา 18 ปี ระหว่างนั้นได้ย้ายไปอยู่วัด
ต่าง ๆ หลายแห่ง เท่าที่พบระบุในงานเขียนของท่านได้แก่ วัด
เลียบ วัดแจ้ง วัดโพธิ์ วัดมหาธาตุ และวัดเทพธิดาราม งาน
เขียนบางชิ้นสื่อให้ทราบว่า ในบางปี ภิกษุภู่เคยต้องเร่ร่อนไม่
มีที่จาพรรษาบ้างเหมือนกัน ผลจากการที่ภิกษุภู่เดินทางธุดงค์
ไปที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ ปรากฏผลงานเป็นนิราศเรื่องต่าง ๆ
มากมาย และเชื่อว่าน่าจะยังมีนิราศที่ค้นไม่พบอีกเป็นจานวน
มาก
ทายาท
สุนทรภู่มีบุตรชายสามคน คือพ่อพัด เกิดจากภรรยาคน
แรกคือแม่จัน พ่อตาบ เกิดจากภรรยาคนที่สองคือแม่นิ่ม
และพ่อนิล เกิดจากภรรยาที่ชื่อแม่ม่วง นอกจากนี้ปรากฏ
ชื่อบุตรบุญธรรมอีกสองคน ชื่อพ่อกลั่น และพ่อชุบ
พ่อพัดนี้เป็นลูกรัก ได้ติดสอยห้อยตามสุนทรภู่อยู่เสมอ เมื่อครั้งสุนทรภู่
ออกบวช พ่อพัดก็ออกบวชด้วย เมื่อสุนทรภู่ได้มารับราชการกับเจ้าฟ้ า
น้อย พ่อพัดก็มาพานักอยู่ด้วยเช่นกันส่วนพ่อตาบนั้นปรากฏว่าได้เป็น
กวีมีชื่ออยู่พอสมควร เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า
เจ้าอยู่หัว ทรงตราพระราชบัญญัตินามสกุลขึ้น ตระกูลของสุนทรภู่ได้
ใช้นามสกุลต่อมาว่า ภู่เรือหงส์ (บางสายสกุลอาจเป็น ภู่ระหงษ์) เรื่อง
นามสกุลของสุนทรภู่นี้ก.ศ.ร. กุหลาบ เคยเขียนไว้ในหนังสือสยาม
ประเภท อ้างถึงผู้ถือนามสกุล ภู่เรือหงส์ ที่ได้รับบาเหน็จจากหมอสมิท
เป็นค่าพิมพ์หนังสือเรื่อง พระอภัยมณี
อุปนิสัย
ตาราโหราศาสตร์ผูกดวงชะตาวันเกิดของสุนทรภู่ไว้เป็นดวง
ประเทียบ พร้อมคาอธิบายข้างใต้ดวงชะตาว่า "สุนทรภู่ อาลักษณ์ขี้
เมา"เหตุนี้จึงเป็นที่กล่าวขานกันเสมอมาว่า สุนทรภู่นี้ขี้เหล้านัก ใน
งานเขียนของสุนทรภู่เองก็ปรากฏบรรยายถึงความมึนเมาอยู่หลาย
ครั้ง แม้จะดูเหมือนว่า สุนทรภู่เองก็รู้ว่าการมึนเมาสุราเป็นสิ่งไม่ดี
ได้เขียนตักเตือนผู้อ่านอยู่ในงานเขียนเสมอ การดื่มสุราของสุนทรภู่
อาจเป็นการดื่มเพื่อสังสรรค์และเพื่อสร้างอารมณ์ศิลปิน ด้วยปรากฏ
ว่าเรือนสุนทรภู่มักเป็นที่ครึกครื้นรื่นเริงกับหมู่เพื่อนฝูงอยู่เสมอ
นอกจากนี้ยังเล่ากันว่า เวลาที่สุนทรภู่กรึ่ม ๆ แล้วอาจสามารถบอก
กลอนให้เสมียนถึงสองคนจดตามแทบไม่ทัน
ทัศนคติ
มากสุนทรภู่ให้ความสาคัญกับการศึกษาอย่างมาก
และตอกย้าเรื่องการศึกษาในวรรณคดีหลาย ๆ เรื่อง
เช่น ขุนแผนสอนพลายงามว่า "ลูกผู้ชายลายมือนั้น
คือยศ เจ้าจงอตส่าห์ทาสม่าเสมียน"หรือที่พระฤๅษี
สอนสุดสาครว่า "รู้สิ่งไรไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอด
เป็นยอดดี" โดยที่สุนทรภู่เองก็เป็นผู้สนใจใฝ่ศึกษา
หาความรู้ และมีความรู้กว้างขวางอย่างยิ่ง เชื่อว่า
สุนทรภู่น่าจะร่วมอยู่ในกลุ่มข้าราชการหัวก้าวหน้า
ในยุคสมัยนั้น ที่นิยมวิชาความรู้แบบ
ตะวันตก ภาษาอังกฤษ ตลอดกระทั่งแนวคิดยุคใหม่
ที่ให้ความสาคัญกับสตรีขึ้นกว่าเดิม
แนวทางการประพันธ์
สุนทรภู่ชานาญงานประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพอย่างวิเศษ ได้ริเริ่ม
การใช้กลอนสุภาพมาแต่งกลอนนิทาน โดยมี โคบุตร เป็นเรื่องแรก
ซึ่งแต่เดิมมากลอนนิทานเท่าที่ปรากฏมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาล้วนแต่
เป็นกลอนกาพย์ทั้งสิ้นนายเจือ สตะเวทิน ได้กล่าวยกย่องสุนทรภู่ใน
การริเริ่มใช้กลอนสุภาพบรรยายเรื่องราวเป็นนิทานว่า "ท่านสุนทรภู่
ได้เริ่มศักราชใหม่แห่งการกวีของเมืองไทย โดยสร้างโคบุตรขึ้นด้วย
กลอนสุภาพ นับตั้งแต่เดิมมา เรื่องนิทานมักเขียนเป็นลิลิต ฉันท์ หรือ
กาพย์ สุนทรภู่เป็นคนแรกที่เสนอศิลปะของกลอนสุภาพ ในการสร้าง
นิทานประโลมโลก
ละคร
มีการนากลอนนิทานเรื่อง สิงหไตรภพ มาดัดแปลงเป็นละครหลายครั้ง
โดยมากมักเปลี่ยนชื่อเป็น สิงหไกรภพ โดยเป็นละครโทรทัศน์แนวจักร ๆ วงศ์ๆ
และละครเพลงร่วมสมัยโดยภัทราวดีเธียเตอร์ นอกจากนี้มีเรื่อง ลักษณวงศ์ และ
พระอภัยมณี ที่มีการนาเนื้อหาบางส่วนมาดัดแปลง ตอนที่นิยมนามาดัดแปลงมาก
ที่สุดคือ เรื่องของสุดสาคร
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302chindekthai01
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมNomoretear Cuimhne
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย Kun Cool Look Natt
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302สุนทรภู่กวีเอกไทย302
สุนทรภู่กวีเอกไทย302
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
เรื่องย่อ สามก๊ก
เรื่องย่อ   สามก๊กเรื่องย่อ   สามก๊ก
เรื่องย่อ สามก๊ก
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย พัฒนาการวรรณกรรมไทย
พัฒนาการวรรณกรรมไทย
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
งาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ยงาน ปุ๋ย
งาน ปุ๋ย
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 

Viewers also liked

สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามจอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceIndustrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceActency
 

Viewers also liked (19)

สมุทรสงคราม
สมุทรสงครามสมุทรสงคราม
สมุทรสงคราม
 
คุณสืบนาคะเสถียร
คุณสืบนาคะเสถียรคุณสืบนาคะเสถียร
คุณสืบนาคะเสถียร
 
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้าจิตรเจริญ
 
พระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุพระพุทธทาสภิกขุ
พระพุทธทาสภิกขุ
 
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรสสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิโรรส
 
ศิลป์ พีระศรี502
ศิลป์ พีระศรี502ศิลป์ พีระศรี502
ศิลป์ พีระศรี502
 
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงครามจอมพลแปลกพิบูลสงคราม
จอมพลแปลกพิบูลสงคราม
 
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลีเครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
เครื่องปั้นดินเผาของชาวเกาหลี
 
หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์หมอ บรัดเลย์
หมอ บรัดเลย์
 
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลีสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี
 
ประเทศชิลี
ประเทศชิลีประเทศชิลี
ประเทศชิลี
 
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่าพระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
พระราชประวัติของ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี หรือสมเด็จย่า
 
พระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุพระพุธทาสภิกขุ
พระพุธทาสภิกขุ
 
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์ศาสตราจารย์ปรีดี  พนมยงค์
ศาสตราจารย์ปรีดี พนมยงค์
 
หลวงประดิษ
หลวงประดิษหลวงประดิษ
หลวงประดิษ
 
จังหวัดสระแก้ว
จังหวัดสระแก้วจังหวัดสระแก้ว
จังหวัดสระแก้ว
 
ก.ศ.ร กุหลาบ
ก.ศ.ร กุหลาบก.ศ.ร กุหลาบ
ก.ศ.ร กุหลาบ
 
ศรีลังกา
ศรีลังกาศรีลังกา
ศรีลังกา
 
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI AlsaceIndustrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
Industrialisation de Drupal : Usines à Sites, retour sur le cas CCI Alsace
 

Similar to สุนทรภู่

111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143sibsakul jutaphan
 
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณNatthawan Chaemket
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 

Similar to สุนทรภู่ (20)

สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
Sss
SssSss
Sss
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143111006099222748 13010713133143
111006099222748 13010713133143
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
ตัวอย่างงานอ.รัชนีวรรณ
 
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรีผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
ผลงานนักเรียนชั้นม.6/1 เรื่องการสถาปนา สมัยสุโขทัย อยุธยาและธนบุรี
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช1
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3ประวัติรัชกาลที่ 3
ประวัติรัชกาลที่ 3
 
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตรพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สยามินทราธิราช บรมนาถบพิตร
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
 
Pimpimol 5 2_22
Pimpimol 5 2_22Pimpimol 5 2_22
Pimpimol 5 2_22
 
พระราชประวัติ
พระราชประวัติพระราชประวัติ
พระราชประวัติ
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL

เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 

More from SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL (20)

Is
IsIs
Is
 
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.นัทธพงศ์ ดอนศรี.
นัทธพงศ์ ดอนศรี.
 
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
นายคงศักดิ์ สงสุรีย์
 
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาดปวีณ์ธิดา สีหวาด
ปวีณ์ธิดา สีหวาด
 
จารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติจารุวรรณ ลำพองชาติ
จารุวรรณ ลำพองชาติ
 
Isมิ้น
Isมิ้นIsมิ้น
Isมิ้น
 
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถานเตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
เตชินท์ประเทศอัฟกานิสถาน
 
Isประเทศบังกลาเทศ
IsประเทศบังกลาเทศIsประเทศบังกลาเทศ
Isประเทศบังกลาเทศ
 
อาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจานอาเซอร์ไบจาน
อาเซอร์ไบจาน
 
คองโก
คองโกคองโก
คองโก
 
Is1
Is1Is1
Is1
 
ตุรกี
ตุรกีตุรกี
ตุรกี
 
มัลดีฟ
มัลดีฟมัลดีฟ
มัลดีฟ
 
อาร์เมเนีย
อาร์เมเนียอาร์เมเนีย
อาร์เมเนีย
 
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมานนางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
นางสาวนภาพร คำภักดี เลขที่19 รัฐสุลต่านโอมาน
 
สอบกลางภาค
สอบกลางภาคสอบกลางภาค
สอบกลางภาค
 
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนาสอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
สอบกลางภาคIs ธิรดา-น้อยเสนา
 
จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์จิราภา ธรรมรักษ์
จิราภา ธรรมรักษ์
 
ณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชาณัฎฐณิชา
ณัฎฐณิชา
 
กลางภาค
กลางภาคกลางภาค
กลางภาค
 

สุนทรภู่

  • 2. วิชา ประวัติศาสตร์หัสวิชา ส32103 เรื่อง สุนทรภู่ โดย นาย กฤษณะ เอมโอฐ์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 เลขที่ 1 เสนอ คุณครู สฤษศักดิ์ ชิ้นเขมจารี
  • 3. เนื้อหา พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ เป็น กวีชาวไทยที่มี ชื่อเสียง ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศ ไทย เกิดหลังจากตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ได้4 ปี และได้เข้ารับราชการเป็น กวีราชสานักในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เมื่อสิ้น รัชกาลได้ออกบวชเป็นเวลาร่วม20 ปี ก่อนจะกลับเข้ารับราชการอีกครั้ง ในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นอาลักษณ์ ในสมเด็จเจ้าฟ้าจุฑามณี กรมขุนอิศเรศรังสรรค์ ในสมัยรัชกาลที่ 4 ได้ เลื่อนตาแหน่งเป็น พระสุนทรโวหาร เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่ายพระราชวัง บวร ซึ่งเป็นตาแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิต
  • 4. สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชานาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบการ ประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยมอย่าง กว้างขวางสืบเนื่องมาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทร ภู่มีมากมายหลายเรื่อง เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวาย โอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และ พระอภัยมณี เป็นต้น โดยเฉพาะ เรื่อง พระอภัยมณี ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของ วรรณคดีประเภทกลอนนิทาน และเป็นผลงานที่แสดงถึงทักษะ ความรู้ และทัศนะของสุนทรภู่อย่างมากที่สุด งานประพันธ์หลายชิ้นของสุนทรภู่ ได้รับเลือกให้เป็นส่วนหนึ่งในหลักสูตรการเรียนการสอนนับแต่อดีตมา จนถึงปัจจุบัน เช่น กาพย์พระไชยสุริยา นิราศพระบาท และอีกหลาย ๆ เรื่อง
  • 5. ปี พ.ศ. 2529 ในโอกาสครบรอบ200 ปีชาตกาล สุนทรภู่ได้รับยกย่อง จากองค์การยูเนสโกให้เป็นบุคคลสาคัญของโลกด้านงานวรรณกรรม ผลงานของสุนทรภู่ยังเป็นที่นิยมในสังคมไทยอย่างต่อเนื่องตลอดมาไม่ขาด สาย และมีการนาไปดัดแปลงเป็นสื่อต่าง ๆ เช่น หนังสือการ์ตูน ภาพยนตร์ เพลง รวมถึงละคร มีการก่อสร้างอนุสาวรีย์สุนทรภู่ไว้ที่ตาบลกร่า อาเภอแก ลง จังหวัดระยอง บ้านเกิดของบิดาของสุนทรภู่ และเป็นที่กาเนิดผลงาน นิราศเรื่องแรกของท่านคือ นิราศเมืองแกลง นอกจากนี้ยังมีอนุสาวรีย์แห่ง อื่น ๆ อีก เช่น ที่วัดศรีสุดาราม ที่จังหวัดเพชรบุรี และจังหวัดนครปฐม วัน เกิดของสุนทรภู่คือวันที่26 มิถุนายนของทุกปี ถือเป็น วันสุนทรภู่ ซึ่งเป็น วันสาคัญด้านวรรณกรรมของไทย มีการจัดกิจกรรมเชิดชูเกียรติคุณและ ส่งเสริมศิลปะการประพันธ์บทกวีจากองค์กรต่าง ๆ โดยทั่วไป
  • 6. ต้นตระกูล บันทึกส่วนใหญ่มักระบุถึงต้นตระกูลของสุนทรภู่เพียงว่า บิดา เป็นชาวบ้านกร่า อาเภอแกลง จังหวัดระยอง มารดาเป็น ชาวเมืองอื่น ทั้งนี้เนื่องจากเชื่อถือตามพระนิพนธ์ของสมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานุภาพ เรื่องชีวิตและงานของสุนทร ภู่ ต่อมาในภายหลัง เมื่อมีการค้นพบข้อมูลต่าง ๆ มากยิ่งขึ้น ก็ มีแนวคิดเกี่ยวกับต้นตระกูลของสุนทรภู่แตกต่างกันออกไป นักวิชาการส่วนใหญ่เห็นพ้องกันว่า ฝ่ายบิดาเป็นชาวบ้านกร่า เมืองแกลง จริง เนื่องจากมีปรากฏเนื้อความอยู่ใน นิราศเมือง แกลง ถึงวงศ์วานว่านเครือของสุนทรภู่ แต่ความเห็นเกี่ยวกับ ตระกูลฝ่ายมารดานี้แตกออกเป็นหลายส่วน ส่วนหนึ่งว่าไม่ ทราบที่มาแน่ชัด ส่วนหนึ่งว่าเป็นชาวฉะเชิงเทรา เป็นต้น
  • 7. วัยเยาว์ สุนทรภู่ มีชื่อเดิมว่า เตียวหยุ เกิดในสมัยรัชกาลที่1 แห่งกรุง รัตนโกสินทร์ เมื่อวันจันทร์ เดือน8 ขึ้น 1 ค่า ปีมะเมีย จุลศักราช 1148 เวลาเช้า 2 โมง (ตรงกับวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329) ณ บริเวณด้าน เหนือของพระราชวังหลัง ซึ่งเป็นบริเวณสถานีรถไฟบางกอกน้อย ปัจจุบันนี้ เชื่อว่าหลังจากสุนทรภู่เกิดได้ไม่นาน บิดามารดาก็หย่าร้างกัน บิดาออกไปบวชอยู่ที่วัดป่ากร่าอันเป็นภูมิลาเนาเดิม ส่วนมารดาได้เข้าไป อยู่ในพระราชวังหลัง ถวายตัวเป็นนางนมของพระองค์เจ้าหญิงจงกล พระธิดาในเจ้าฟ้ากรมหลวงอนุรักษ์เทเวศร์
  • 9. ออกบวช ช่วงตกอยาก กุฏิวัดเทพธิดารามที่สุนทรภู่บวชจาพรรษา เป็นสถานที่ ค้นพบวรรณกรรมที่ทรงคุณค่ามากมายเช่น พระอภัย มณี ฯลฯ ที่ท่านเก็บซ่อนไว้ใต้เพดานหลังคากุฏิของท่าน สุนทรภู่รับราชการอยู่เพียง 8 ปี เมื่อถึงปี พ.ศ. 2367 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยเสด็จ สวรรคต หลังจากนั้นสุนทรภู่ก็ออกบวช แต่จะได้ลาออก จากราชการก่อนออกบวชหรือไม่ยังไม่ปรากฏแน่ชัด แม้ จะไม่ปรากฏโดยตรงว่าสุนทรภู่ได้รับพระบรมราชูปถัมภ์ จากราชสานักใหม่ในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว แต่ก็ได้รับพระอุปถัมภ์จากพระบรมวงศานุวงศ์ พระองค์อื่นอยู่เสมอ
  • 10. สุนทรภู่บวชอยู่เป็นเวลา 18 ปี ระหว่างนั้นได้ย้ายไปอยู่วัด ต่าง ๆ หลายแห่ง เท่าที่พบระบุในงานเขียนของท่านได้แก่ วัด เลียบ วัดแจ้ง วัดโพธิ์ วัดมหาธาตุ และวัดเทพธิดาราม งาน เขียนบางชิ้นสื่อให้ทราบว่า ในบางปี ภิกษุภู่เคยต้องเร่ร่อนไม่ มีที่จาพรรษาบ้างเหมือนกัน ผลจากการที่ภิกษุภู่เดินทางธุดงค์ ไปที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศ ปรากฏผลงานเป็นนิราศเรื่องต่าง ๆ มากมาย และเชื่อว่าน่าจะยังมีนิราศที่ค้นไม่พบอีกเป็นจานวน มาก
  • 11. ทายาท สุนทรภู่มีบุตรชายสามคน คือพ่อพัด เกิดจากภรรยาคน แรกคือแม่จัน พ่อตาบ เกิดจากภรรยาคนที่สองคือแม่นิ่ม และพ่อนิล เกิดจากภรรยาที่ชื่อแม่ม่วง นอกจากนี้ปรากฏ ชื่อบุตรบุญธรรมอีกสองคน ชื่อพ่อกลั่น และพ่อชุบ
  • 12. พ่อพัดนี้เป็นลูกรัก ได้ติดสอยห้อยตามสุนทรภู่อยู่เสมอ เมื่อครั้งสุนทรภู่ ออกบวช พ่อพัดก็ออกบวชด้วย เมื่อสุนทรภู่ได้มารับราชการกับเจ้าฟ้ า น้อย พ่อพัดก็มาพานักอยู่ด้วยเช่นกันส่วนพ่อตาบนั้นปรากฏว่าได้เป็น กวีมีชื่ออยู่พอสมควร เมื่อถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้า เจ้าอยู่หัว ทรงตราพระราชบัญญัตินามสกุลขึ้น ตระกูลของสุนทรภู่ได้ ใช้นามสกุลต่อมาว่า ภู่เรือหงส์ (บางสายสกุลอาจเป็น ภู่ระหงษ์) เรื่อง นามสกุลของสุนทรภู่นี้ก.ศ.ร. กุหลาบ เคยเขียนไว้ในหนังสือสยาม ประเภท อ้างถึงผู้ถือนามสกุล ภู่เรือหงส์ ที่ได้รับบาเหน็จจากหมอสมิท เป็นค่าพิมพ์หนังสือเรื่อง พระอภัยมณี
  • 13. อุปนิสัย ตาราโหราศาสตร์ผูกดวงชะตาวันเกิดของสุนทรภู่ไว้เป็นดวง ประเทียบ พร้อมคาอธิบายข้างใต้ดวงชะตาว่า "สุนทรภู่ อาลักษณ์ขี้ เมา"เหตุนี้จึงเป็นที่กล่าวขานกันเสมอมาว่า สุนทรภู่นี้ขี้เหล้านัก ใน งานเขียนของสุนทรภู่เองก็ปรากฏบรรยายถึงความมึนเมาอยู่หลาย ครั้ง แม้จะดูเหมือนว่า สุนทรภู่เองก็รู้ว่าการมึนเมาสุราเป็นสิ่งไม่ดี ได้เขียนตักเตือนผู้อ่านอยู่ในงานเขียนเสมอ การดื่มสุราของสุนทรภู่ อาจเป็นการดื่มเพื่อสังสรรค์และเพื่อสร้างอารมณ์ศิลปิน ด้วยปรากฏ ว่าเรือนสุนทรภู่มักเป็นที่ครึกครื้นรื่นเริงกับหมู่เพื่อนฝูงอยู่เสมอ นอกจากนี้ยังเล่ากันว่า เวลาที่สุนทรภู่กรึ่ม ๆ แล้วอาจสามารถบอก กลอนให้เสมียนถึงสองคนจดตามแทบไม่ทัน
  • 14. ทัศนคติ มากสุนทรภู่ให้ความสาคัญกับการศึกษาอย่างมาก และตอกย้าเรื่องการศึกษาในวรรณคดีหลาย ๆ เรื่อง เช่น ขุนแผนสอนพลายงามว่า "ลูกผู้ชายลายมือนั้น คือยศ เจ้าจงอตส่าห์ทาสม่าเสมียน"หรือที่พระฤๅษี สอนสุดสาครว่า "รู้สิ่งไรไม่สู้รู้วิชา รู้รักษาตัวรอด เป็นยอดดี" โดยที่สุนทรภู่เองก็เป็นผู้สนใจใฝ่ศึกษา หาความรู้ และมีความรู้กว้างขวางอย่างยิ่ง เชื่อว่า สุนทรภู่น่าจะร่วมอยู่ในกลุ่มข้าราชการหัวก้าวหน้า ในยุคสมัยนั้น ที่นิยมวิชาความรู้แบบ ตะวันตก ภาษาอังกฤษ ตลอดกระทั่งแนวคิดยุคใหม่ ที่ให้ความสาคัญกับสตรีขึ้นกว่าเดิม
  • 15. แนวทางการประพันธ์ สุนทรภู่ชานาญงานประพันธ์ประเภทกลอนสุภาพอย่างวิเศษ ได้ริเริ่ม การใช้กลอนสุภาพมาแต่งกลอนนิทาน โดยมี โคบุตร เป็นเรื่องแรก ซึ่งแต่เดิมมากลอนนิทานเท่าที่ปรากฏมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยาล้วนแต่ เป็นกลอนกาพย์ทั้งสิ้นนายเจือ สตะเวทิน ได้กล่าวยกย่องสุนทรภู่ใน การริเริ่มใช้กลอนสุภาพบรรยายเรื่องราวเป็นนิทานว่า "ท่านสุนทรภู่ ได้เริ่มศักราชใหม่แห่งการกวีของเมืองไทย โดยสร้างโคบุตรขึ้นด้วย กลอนสุภาพ นับตั้งแต่เดิมมา เรื่องนิทานมักเขียนเป็นลิลิต ฉันท์ หรือ กาพย์ สุนทรภู่เป็นคนแรกที่เสนอศิลปะของกลอนสุภาพ ในการสร้าง นิทานประโลมโลก
  • 16. ละคร มีการนากลอนนิทานเรื่อง สิงหไตรภพ มาดัดแปลงเป็นละครหลายครั้ง โดยมากมักเปลี่ยนชื่อเป็น สิงหไกรภพ โดยเป็นละครโทรทัศน์แนวจักร ๆ วงศ์ๆ และละครเพลงร่วมสมัยโดยภัทราวดีเธียเตอร์ นอกจากนี้มีเรื่อง ลักษณวงศ์ และ พระอภัยมณี ที่มีการนาเนื้อหาบางส่วนมาดัดแปลง ตอนที่นิยมนามาดัดแปลงมาก ที่สุดคือ เรื่องของสุดสาคร