SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
25 - 29 Sep 2023 ISSUE 222
FINNOMENA PORT
Performance
Source : Marketwatch
*หมายเหตุ “ผลการดําเนินงานในอดีต / ผลการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุนมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดําเนินงานในอนาคต”
Copyright © 2020 FINNOMENA Company Limited. All rights reserved.
Weekly PERFORMANCE
ผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุน
As of 20/09/23 Source : FINNOMENA FUNDS, Morningstar
*หมายเหตุ “ผลการดําเนินงานในอดีต / ผลการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุนมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดําเนินงานในอนาคต”
Copyright © 2020 FINNOMENA Company Limited. All rights reserved.
Weekly PERFORMANCE
ผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุน
As of 20/09/23 Source : FINNOMENA FUNDS, Morningstar
Your Week in FINNOMENA
อัปเดตตลาดประจําสัปดาห์
Source : NY Times
สัปดาห์ที่ผ่านมาตลาดหุ้นสหรัฐฯ (S&P500) ปรับตัวลดลง 2.9%WoW
หลังตลาดทราบผลการประชุมเฟดเมื่อวันที่ 20 ก.ย. ที่ผ่านมา โดยเฟดมีมติ
คงอัตราดอกเบี้ย และส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยอีกในปีนี้เนื่องจากการต่อสู้กับ
เงินเฟ้อยังไม่จบ พร้อมปรับคาดการณ์แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Dot
Plot) ในอนาคตเพิ่มขึ้น โดยส่งสัญญาณปรับขึ้นดอกเบี้ยอีก 0.25% สู่กรอบ
5.50%-5.75% ภายในสิ้นปีนี้ และส่งสัญญาณลดดอกเบี้ยสู่ระดับ 5.1% ภายใน
ช่วงสิ้นปี 2024 และแตะ 3.9% ภายในช่วงสิ้นปี 2025
การคาดการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ เฟดปรับเพิ่มคาดการณ์ GDP สู่ระดับ
2.1% ในปีนี้ จากเดิมคาดที่ระดับ 1.0% และคาดว่าเงินเฟ้อจะลดลงสู่ระดับ 3.3%
ภายในสิ้นปีนี้ โดยจะแตะระดับ 2.5% ภายในสิ้นปี 2024 และแตะระดับ 2.2%
ภายในสิ้นปี 2025 ทั้งนี้เฟดคาดว่าเงินเฟ้อจะกลับสู่เป้าหมายที่ระดับ 2% ในปี
2026 ซึ่งช้ากว่าที่เฟดคาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้
ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (BCOM) ปรับตัวลง 1.2%WoW หลังทราบผลเฟด นํา
โดยราคานํ้ามัน WTI ลดลง 1.0%WoW สู่ระดับ $90.29 ต่อบาร์เรล ขณะที่
ราคาทองคําเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 0.1% WoW สู่ระดับ $1,924 ต่อ Oz.
ตลาดหุ้นยุโรป (STOXX50) ปรับตัวลดลง 1.9%WoW หลังตลาดกังวลว่า
อัตราดอกเบี้ยทั่วโลกจะอยู่ในระดับสูงอีกนาน (Higher for Longer) รวมถึง
ยังถูกกดดันจากการรายงานดัชนี PMI ภาคการผลิตของยุโรปเดือนก.ย. ที่
43.4 ซึ่งแย่กว่าตลาดคาดที่ 44.0 และชะลอลงเล็กน้อยจาก 43.5 ในเดือนส.ค.
Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg, FED as of 25/09/2023
What you have missed
Fed’s Economic Projection
Fed Dot plot
5.1%
3.9%
ตลาดหุ้นญี่ปุ่น (TOPIX) ปรับตัวลดลง 2.2%WoW หลัง BoJ ส่งสัญญาณที่
ไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการดําเนินนโยบายการเงิน
ตลาดหุ้นจีน (CSI300) ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.8%WoW หลังรัฐบาลจีนกําลัง
พิจารณาผ่อนคลายข้อจํากัดการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ
ตลาดหุ้นไทย (SET Index) ปรับตัวลง 1.2%WoW ตาม Sentiment หุ้นโลก
และถูกกดดันจากปัจจัยในประเทศจากความไม่ชัดเจนของนโยบายกระตุ้น
เศรษฐกิจของรัฐบาล เช่น แหล่งที่มาเงินทุนสําหรับนโยบายเงินดิจิทัล 10,000
บาท ซึ่งตลาดมองว่าเป็นการเพิ่มหนี้และทําให้ฐานะทางการคลังอ่อนแอลง
ตลาดหุ้นเวียดนาม (VN30) ปรับตัวลดลง 3.3%WoW จากความกังวลเรื่อง
fundflow ที่ไหลออกจากตลาดหุ้นเอเชีย และค่าเงินของประเทศในภูมิภาค
เอเชียที่อ่อนค่าลง หลังผลการประชุมเฟด รวมถึงมีข่าวธนาคารกลาง
เวียดนามเตรียมขายตั๋วเงินคลังเพื่อพยุงค่าเงินดอง
Japan Government Bond Yield (%)
Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg as of 25/09/2023
Asian Currency against USD
What you have missed
Eyes on This WEEK
สิ่งที่ต้องติดตามในสัปดาห์นี้
Source : The NY Times
สัปดาห์นี้ติดตามการรายงาน GDP 2Q23 ของสหรัฐฯ (ครั้งสุดท้าย)
ตลาดคาดอยู่ที่ 2.2%QoQ จาก 2.0%QoQ ในการประกาศครั้งก่อนหน้า
รวมถึงการรายงานดัชนีราคาการใช้จ่ายด้านผู้บริโภค (Core PCE) เดือน
ส.ค. ซึ่งเป็นตัวชี้วัดด้านเงินเฟ้อที่เฟดให้ความสําคัญ โดยตลาดคาดเพิ่ม
ขึ้น 3.9%YoY ชะลอลงจาก 4.2%YoY ในเดือนก.ค.
ยุโรปจะมีการรายงานเงินเฟ้อเดือนก.ย. โดยตลาดคาดอยู่ที่ 4.6%YoY
ชะลอตัวจาก 5.2%YoY ในเดือนส.ค. ขณะที่เงินเฟ้อเยอรมนีเดือนก.ย.
ตลาดคาดอยู่ที่ 4.5%YoY ชะลอลงจาก 6.1%YoY ในเดือนส.ค. โดยเงินเฟ้อ
ยุโรปมีแนวโน้มชะลอตัวลดลงจากราคาสินค้าที่ไม่ใช่กลุ่มพลังงานชะลอลง
ขณะที่ความเสี่ยงด้านราคาพลังงานและราคาอาหารที่ปรับตัวขึ้นในระยะ
สั้นยังมีอยู่
ในฝั
่ งจีนจะมีการรายงานดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือน ก.ย. โดยตลาด
คาดอยู่ที่ 50.2 จากเดือน 49.7 ในเดือนส.ค. ขณะที่ดัชนี PMI ภาคการ
บริการตลาดคาดอยู่ที่ 51.2 จาก 51.0 ในเดือนส.ค. โดยเศรษฐกิจจีนอยู่ใน
ช่วงฟื้นตัวแบบสะดุด จากภาคการบริโภคในประเทศที่ฟื้นตัวไม่เต็มที่ และ
ปัญหาภาคอสังฯ โดยติดตามมาตรการการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมจาก
ภาครัฐ เพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจจีนสามารถเติบโตได้ตามเป้าหมายของ
รัฐบาลที่ระดับ 5% ในปี 2023
Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg as of 25/09/2023
Eyes On This Week
Core PCE & Europe CPI
Caixin PMI
Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg as of 25/09/2023
Charts of the Week
อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ รุ่นอายุ 10 ปี ขึ้นไปทําจุดสูงสุดที่ 4.1%
สูงที่สุดตั้งแต่ปี 2007 โดยในปี 2007 หากนักลงทุนถือครองพันธบัตรรุ่นดังกล่าว
จนถึงสิ้นปี 2008 นักลงทุนจะได้รับผลตอบแทนกว่า 59% จากการที่ธนาคารกลาง
ปรับลดอัตราดอกเบี้ยไปกว่า 3% ภายในระยะเวลาเพียง 1 ปี
10 Year Treasury Yield Credit Spread
ส่วนต่างดอกเบี้ยพันธบัตร BAA และ พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ รุ่นอายุ 5 ปี อยู่
ตํ่ากว่า 2% ตํ่าที่สุดตั้งแต่ฤดูร้อนปี 2007 จากการที่ดอกเบี้ยพันธบัตร
รัฐบาลสหรัฐฯ ปรับตัวขึ้นตามอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อย่างไรก็ดีภายหลังจุดตํ่า
สุดในปี 2007 เศรษฐกิจสหรัฐฯ ก็เผชิญกับวิกฤติซับไพรม์ ทําให้ส่วนต่างเพิ่มไปที่
7%
ตลาดนํ้ามันดิบเกิดสภาวะขาดแคลนอุปทานใน 2H23 หลังประเทศซาอุ
ดิอาระเบียประกาศขยายเวลาลดกําลังการผลิตนํ้ามันออกไปจนถึงสิ้นปี
2023 ท่ามกลางอุปสงค์ที่ยังคงฟื้นตัว
Source: FINNOMENA FUNDS, Macrobond as of 25/09/2023
Charts of the Week
ข้อมูลสถิติการขึ้นดอกเบี้ยของเฟดพบว่า หลังเฟดหยุดขึ้นดอกเบี้ยไป
แล้วเฉลี่ย 13 เดือน ตั้งแต่ปี 1990 - 2020 มักตามมาด้วยการเกิด
Recession
ตัวเลขเศรษฐกิจ ที่น่าจับตามองประจําสัปดาห์
Economic Calendar
Source : Getty Images
Actual
5.2%
5.3%
1.543M
0.3%
6.7%
5.5%
201K
-13.5
4.04M
5.25%
Source : FINNOMENA FUNDS, Investing as of 23/09/2023
What Have You Missed : Last Week
Economic Calendar
Eyes on This Week
Source : Investing.com
Source : FINNOMENA FUNDS, Investing as of 23/09/2023
Forecast
105.9
700K
2.2%
0.4%
0.2%
4.6%
0.2%
Previous
106.1
714K
0.4%
2.25%
2.1%
201K
0.9%
0.4%
0.2%
5.2%
0.2%
4.2%
26 Sep 2023
US: CB Consumer Confidence (Sep)
US: New Home Sales (Aug)
27 Sep 2023
US: Core Durable Goods Orders (MoM) (Aug)
TH: Interest Rate Decision
28 Sep 2023
US: GDP (QoQ) (Q2)
US: Initial Jobless Claims
US: Pending Home Sales (MoM) (Aug)
29 Sep 2023
UK: GDP (YoY) (Q2)
UK: GDP (QoQ) (Q2)
EU: CPI (YoY) (Sep)
US: Core PCE Price Index (MoM) (Aug)
US: Core PCE Price Index (YoY) (Aug)
Forecast
5.3%
5.3%
1.441M
0.7%
7.1%
5.5%
225K
-0.7
4.1M
5.50%
Previous
5.3%
5.5%
1.443M
-0.4%
6.8%
5.5%
220K
12.0
4.07M
5.25%
19 Sep 2023
EU : CPI (YoY) (Aug)
EU :Core CPI (YoY) (Aug)
US: Building Permits (MoM) (Aug)
20 Sep 2023
UK: CPI (MoM) (Aug)
UK: CPI (YoY) (Aug)
21 Sep 2023
US: Fed Interest Rate Decision
US: Initial Jobless Claims
US: Philadelphia Fed Manufacturing
Index (Sep)
US: Existing Home Sales (Aug)
UK: BoE Interest Rate Decision (Sep)
Source : The NY Times
กลยุทธ์การลงทุนประจําสัปดาห์
Weekly Investment Strategy
Monthly Views on DM Equities
Country Gauge Investment View
Recommendation : ทยอยสะสม AFMOAT-HA
สหรัฐอเมริกา
● ความเสี่ยงของการเกิด recession เลื่อนออกไป จากตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง โดยมี
ภาคบริการที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขณะที่ Fed ใกล้ยุติการขึ้นอัตราดอกเบี้ย
● ผลประกอบการดีกว่าคาด หนุนคาดการณ์กําไรฟื้นตัว เมื่อประกอบกับการปรับฐาน
หนุน Valuation ตึงตัวน้อยลง
Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน
ยุโรป
● ยังถูกกดดันโดยเงินเฟ้อที่สูง การขึ้นอัตราดอกเบี้ยและการบริโภคที่อ่อนแรสร้าง
แรงกดดันต่อเศรษฐกิจต่อเนื่อง
● คาดการณ์กําไรปี 2023 ยังทรงตัว แต่เริ่มเห็นสัญญาณการปรับคาดการณ์ปี
2024 ขึ้นเล็กน้อย Valuation ยังอยู่ในแดนถูก (PE 12X) แต่ระดับการเติบโตตํ่า จึง
แนะนําทยอยลดสัดส่วนการลงทุน
ญี่ปุ่น Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน
● BOJ เริ่มส่งสัญญาณการ tighten ที่มากขึ้น หลังเพิ่มกรอบการเคลื่อนไหวของ
JGB 10 ปี ยังต้องติดตามตัวเลขเงินเฟ้อที่ยังอยู่เหนือกรอบเป้าหมายที่ระดับ 3%
● Citi Econ Surprise เริ่มออกมาติดลบในเดือนที่ผ่านมาสะท้อนตัวเลขเศรษฐกิจจริง
ออกมาแย่กว่าที่คาด สวนทางการปรับประมาณการณ์กําไรเพิ่มขึ้น
● PE อยู่ที่ระดับ 14 เท่า (-1 S.D) แต่ไม่ได้อยู่ในระดับ Deep discounted
Slightly
Underweight
Slightly
Underweight
Slightly
Overweight
Country Gauge Investment View
Recommendation : ทยอยสะสม K-CHINA-A, KT-Ashares-A
Recommendation : ทยอยสะสม PRINCIPAL VNEQ-A
● ภาคการส่งออกชะลอตัวลงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกยังไม่คลี่คลาย
● ปัจจัยกดดันทยอยถูกแก้ไข ความกังในภาคอสังหาฯลดลง มีการปรับอัตราดอกเบี้ย
นโยบายลดลง 3 ครั้งตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
● การประมาณการกําไรยังไม่ปรับขึ้น แต่มองว่า EPS อยู่ที่ Bottom แล้วใน 1Q23
● Valuation อยู่ในระดับที่น่าสนใจเมื่อเทียบกับหุ้นโลก
● การปรับตัวขึ้นต้องรอแรงซื้อจากนักลงทุนเวียดนาม เมื่อเศรษฐกิจชัดเจนมากขึ้น
Recommendation : ทยอยสะสม
● คาดการณ์เศรษฐกิจโดยรวมมีแนวโน้มฟื้นตัวจากภาคการท่องเที่ยว และการ
บริโภคในประเทศฟื้นตัว แต่ยังมีปัญหากลุ่มเปราะบางและยอดหนี้เสียเพิ่มขึ้น
● แรงกดดันด้านดอกเบี้ยลดลงจากเงินเฟ้อในประเทศที่ปรับตัวลง
● Valuation อยู่ในระดับค่าเฉลี่ย ทิศทาง Fundflow ไหลออก ยังคงมีแรงกดดัน
จากการเมืองในประเทศ
● การฟื้นตัวหลังจากผ่อนคลายมาตรการควบคุม Covid-19 เริ่มแผ่วลง โดยเฉพาะ
ภาคการผลิต รวมถึงความมั่นในผู้บริโภคมีการฟื้นตัวแต่ยังตํ่ากว่าภาวะปกติ
● ท่าทีของรัฐบาลจีนที่ยังไม่เร่งรีบกระตุ้นเศรษฐกิจ ส่งผลให้ขาด Catalyst ใหม่ที่จะ
หนุน Performance ตลาดที่ดี
● Valuation ลดลงมาใกล้จุด -1.0 S.D. เมื่อเทียบกับหุ้นโลกยังมีความน่าสนใจ อีกทั้ง
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในระยะยาวยังมี Upside ที่น่าสนใจ จึงแนะนําทยอยสะสม
จีน
เวียดนาม
ไทย
Slightly
Overweight
Monthly Views on EM Equities
Overweight
Slightly
Overweight
Country Gauge Investment View
Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน
Recommendation : ไม่แนะนําลงทุน
● แนวโน้มการเติบโตของ GDP ตํ่ากว่าค่าเฉลี่ยโลก เพราะค่อนข้างขึ้นกับราคาของ
commodity ซึ่งได้รับผลกระทบมากในช่วงเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
● เงินเฟ้อทั่วไปลดตํ่าลงแต่เงินเฟ้อพื้นฐานยังสูง ทําให้ต้องคงดอกเบี้ยระดับสูงไว้อีกนาน
เกิดแรงกดดันการเจริญเติบโต
● Earnings ได้รับผลกระทบจากความกังวลเศรษฐกิจชะลอตัวบางส่วน
● Valuation คลายตัวลงมากจากช่วงปลายปี แต่ยังมีตลาดอื่นที่ถูกและมีโอกาสมากกว่า
● มีสัญญาณการกลับตัว แต่การเติบโตในระยะยาวยังน้อยกว่าประเทศอื่นในกลุ่ม EM
● ธนาคารกลางจีนผ่อนคลายนโยบายโดยการลด RRR และ Loan Prime Rate แต่ตลาดยัง
คาดหวังนโยบายกระตุ้นจากรัฐบาลจีนที่ Impact มากกว่านี้
● กลุ่มไต้หวัน และ เกาหลีใต้ ได้ Sentiment เชิงบวกจากกลุ่มเซมิคอนดัคเตอร์ หรือ AI
● การมีสัดส่วนการลงทุนใน Latam ซึ่งมี Growth ที่คาดว่าจะตํ่ากว่าค่าเฉลี่ยโลก ทําให้
ความน่าสนใจตํ่า ดังนั้น EM อาจมีโอกาสสร้างผลตอบแทนได้ แต่ Underperform จีน
และ Asia Ex Japan ในระยะยาว
Underweight
EM
Neutral
Latin America
Monthly Views on EM Equities
Monthly Views on Fixed Income & Alternative Assets
Asset Class Gauge Investment View
Recommendation : ทยอยสะสม (เก็งกําไร)
● เศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่แย่น้อยกว่าคาด และจีนที่เองมีแนวโน้มกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมใน
อนาคต หนุนอุปสงค์อาจฟื้นตัวมากขึ้นในอนาคต นอกจากนั้นแล้ว Strategic Reserve
ของสหรัฐฯ ที่อยู่ในระดับตํ่า อาจมีโอกาสซื้อนํ้ามันสะสมในอนาคต อาจช่วยเพิ่มอุปสงค์
● ขณะที่อุปทานยังคงตึงตัวจากการขยายเวลาการลดกําลังการผลิตของโอเปค ขณะที่
จํานวนแท่นขุดเจาะในสหรัฐฯ เองลดลงต่อเนื่อง หนุนโอกาสที่นํ้ามันจะมี Upside ได้ถึง
ระดับ 100 USD
นํ้ามัน
Recommendation : ทยอยสะสม SCBGOLDH
● ทองคํายังเป็น safe haven ท่ามกลางความกังวลเศรษฐกิจถดถอย จากการปรับขึ้น
ดอกเบี้ยนโยบาย ล่าสุดอยู่ใกล้จุดพีคซึ่งจะทําให้ดอลลาร์อ่อนค่าและหนุนต่อราคาทองคํา
● Real Yield จะมีการปรับขึ้นซึ่งจะเป็นแรงกดดันในระยะสั้นต่อราคาทองคํา เนื่องจากเมื่อ
เกิดเศรษฐกิจถดถอยเฟดจะกลับทิศทางนโยบายการเงินมาเป็นแบบผ่อนคลายมากขึ้น
และ Real Yield จะปรับตัวลดลง
ทองคํา
Slightly
Overweight
Slightly
Overweight
Monthly Views on Fixed Income & Alternative Assets
Asset Class Gauge Investment View
Recommendation : เพิ่มสัดส่วนการลงทุนใน UGIS-N
Recommendation : เพิ่มสัดส่วนการลงทุนใน KKP ACT FIXED
● เงินเฟ้อไทยลดลงตํ่ากว่าเป้าหมาย 2% ของกนง. ลดความจําเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย
ของกนง. ให้น้อยลง สอดคล้องกับท่าทีกนง. ที่ระบุว่าการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งล่าสุด
เพื่อเป็นอุปกรณ์ทางการเงินในอนาคต
● Yield ของตราสารหนี้อยู่ในระดับที่สูง จากการปรับขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่ผ่านมา หนุนความ
น่าสนใจลงทุน
ตราสารหนี้โลก
ตราสารหนี้ไทย
● เงินเฟ้อสหรัฐฯ ชะลอตัวลงเข้าใกล้กรอบเป้าหมายของ Fed มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
เมื่อพิจารณาจากเงินเฟ้อที่อยู่อาศัยที่มีสัดส่วนสูง ทําให้ FOMC มีท่าทีการขึ้นดอกเบี้ยที่
ชะลอลงต่อเนื่อง ขณะที่ดอกเบี้ยที่ขึ้นมาแล้วกว่า 5.5% หนุนให้อัตราผลตอบแทนของ
ตราสารหนี้น่าสนใจ จากระดับที่สูงที่สุดในรอบ 14 ปี
● แนวโน้ม Higher for Long ถูกรับรู้ไปมากแล้ว หนุนให้การลงทุนในตราสารหนี้มี
Downside จํากัด
Overweight
Overweight
Asset Class Gauge Commentary
Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน
Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน
● มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามจํานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมค่าเช่า และ
จํานวนผู้เช่าอยู่ในแนวโน้มดีขึ้น ทั้งนี้แรงกดดันของกลุ่มกอง REIT หลักมากจากอัตรา
ดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศที่ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปัจจัยดังกล่าวทําให้
ความน่าสนใจของกอง REIT น้อยกว่าเมื่อเทียบกับตราสารหนี้ที่ความเสี่ยงตํ่ากว่า
● ปัจจุบัน REIT ไทยมี Dividend yield gap ที่ระดับ 3% เท่ากับค่าเฉลี่ย 10 ปี
● ยังคงถูกกดดันต่อเนื่องจาก yield ของตราสารหนี้ที่อยู่ในระดับสูงและมีโอกาสเพิ่มสูงขึ้น
ได้อีกเล็กน้อยหากเฟดปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นเพิ่มเติม
● เมื่อมองถึงมิติเรื่องความผันผวนกอง REITs มีโอกาสผัวผวนได้สูงกว่าตราสารหนี้ หาก
เกิดเศรษฐกิจถดถอย จึงทําให้ภาพรวมกอง REITs ยังมีความน่าสนใจน้อย เมื่อ
เปรียบเทียบกับตราสารหนี้
REIT โลก
REIT ไทย
Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน
● ยังเผชิญกับแรงกดดันต่อเนื่อง จากการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้เงินลงทุนเป็น
จํานวนมาก และปัจจุบันต้นทุนทางการเงินยังอยู่ในระดับสูง และมีแนวโน้มว่าอาจจะสูงขึ้นได้
อีก จากการที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังส่งสัญญาณการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
บวกกับแนวโน้มเศรษฐกิจที่เริ่มชะลอตัวลอตัว ทําให้การลงทุนที่ใช้เงินสูงทําได้ยากขึ้น
Global Infra
Slightly
Underweight
Slightly
Underweight
Neutral
Monthly Views on Fixed Income & Alternative Assets
Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน
● ประเด็นด้านการเมืองที่จะถูกนํามาใช้หาเสียงในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ อาจ
เข้ามากดดันได้ในช่วงปี 2024 แต่ในระดับที่ตํ่าลง จากประเด็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศที่เข้มข้นมากขึ้น
● แนะนําถือครอง จากการเป็นหุ้น Defensive ที่ Price in ข่าวร้ายเฉพาะกลุ่มไปมากแล้ว
ทําให้อาจมีโอกาสถือครองผ่านช่วงเศรษฐกิจถดถอยได้ ในฐานะ Beta หุ้นของพอร์ต แต่
มีความผันผวนที่ตํ่ากว่าหุ้นโดยรวม
Monthly Views on Thematic
Asset Class Gauge Commentary
Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน
Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน
● ยังน่าสนใจลงทุนในระยะยาว จากแรงสนับสนุนของรัฐบาลทั่วโลก
● การปรับตัวขึ้นในข่วงที่ผ่านมา นําโดยกลุ่ม Solar Cell จากต้นทุนการผลิตที่ลดลง หนุนให้
Valuation ตึงตัว ก่อนจะพักฐานในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาช่วยผ่อนคลายความตึงตัวได้
บางส่วน ขณะที่ผลประกอบการดีกว่าคาด แต่คาดการณ์การเติบโตยังตํ่ากว่าภาพรวม
● แนะนําคงสัดส่วนการลงทุน
● หุ้นกลุ่ม Technology ขนาดใหญ่กลับมา Outperform หุ้นในภาพรวม หลังความคาดหวัง
การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยลดลง จากการคลายความกังวลเศรษฐกิจชะลอตัว และความ
คาดหวังการเติบโตที่ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยหุ้นทั่วโลก
● เมื่อพิจารณาในแง่ของ Valuation อยู่ในระดับที่แพง ประกอบกับความกังวลเรื่อง
เศรษฐกิจชะลอตัวที่น่าจะยังมีอยู่ในอนาคต จะส่งผลให้หุ้นเทคโนโลยี ยังมี Downside อยู่
● แนะนํารอโอกาสเข้าลงทุน เพื่อรอสถานการณ์ให้ชัดเจน หรือ Valuation คลายตัวมากขึ้น
Tech
Clean Energy
Healthcare
Neutral
Neutral
Neutral
Fund Highlight
กองทุนแนะนําประจําสัปดาห์
Source : Getty Images
- สําหรับการลงทุนระยะ 3-6 เดือน
- นักลงทุนที่รับความเสี่ยงได้
Tactical Call
Sell
Buy Hold
แนะนํา
จุด Take Profit
และ Stop Loss
- สามารถ Cut Loss ได้
- มีการกําหนดระดับจุดเข้า/เป้าหมายทํากําไร/Stop Loss ที่ชัดเจน
สถานะปัจจุบัน
K-SEMQ
TMBEMEQ
Emerging Market
(16/11/2022)
Take Profit: 43.10
Stop loss: 37.00
Update 17/08/2023
CSI300
(09/01/2023)
Take Profit: 4,430
Stop loss: 3,450 ถึง 3,500
Update 12/06/2023
SCBCHA
KT-Ashare-A
Take Profit: 2,860
Stop loss: MA 200 Days
Update 28/08/2023
KOSPI
(13/07/2023)
SCBKEQTG
Nasdaq BANK
(19/09/2023)
KWI USBANK-A
Take Profit: 3,900
Stop loss: MA 100 Days
E-Sport
(04/09/2023)
LHESPORT-A
Take Profit: 59.20 &62.10
Stop loss: 51.80
- สําหรับการลงทุนระยะ 6-12 เดือน เป็นต้นไป
- เป็นกองทุนที่มีแนวโน้นให้ผลตอบแทนดีตามปัจจัย MEVT (Macroeconomic Earnings Valuation Technical)
- มีโอกาสเปลี่ยนแปลงจุด cut loss หรือ take profit ตามปัจจัย MEVT ที่เปลี่ยนไป
MEVT Call
ปัจจัยที่โดดเด่น
กองทุน
แนะนํา
สถานะ
ปัจจุบัน
Macro Earnings Valuation Technical
UGIS-N
(19/01/2023)
PRINCIPAL
VNEQ-A
(26/01/2023)
แรงกดดันเงินเฟ้อ และ
ดอกเบี้ยลดลง
ศักยภาพการเติบโตสูง
ได้อานิสงส์จากจีนเปิด
ประเทศ
Yield อยู่ในระดับน่า
สนใจ และกําลังจะปรับ
ตัวลง
ในอดีตตราสารหนี้มัก
สร้างผลตอบแทนดี
หลังเงินเฟ้อพีค
Buy
Buy
แนวโน้มกําไรยังเติบโต
ได้สูง คาดเติบโตกว่า
15%
ปรับลงมาถูกระดับ
เดียวกับ Covid-19 อีก
ครั้ง
เริ่มมีการกระแสเงินทุน
จากต่างชาติไหลกลับ
เข้ามา
K-CHINA-A
(09/02/2023)
ตัวเลขเศรษฐกิจดีขึ้น
ความกังวลต่างๆ
คลี่คลาย มีแนวโน้ม
กระตุ้นเพิ่มเติม
Buy
อัตราการเติบโตยังโดด
เด่นทั้ง รายได้และกําไร
อยู่ในระดับถูก Deep
Discount เมื่อเทียบกับ
หุ้นโลก
Flow ต่างชาติ
สะสมต่อเนื่อง
As of 07/06/2023
SCBKEQTG
(08/08/2023)
การสิ้นสุด cycle
de-stocking ชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์
Buy
Forward EPS ปี 2024
ถูกปรับขึ้นกว่า 55%
Forward PE 24M ถูก
ว่าค่าเฉลี่ยของตัวเอง
Uptrend Channel
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf

More Related Content

Similar to FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf

ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
SCBEICSCB
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
SCBEICSCB
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
SCBEICSCB
 

Similar to FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf (20)

FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_7_#239.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_7_#239.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 2024_7_#239.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_7_#239.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 221.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 221
FINNOMENA Weekly Market Insight 221FINNOMENA Weekly Market Insight 221
FINNOMENA Weekly Market Insight 221
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_3_#235.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_3_#235.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 2024_3_#235.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_3_#235.pdf
 
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
FINNOMENA FUNDS Weekly Market Insight 228
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 231.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 232.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 232.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 232.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 232.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 230.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 225 (1).pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 225 (1).pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 225 (1).pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 225 (1).pdf
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_2_#234.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_2_#234.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 2024_2_#234.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_2_#234.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 225.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 225.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 225.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 225.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 227.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 227.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 227.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 227.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_1_#233.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_1_#233.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 2024_1_#233.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_1_#233.pdf
 
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐก...
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 224.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 224.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 224.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 224.pdf
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_9_#241.pdf
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
 
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
อุตสาหกรรมยานยนต์ปี 2023 มีแนวโน้มฟื้นตัวสอดคล้องกับเศรษฐกิจไทย แต่ต้องจับตาค...
 

More from FINNOMENAMarketing

More from FINNOMENAMarketing (14)

20240503_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
20240503_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...20240503_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
20240503_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_13_#245.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_13_#245.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_13_#245.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_13_#245.pdf
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_12_#244.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_12_#244.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_12_#244.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_12_#244.pdf
 
20240403_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review March 2024.pdf
20240403_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review March 2024.pdf20240403_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review March 2024.pdf
20240403_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review March 2024.pdf
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_11_#243.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_11_#243.pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_11_#243.pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_11_#243.pdf
 
20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
 
20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
20240305_A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review ...
 
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
Finnomena Monthly Investment Outlook Feb 2024
 
20240205_A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-January-2024
20240205_A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-January-202420240205_A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-January-2024
20240205_A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-January-2024
 
20240104_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review December 2023.pdf
20240104_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review December 2023.pdf20240104_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review December 2023.pdf
20240104_A. Stotz All Weather Strategy - Performance review December 2023.pdf
 
2024-Yearly-Outlook
2024-Yearly-Outlook2024-Yearly-Outlook
2024-Yearly-Outlook
 
A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review Dec 2023.pdf
A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review Dec 2023.pdfA. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review Dec 2023.pdf
A. Stotz All Weather Strategy - Weights update & Performance review Dec 2023.pdf
 
A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-October-2023.pdf
A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-October-2023.pdfA.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-October-2023.pdf
A.-Stotz-All-Weather-Strategy-Performance-review-October-2023.pdf
 
PDF for 202311 Monthly.pdf
PDF for 202311 Monthly.pdfPDF for 202311 Monthly.pdf
PDF for 202311 Monthly.pdf
 

FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf

  • 1. 25 - 29 Sep 2023 ISSUE 222
  • 3. *หมายเหตุ “ผลการดําเนินงานในอดีต / ผลการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุนมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดําเนินงานในอนาคต” Copyright © 2020 FINNOMENA Company Limited. All rights reserved. Weekly PERFORMANCE ผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุน As of 20/09/23 Source : FINNOMENA FUNDS, Morningstar
  • 4. *หมายเหตุ “ผลการดําเนินงานในอดีต / ผลการเปรียบเทียบผลการดําเนินงานที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในตลาดทุนมิได้เป็นสิ่งยืนยันถึงผลการดําเนินงานในอนาคต” Copyright © 2020 FINNOMENA Company Limited. All rights reserved. Weekly PERFORMANCE ผลตอบแทนของพอร์ตการลงทุน As of 20/09/23 Source : FINNOMENA FUNDS, Morningstar
  • 5. Your Week in FINNOMENA อัปเดตตลาดประจําสัปดาห์ Source : NY Times
  • 6. สัปดาห์ที่ผ่านมาตลาดหุ้นสหรัฐฯ (S&P500) ปรับตัวลดลง 2.9%WoW หลังตลาดทราบผลการประชุมเฟดเมื่อวันที่ 20 ก.ย. ที่ผ่านมา โดยเฟดมีมติ คงอัตราดอกเบี้ย และส่งสัญญาณขึ้นดอกเบี้ยอีกในปีนี้เนื่องจากการต่อสู้กับ เงินเฟ้อยังไม่จบ พร้อมปรับคาดการณ์แนวโน้มอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Dot Plot) ในอนาคตเพิ่มขึ้น โดยส่งสัญญาณปรับขึ้นดอกเบี้ยอีก 0.25% สู่กรอบ 5.50%-5.75% ภายในสิ้นปีนี้ และส่งสัญญาณลดดอกเบี้ยสู่ระดับ 5.1% ภายใน ช่วงสิ้นปี 2024 และแตะ 3.9% ภายในช่วงสิ้นปี 2025 การคาดการณ์เศรษฐกิจสหรัฐฯ เฟดปรับเพิ่มคาดการณ์ GDP สู่ระดับ 2.1% ในปีนี้ จากเดิมคาดที่ระดับ 1.0% และคาดว่าเงินเฟ้อจะลดลงสู่ระดับ 3.3% ภายในสิ้นปีนี้ โดยจะแตะระดับ 2.5% ภายในสิ้นปี 2024 และแตะระดับ 2.2% ภายในสิ้นปี 2025 ทั้งนี้เฟดคาดว่าเงินเฟ้อจะกลับสู่เป้าหมายที่ระดับ 2% ในปี 2026 ซึ่งช้ากว่าที่เฟดคาดการณ์ไว้ก่อนหน้านี้ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ (BCOM) ปรับตัวลง 1.2%WoW หลังทราบผลเฟด นํา โดยราคานํ้ามัน WTI ลดลง 1.0%WoW สู่ระดับ $90.29 ต่อบาร์เรล ขณะที่ ราคาทองคําเพิ่มขึ้นเล็กน้อย 0.1% WoW สู่ระดับ $1,924 ต่อ Oz. ตลาดหุ้นยุโรป (STOXX50) ปรับตัวลดลง 1.9%WoW หลังตลาดกังวลว่า อัตราดอกเบี้ยทั่วโลกจะอยู่ในระดับสูงอีกนาน (Higher for Longer) รวมถึง ยังถูกกดดันจากการรายงานดัชนี PMI ภาคการผลิตของยุโรปเดือนก.ย. ที่ 43.4 ซึ่งแย่กว่าตลาดคาดที่ 44.0 และชะลอลงเล็กน้อยจาก 43.5 ในเดือนส.ค. Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg, FED as of 25/09/2023 What you have missed Fed’s Economic Projection Fed Dot plot 5.1% 3.9%
  • 7. ตลาดหุ้นญี่ปุ่น (TOPIX) ปรับตัวลดลง 2.2%WoW หลัง BoJ ส่งสัญญาณที่ ไม่ชัดเจนเกี่ยวกับการดําเนินนโยบายการเงิน ตลาดหุ้นจีน (CSI300) ปรับตัวเพิ่มขึ้น 0.8%WoW หลังรัฐบาลจีนกําลัง พิจารณาผ่อนคลายข้อจํากัดการถือหุ้นของนักลงทุนต่างชาติ ตลาดหุ้นไทย (SET Index) ปรับตัวลง 1.2%WoW ตาม Sentiment หุ้นโลก และถูกกดดันจากปัจจัยในประเทศจากความไม่ชัดเจนของนโยบายกระตุ้น เศรษฐกิจของรัฐบาล เช่น แหล่งที่มาเงินทุนสําหรับนโยบายเงินดิจิทัล 10,000 บาท ซึ่งตลาดมองว่าเป็นการเพิ่มหนี้และทําให้ฐานะทางการคลังอ่อนแอลง ตลาดหุ้นเวียดนาม (VN30) ปรับตัวลดลง 3.3%WoW จากความกังวลเรื่อง fundflow ที่ไหลออกจากตลาดหุ้นเอเชีย และค่าเงินของประเทศในภูมิภาค เอเชียที่อ่อนค่าลง หลังผลการประชุมเฟด รวมถึงมีข่าวธนาคารกลาง เวียดนามเตรียมขายตั๋วเงินคลังเพื่อพยุงค่าเงินดอง Japan Government Bond Yield (%) Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg as of 25/09/2023 Asian Currency against USD What you have missed
  • 8. Eyes on This WEEK สิ่งที่ต้องติดตามในสัปดาห์นี้ Source : The NY Times
  • 9. สัปดาห์นี้ติดตามการรายงาน GDP 2Q23 ของสหรัฐฯ (ครั้งสุดท้าย) ตลาดคาดอยู่ที่ 2.2%QoQ จาก 2.0%QoQ ในการประกาศครั้งก่อนหน้า รวมถึงการรายงานดัชนีราคาการใช้จ่ายด้านผู้บริโภค (Core PCE) เดือน ส.ค. ซึ่งเป็นตัวชี้วัดด้านเงินเฟ้อที่เฟดให้ความสําคัญ โดยตลาดคาดเพิ่ม ขึ้น 3.9%YoY ชะลอลงจาก 4.2%YoY ในเดือนก.ค. ยุโรปจะมีการรายงานเงินเฟ้อเดือนก.ย. โดยตลาดคาดอยู่ที่ 4.6%YoY ชะลอตัวจาก 5.2%YoY ในเดือนส.ค. ขณะที่เงินเฟ้อเยอรมนีเดือนก.ย. ตลาดคาดอยู่ที่ 4.5%YoY ชะลอลงจาก 6.1%YoY ในเดือนส.ค. โดยเงินเฟ้อ ยุโรปมีแนวโน้มชะลอตัวลดลงจากราคาสินค้าที่ไม่ใช่กลุ่มพลังงานชะลอลง ขณะที่ความเสี่ยงด้านราคาพลังงานและราคาอาหารที่ปรับตัวขึ้นในระยะ สั้นยังมีอยู่ ในฝั ่ งจีนจะมีการรายงานดัชนี PMI ภาคการผลิตเดือน ก.ย. โดยตลาด คาดอยู่ที่ 50.2 จากเดือน 49.7 ในเดือนส.ค. ขณะที่ดัชนี PMI ภาคการ บริการตลาดคาดอยู่ที่ 51.2 จาก 51.0 ในเดือนส.ค. โดยเศรษฐกิจจีนอยู่ใน ช่วงฟื้นตัวแบบสะดุด จากภาคการบริโภคในประเทศที่ฟื้นตัวไม่เต็มที่ และ ปัญหาภาคอสังฯ โดยติดตามมาตรการการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมจาก ภาครัฐ เพื่อสนับสนุนให้เศรษฐกิจจีนสามารถเติบโตได้ตามเป้าหมายของ รัฐบาลที่ระดับ 5% ในปี 2023 Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg as of 25/09/2023 Eyes On This Week Core PCE & Europe CPI Caixin PMI
  • 10. Source: FINNOMENA FUNDS, Bloomberg as of 25/09/2023 Charts of the Week อัตราดอกเบี้ยพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ รุ่นอายุ 10 ปี ขึ้นไปทําจุดสูงสุดที่ 4.1% สูงที่สุดตั้งแต่ปี 2007 โดยในปี 2007 หากนักลงทุนถือครองพันธบัตรรุ่นดังกล่าว จนถึงสิ้นปี 2008 นักลงทุนจะได้รับผลตอบแทนกว่า 59% จากการที่ธนาคารกลาง ปรับลดอัตราดอกเบี้ยไปกว่า 3% ภายในระยะเวลาเพียง 1 ปี 10 Year Treasury Yield Credit Spread ส่วนต่างดอกเบี้ยพันธบัตร BAA และ พันธบัตรรัฐบาลสหรัฐฯ รุ่นอายุ 5 ปี อยู่ ตํ่ากว่า 2% ตํ่าที่สุดตั้งแต่ฤดูร้อนปี 2007 จากการที่ดอกเบี้ยพันธบัตร รัฐบาลสหรัฐฯ ปรับตัวขึ้นตามอัตราดอกเบี้ยนโยบาย อย่างไรก็ดีภายหลังจุดตํ่า สุดในปี 2007 เศรษฐกิจสหรัฐฯ ก็เผชิญกับวิกฤติซับไพรม์ ทําให้ส่วนต่างเพิ่มไปที่ 7%
  • 11. ตลาดนํ้ามันดิบเกิดสภาวะขาดแคลนอุปทานใน 2H23 หลังประเทศซาอุ ดิอาระเบียประกาศขยายเวลาลดกําลังการผลิตนํ้ามันออกไปจนถึงสิ้นปี 2023 ท่ามกลางอุปสงค์ที่ยังคงฟื้นตัว Source: FINNOMENA FUNDS, Macrobond as of 25/09/2023 Charts of the Week ข้อมูลสถิติการขึ้นดอกเบี้ยของเฟดพบว่า หลังเฟดหยุดขึ้นดอกเบี้ยไป แล้วเฉลี่ย 13 เดือน ตั้งแต่ปี 1990 - 2020 มักตามมาด้วยการเกิด Recession
  • 13. Actual 5.2% 5.3% 1.543M 0.3% 6.7% 5.5% 201K -13.5 4.04M 5.25% Source : FINNOMENA FUNDS, Investing as of 23/09/2023 What Have You Missed : Last Week Economic Calendar Eyes on This Week Source : Investing.com Source : FINNOMENA FUNDS, Investing as of 23/09/2023 Forecast 105.9 700K 2.2% 0.4% 0.2% 4.6% 0.2% Previous 106.1 714K 0.4% 2.25% 2.1% 201K 0.9% 0.4% 0.2% 5.2% 0.2% 4.2% 26 Sep 2023 US: CB Consumer Confidence (Sep) US: New Home Sales (Aug) 27 Sep 2023 US: Core Durable Goods Orders (MoM) (Aug) TH: Interest Rate Decision 28 Sep 2023 US: GDP (QoQ) (Q2) US: Initial Jobless Claims US: Pending Home Sales (MoM) (Aug) 29 Sep 2023 UK: GDP (YoY) (Q2) UK: GDP (QoQ) (Q2) EU: CPI (YoY) (Sep) US: Core PCE Price Index (MoM) (Aug) US: Core PCE Price Index (YoY) (Aug) Forecast 5.3% 5.3% 1.441M 0.7% 7.1% 5.5% 225K -0.7 4.1M 5.50% Previous 5.3% 5.5% 1.443M -0.4% 6.8% 5.5% 220K 12.0 4.07M 5.25% 19 Sep 2023 EU : CPI (YoY) (Aug) EU :Core CPI (YoY) (Aug) US: Building Permits (MoM) (Aug) 20 Sep 2023 UK: CPI (MoM) (Aug) UK: CPI (YoY) (Aug) 21 Sep 2023 US: Fed Interest Rate Decision US: Initial Jobless Claims US: Philadelphia Fed Manufacturing Index (Sep) US: Existing Home Sales (Aug) UK: BoE Interest Rate Decision (Sep)
  • 14. Source : The NY Times กลยุทธ์การลงทุนประจําสัปดาห์ Weekly Investment Strategy
  • 15. Monthly Views on DM Equities Country Gauge Investment View Recommendation : ทยอยสะสม AFMOAT-HA สหรัฐอเมริกา ● ความเสี่ยงของการเกิด recession เลื่อนออกไป จากตลาดแรงงานที่แข็งแกร่ง โดยมี ภาคบริการที่เป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ขณะที่ Fed ใกล้ยุติการขึ้นอัตราดอกเบี้ย ● ผลประกอบการดีกว่าคาด หนุนคาดการณ์กําไรฟื้นตัว เมื่อประกอบกับการปรับฐาน หนุน Valuation ตึงตัวน้อยลง Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน ยุโรป ● ยังถูกกดดันโดยเงินเฟ้อที่สูง การขึ้นอัตราดอกเบี้ยและการบริโภคที่อ่อนแรสร้าง แรงกดดันต่อเศรษฐกิจต่อเนื่อง ● คาดการณ์กําไรปี 2023 ยังทรงตัว แต่เริ่มเห็นสัญญาณการปรับคาดการณ์ปี 2024 ขึ้นเล็กน้อย Valuation ยังอยู่ในแดนถูก (PE 12X) แต่ระดับการเติบโตตํ่า จึง แนะนําทยอยลดสัดส่วนการลงทุน ญี่ปุ่น Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน ● BOJ เริ่มส่งสัญญาณการ tighten ที่มากขึ้น หลังเพิ่มกรอบการเคลื่อนไหวของ JGB 10 ปี ยังต้องติดตามตัวเลขเงินเฟ้อที่ยังอยู่เหนือกรอบเป้าหมายที่ระดับ 3% ● Citi Econ Surprise เริ่มออกมาติดลบในเดือนที่ผ่านมาสะท้อนตัวเลขเศรษฐกิจจริง ออกมาแย่กว่าที่คาด สวนทางการปรับประมาณการณ์กําไรเพิ่มขึ้น ● PE อยู่ที่ระดับ 14 เท่า (-1 S.D) แต่ไม่ได้อยู่ในระดับ Deep discounted Slightly Underweight Slightly Underweight Slightly Overweight
  • 16. Country Gauge Investment View Recommendation : ทยอยสะสม K-CHINA-A, KT-Ashares-A Recommendation : ทยอยสะสม PRINCIPAL VNEQ-A ● ภาคการส่งออกชะลอตัวลงจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลกยังไม่คลี่คลาย ● ปัจจัยกดดันทยอยถูกแก้ไข ความกังในภาคอสังหาฯลดลง มีการปรับอัตราดอกเบี้ย นโยบายลดลง 3 ครั้งตั้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ● การประมาณการกําไรยังไม่ปรับขึ้น แต่มองว่า EPS อยู่ที่ Bottom แล้วใน 1Q23 ● Valuation อยู่ในระดับที่น่าสนใจเมื่อเทียบกับหุ้นโลก ● การปรับตัวขึ้นต้องรอแรงซื้อจากนักลงทุนเวียดนาม เมื่อเศรษฐกิจชัดเจนมากขึ้น Recommendation : ทยอยสะสม ● คาดการณ์เศรษฐกิจโดยรวมมีแนวโน้มฟื้นตัวจากภาคการท่องเที่ยว และการ บริโภคในประเทศฟื้นตัว แต่ยังมีปัญหากลุ่มเปราะบางและยอดหนี้เสียเพิ่มขึ้น ● แรงกดดันด้านดอกเบี้ยลดลงจากเงินเฟ้อในประเทศที่ปรับตัวลง ● Valuation อยู่ในระดับค่าเฉลี่ย ทิศทาง Fundflow ไหลออก ยังคงมีแรงกดดัน จากการเมืองในประเทศ ● การฟื้นตัวหลังจากผ่อนคลายมาตรการควบคุม Covid-19 เริ่มแผ่วลง โดยเฉพาะ ภาคการผลิต รวมถึงความมั่นในผู้บริโภคมีการฟื้นตัวแต่ยังตํ่ากว่าภาวะปกติ ● ท่าทีของรัฐบาลจีนที่ยังไม่เร่งรีบกระตุ้นเศรษฐกิจ ส่งผลให้ขาด Catalyst ใหม่ที่จะ หนุน Performance ตลาดที่ดี ● Valuation ลดลงมาใกล้จุด -1.0 S.D. เมื่อเทียบกับหุ้นโลกยังมีความน่าสนใจ อีกทั้ง การฟื้นตัวของเศรษฐกิจในระยะยาวยังมี Upside ที่น่าสนใจ จึงแนะนําทยอยสะสม จีน เวียดนาม ไทย Slightly Overweight Monthly Views on EM Equities Overweight Slightly Overweight
  • 17. Country Gauge Investment View Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน Recommendation : ไม่แนะนําลงทุน ● แนวโน้มการเติบโตของ GDP ตํ่ากว่าค่าเฉลี่ยโลก เพราะค่อนข้างขึ้นกับราคาของ commodity ซึ่งได้รับผลกระทบมากในช่วงเศรษฐกิจโลกชะลอตัว ● เงินเฟ้อทั่วไปลดตํ่าลงแต่เงินเฟ้อพื้นฐานยังสูง ทําให้ต้องคงดอกเบี้ยระดับสูงไว้อีกนาน เกิดแรงกดดันการเจริญเติบโต ● Earnings ได้รับผลกระทบจากความกังวลเศรษฐกิจชะลอตัวบางส่วน ● Valuation คลายตัวลงมากจากช่วงปลายปี แต่ยังมีตลาดอื่นที่ถูกและมีโอกาสมากกว่า ● มีสัญญาณการกลับตัว แต่การเติบโตในระยะยาวยังน้อยกว่าประเทศอื่นในกลุ่ม EM ● ธนาคารกลางจีนผ่อนคลายนโยบายโดยการลด RRR และ Loan Prime Rate แต่ตลาดยัง คาดหวังนโยบายกระตุ้นจากรัฐบาลจีนที่ Impact มากกว่านี้ ● กลุ่มไต้หวัน และ เกาหลีใต้ ได้ Sentiment เชิงบวกจากกลุ่มเซมิคอนดัคเตอร์ หรือ AI ● การมีสัดส่วนการลงทุนใน Latam ซึ่งมี Growth ที่คาดว่าจะตํ่ากว่าค่าเฉลี่ยโลก ทําให้ ความน่าสนใจตํ่า ดังนั้น EM อาจมีโอกาสสร้างผลตอบแทนได้ แต่ Underperform จีน และ Asia Ex Japan ในระยะยาว Underweight EM Neutral Latin America Monthly Views on EM Equities
  • 18. Monthly Views on Fixed Income & Alternative Assets Asset Class Gauge Investment View Recommendation : ทยอยสะสม (เก็งกําไร) ● เศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่แย่น้อยกว่าคาด และจีนที่เองมีแนวโน้มกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติมใน อนาคต หนุนอุปสงค์อาจฟื้นตัวมากขึ้นในอนาคต นอกจากนั้นแล้ว Strategic Reserve ของสหรัฐฯ ที่อยู่ในระดับตํ่า อาจมีโอกาสซื้อนํ้ามันสะสมในอนาคต อาจช่วยเพิ่มอุปสงค์ ● ขณะที่อุปทานยังคงตึงตัวจากการขยายเวลาการลดกําลังการผลิตของโอเปค ขณะที่ จํานวนแท่นขุดเจาะในสหรัฐฯ เองลดลงต่อเนื่อง หนุนโอกาสที่นํ้ามันจะมี Upside ได้ถึง ระดับ 100 USD นํ้ามัน Recommendation : ทยอยสะสม SCBGOLDH ● ทองคํายังเป็น safe haven ท่ามกลางความกังวลเศรษฐกิจถดถอย จากการปรับขึ้น ดอกเบี้ยนโยบาย ล่าสุดอยู่ใกล้จุดพีคซึ่งจะทําให้ดอลลาร์อ่อนค่าและหนุนต่อราคาทองคํา ● Real Yield จะมีการปรับขึ้นซึ่งจะเป็นแรงกดดันในระยะสั้นต่อราคาทองคํา เนื่องจากเมื่อ เกิดเศรษฐกิจถดถอยเฟดจะกลับทิศทางนโยบายการเงินมาเป็นแบบผ่อนคลายมากขึ้น และ Real Yield จะปรับตัวลดลง ทองคํา Slightly Overweight Slightly Overweight
  • 19. Monthly Views on Fixed Income & Alternative Assets Asset Class Gauge Investment View Recommendation : เพิ่มสัดส่วนการลงทุนใน UGIS-N Recommendation : เพิ่มสัดส่วนการลงทุนใน KKP ACT FIXED ● เงินเฟ้อไทยลดลงตํ่ากว่าเป้าหมาย 2% ของกนง. ลดความจําเป็นการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย ของกนง. ให้น้อยลง สอดคล้องกับท่าทีกนง. ที่ระบุว่าการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งล่าสุด เพื่อเป็นอุปกรณ์ทางการเงินในอนาคต ● Yield ของตราสารหนี้อยู่ในระดับที่สูง จากการปรับขึ้นดอกเบี้ยในช่วงที่ผ่านมา หนุนความ น่าสนใจลงทุน ตราสารหนี้โลก ตราสารหนี้ไทย ● เงินเฟ้อสหรัฐฯ ชะลอตัวลงเข้าใกล้กรอบเป้าหมายของ Fed มากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อพิจารณาจากเงินเฟ้อที่อยู่อาศัยที่มีสัดส่วนสูง ทําให้ FOMC มีท่าทีการขึ้นดอกเบี้ยที่ ชะลอลงต่อเนื่อง ขณะที่ดอกเบี้ยที่ขึ้นมาแล้วกว่า 5.5% หนุนให้อัตราผลตอบแทนของ ตราสารหนี้น่าสนใจ จากระดับที่สูงที่สุดในรอบ 14 ปี ● แนวโน้ม Higher for Long ถูกรับรู้ไปมากแล้ว หนุนให้การลงทุนในตราสารหนี้มี Downside จํากัด Overweight Overweight
  • 20. Asset Class Gauge Commentary Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน ● มีแนวโน้มปรับตัวดีขึ้นตามจํานวนนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น ส่งผลให้ภาพรวมค่าเช่า และ จํานวนผู้เช่าอยู่ในแนวโน้มดีขึ้น ทั้งนี้แรงกดดันของกลุ่มกอง REIT หลักมากจากอัตรา ดอกเบี้ยนโยบายของธนาคารแห่งประเทศที่ยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปัจจัยดังกล่าวทําให้ ความน่าสนใจของกอง REIT น้อยกว่าเมื่อเทียบกับตราสารหนี้ที่ความเสี่ยงตํ่ากว่า ● ปัจจุบัน REIT ไทยมี Dividend yield gap ที่ระดับ 3% เท่ากับค่าเฉลี่ย 10 ปี ● ยังคงถูกกดดันต่อเนื่องจาก yield ของตราสารหนี้ที่อยู่ในระดับสูงและมีโอกาสเพิ่มสูงขึ้น ได้อีกเล็กน้อยหากเฟดปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นเพิ่มเติม ● เมื่อมองถึงมิติเรื่องความผันผวนกอง REITs มีโอกาสผัวผวนได้สูงกว่าตราสารหนี้ หาก เกิดเศรษฐกิจถดถอย จึงทําให้ภาพรวมกอง REITs ยังมีความน่าสนใจน้อย เมื่อ เปรียบเทียบกับตราสารหนี้ REIT โลก REIT ไทย Recommendation : ทยอยลดสัดส่วนการลงทุน ● ยังเผชิญกับแรงกดดันต่อเนื่อง จากการลงทุนในโครงสร้างพื้นฐานที่ใช้เงินลงทุนเป็น จํานวนมาก และปัจจุบันต้นทุนทางการเงินยังอยู่ในระดับสูง และมีแนวโน้มว่าอาจจะสูงขึ้นได้ อีก จากการที่ธนาคารกลางสหรัฐฯ ยังส่งสัญญาณการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย บวกกับแนวโน้มเศรษฐกิจที่เริ่มชะลอตัวลอตัว ทําให้การลงทุนที่ใช้เงินสูงทําได้ยากขึ้น Global Infra Slightly Underweight Slightly Underweight Neutral Monthly Views on Fixed Income & Alternative Assets
  • 21. Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน ● ประเด็นด้านการเมืองที่จะถูกนํามาใช้หาเสียงในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐฯ อาจ เข้ามากดดันได้ในช่วงปี 2024 แต่ในระดับที่ตํ่าลง จากประเด็นความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศที่เข้มข้นมากขึ้น ● แนะนําถือครอง จากการเป็นหุ้น Defensive ที่ Price in ข่าวร้ายเฉพาะกลุ่มไปมากแล้ว ทําให้อาจมีโอกาสถือครองผ่านช่วงเศรษฐกิจถดถอยได้ ในฐานะ Beta หุ้นของพอร์ต แต่ มีความผันผวนที่ตํ่ากว่าหุ้นโดยรวม Monthly Views on Thematic Asset Class Gauge Commentary Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน Recommendation : คงสัดส่วนการลงทุน ● ยังน่าสนใจลงทุนในระยะยาว จากแรงสนับสนุนของรัฐบาลทั่วโลก ● การปรับตัวขึ้นในข่วงที่ผ่านมา นําโดยกลุ่ม Solar Cell จากต้นทุนการผลิตที่ลดลง หนุนให้ Valuation ตึงตัว ก่อนจะพักฐานในเดือนสิงหาคมที่ผ่านมาช่วยผ่อนคลายความตึงตัวได้ บางส่วน ขณะที่ผลประกอบการดีกว่าคาด แต่คาดการณ์การเติบโตยังตํ่ากว่าภาพรวม ● แนะนําคงสัดส่วนการลงทุน ● หุ้นกลุ่ม Technology ขนาดใหญ่กลับมา Outperform หุ้นในภาพรวม หลังความคาดหวัง การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยลดลง จากการคลายความกังวลเศรษฐกิจชะลอตัว และความ คาดหวังการเติบโตที่ยังสูงกว่าค่าเฉลี่ยหุ้นทั่วโลก ● เมื่อพิจารณาในแง่ของ Valuation อยู่ในระดับที่แพง ประกอบกับความกังวลเรื่อง เศรษฐกิจชะลอตัวที่น่าจะยังมีอยู่ในอนาคต จะส่งผลให้หุ้นเทคโนโลยี ยังมี Downside อยู่ ● แนะนํารอโอกาสเข้าลงทุน เพื่อรอสถานการณ์ให้ชัดเจน หรือ Valuation คลายตัวมากขึ้น Tech Clean Energy Healthcare Neutral Neutral Neutral
  • 23. - สําหรับการลงทุนระยะ 3-6 เดือน - นักลงทุนที่รับความเสี่ยงได้ Tactical Call Sell Buy Hold แนะนํา จุด Take Profit และ Stop Loss - สามารถ Cut Loss ได้ - มีการกําหนดระดับจุดเข้า/เป้าหมายทํากําไร/Stop Loss ที่ชัดเจน สถานะปัจจุบัน K-SEMQ TMBEMEQ Emerging Market (16/11/2022) Take Profit: 43.10 Stop loss: 37.00 Update 17/08/2023 CSI300 (09/01/2023) Take Profit: 4,430 Stop loss: 3,450 ถึง 3,500 Update 12/06/2023 SCBCHA KT-Ashare-A Take Profit: 2,860 Stop loss: MA 200 Days Update 28/08/2023 KOSPI (13/07/2023) SCBKEQTG Nasdaq BANK (19/09/2023) KWI USBANK-A Take Profit: 3,900 Stop loss: MA 100 Days E-Sport (04/09/2023) LHESPORT-A Take Profit: 59.20 &62.10 Stop loss: 51.80
  • 24. - สําหรับการลงทุนระยะ 6-12 เดือน เป็นต้นไป - เป็นกองทุนที่มีแนวโน้นให้ผลตอบแทนดีตามปัจจัย MEVT (Macroeconomic Earnings Valuation Technical) - มีโอกาสเปลี่ยนแปลงจุด cut loss หรือ take profit ตามปัจจัย MEVT ที่เปลี่ยนไป MEVT Call ปัจจัยที่โดดเด่น กองทุน แนะนํา สถานะ ปัจจุบัน Macro Earnings Valuation Technical UGIS-N (19/01/2023) PRINCIPAL VNEQ-A (26/01/2023) แรงกดดันเงินเฟ้อ และ ดอกเบี้ยลดลง ศักยภาพการเติบโตสูง ได้อานิสงส์จากจีนเปิด ประเทศ Yield อยู่ในระดับน่า สนใจ และกําลังจะปรับ ตัวลง ในอดีตตราสารหนี้มัก สร้างผลตอบแทนดี หลังเงินเฟ้อพีค Buy Buy แนวโน้มกําไรยังเติบโต ได้สูง คาดเติบโตกว่า 15% ปรับลงมาถูกระดับ เดียวกับ Covid-19 อีก ครั้ง เริ่มมีการกระแสเงินทุน จากต่างชาติไหลกลับ เข้ามา K-CHINA-A (09/02/2023) ตัวเลขเศรษฐกิจดีขึ้น ความกังวลต่างๆ คลี่คลาย มีแนวโน้ม กระตุ้นเพิ่มเติม Buy อัตราการเติบโตยังโดด เด่นทั้ง รายได้และกําไร อยู่ในระดับถูก Deep Discount เมื่อเทียบกับ หุ้นโลก Flow ต่างชาติ สะสมต่อเนื่อง As of 07/06/2023 SCBKEQTG (08/08/2023) การสิ้นสุด cycle de-stocking ชิ้นส่วน อิเล็กทรอนิกส์ Buy Forward EPS ปี 2024 ถูกปรับขึ้นกว่า 55% Forward PE 24M ถูก ว่าค่าเฉลี่ยของตัวเอง Uptrend Channel