SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
SCB EIC
Monthly
เศรษฐกิจไทยไตรมาส 2 ปี 2023 ขยายตัวเพียง 1.8%YOY
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยในระยะต่อไปมีปัจจัยสนับสนุนจาก
การบริโภคภาคเอกชนที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง ท่ามกลางความเสี่ยง
จากเศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวแผ่วลง
Issue : Aug 2023
2
Executive summary
เศรษฐกิจโลกในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตดีกว่าคาดที่ 2.4% (เดิม 2.1%) ตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้ม Soft landing ได้ และเศรษฐกิจญี่ปุ่นที่ดีกว่าคาด ช่วยลดผลด้านลบจากเศรษฐกิจจีน
ที่ฟื้นตัวช้า โดยเศรษฐกิจจีนเติบโตชะลอตัวต่อเนื่อง สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการ่าายจัดืื้อที่ปรับตัวลดลงทั้งภาคการผลิตและบริการ ท่ามกลางความเสี่ยงใหม่จากการผิดนัดชาระเงินของบริษัทอสังหาฯ
และบริษัทการเงินขนาดใหญ่กระทบความเชื่อมั่นของนักลงทุน ทั้งนี้เศรษฐกิจโลกในช่วงครึ่งหลังของปียังมีแนวโน้มเติบโตชะลอลงกว่าในช่วงครึ่งแรกของปี แต่่ม่แย่เท่าที่เคยคาด่ว้
แรงกดดันเงินเฟ้อพื้นฐานในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักยังสูง ตามตลาดแรงงานที่ตึงตัวและค่าจ้างที่ยังขยายตัวสูง นโยบายการเงินจึงมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่องไปจนถึงปี 2024 ธนาคารกลาง
สหรัฐฯ (Fed) มีแนวโน้มคงดอกเบี้ย่ว้ในระดับสูงต่อเนื่องจนถึง่ตรมาส 2 ปี 2024 ธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) จาเป็นต้องขึ้นดอกเบี้ยต่อสู่ Terminal rate ในช่วง
่ตรมาส 3 และ 4 ปีนี้
เศรษฐกิจไทยไตรมาส 2 ปี 2023 ขยายตัวเพียง 1.8%YOY หรือ 0.2%QOQ_sa แม้่ด้รับแรงสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนที่่ด้รับอานิสงส์จากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการเป็น
แรงหนุนสาคัญ แต่เศรษฐกิจ่ทยเผชิญแรงกดดันจากการส่งออกสินค้ายังหดตัวต่อเนื่องตามแนวโน้มเศรษฐกิจและการค้าโลกที่เติบโตชะลอลงจากปีก่อนและยังผันผวนสูง โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีนที่เป็น
คู่ค้าหลักของ่ทยขยายตัวแผ่วลง ส่งผลให้การลงทุนจากภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงมาก สาหรับการใช้จ่ายภาครัฐขยายตัว่ม่ดีนัก ส่วนหนึ่งเพราะปัจจัยฐานที่มีการใช้จ่ายจากเงินกู้เพิ่มเติมช่วงวิกฤติ
โควิดและการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีนี้ที่อยู่ในระดับต่า
SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยในระยะต่อไปมีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง ท่ามกลางความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวแผ่วลง โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ
ที่เดินทางมา่ทยอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง แม้จะมีแนวโน้มจากัดค่าใช้จ่ายท่องเที่ยวจากภาวะเศรษฐกิจในบางประเทศที่ชะลอตัว มอง่ปข้างหน้าเศรษฐกิจ่ทยเผชิญความเสี่ยงด้านต่าจากการส่งออก่ทย
ในครึ่งหลังของปีจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม่ทยที่พึ่งพาตลาดจีนสูงและอยู่ในห่วงโื่อุปทาน (Supply chain) ของสินค้าส่งออกจีน โดยเฉพาะยางพารา ่ม้ยางพารา
ปิโตรเคมี คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ รวมถึงชิ้นส่วนยานยนต์ นอกจากนี้ เศรษฐกิจ่ทยยังมีความเสี่ยงจากความ่ม่แน่นอนทางการเมือง ทั้งความล่าช้าในการจัดตั้งรัฐบาลที่อาจกระทบการเบิกจ่าย
งบประมาณและโครงการลงทุนภาครัฐ และความ่ม่แน่นอนของนโยบายรัฐบาลใหม่
SCB EIC คาดว่านโยบายการเงินไทยจะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 นี้ ตามปัจจัยแนวโน้มเศรษฐกิจ่ทยที่ขยายตัวต่อเนื่อง ปัจจัยเงินเฟ้อแม้จะกลับมาอยู่ใน
กรอบแต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากการส่งผ่านต้นทุนและแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ และเพื่อให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงทยอยกลับเป็นบวก่ด้ ทั้งนี้การปรับขึ้นดอกเบี้ยที่ผ่านมาส่งผลให้ต้นทุน
การระดมทุนในตลาดสินเชื่อและตลาดพันธบัตรระยะสั้นปรับสูงขึ้น ในระยะต่อ่ปคาดว่าดอกเบี้ยที่สูงขึ้นจะกระทบความสามารถในการชาระหนี้และคุณภาพสินเชื่อ ทิศทางภาวะการเงิน่ทยจะตึงตัวยิ่งขึ้น
สาหรับค่าเงินบาท ระยะเวลาในการจัดตั้งรัฐบาลจะเป็นปัจจัยหลักกาหนดทิศทางเงินบาทในระยะสั้น ในช่วงปลายปีคาดว่าเงินบาทจะกลับมาแข็งค่าได้ที่ราว 33.50-34.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ
จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ่ทย ประกอบกับความ่ม่แน่นอนทางการเมืองที่น่าจะลดลงหลังมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ อย่าง่รก็ดี เงินบาทอาจแข็งค่า่ด้่ม่มากจากเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอกว่าที่เคยคาด่ว้
เศรษฐกิจโลก
4
เศรษฐกิจโลกในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโต 2.4% (เดิม 2.1%) ตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้ม Soft landing และเศรษฐกิจญี่ปุ่น
ที่ดีกว่าคาด ช่วยลดผลด้านลบจากเศรษฐกิจจีนที่ฟื้นตัวช้า ทั้งนี้แนวโน้มเศรษฐกิจโลกช่วงครึ่งปีหลังจะยังเติบโตชะลอกว่าครึ่งปีแรก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, S&P Global และ CEIC
Citi Economic Surprise Index
หน่วย : ดัชนี, < 0 = ตัวเลขจริงออกมาแย่กว่าที่ตลาดคาด (@Aug 14th )
ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของโลก (Purchasing Managers’ Index: PMI)
หน่วย : ดัชนี, > 50 = ขยายตัว
คาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดย SCB EIC
หน่วย : %YOY
GDP growth 2022
2023 Forecast
Jun Aug
Global 3.0% 2.1% 2.4%
US 2.1% 1.4% 1.9%
Euro 3.5% 0.6% 0.6%
UK 7.5% -0.6% 0.4%
Japan 1.4% 1.2% 2.1%
China 3.0% 5.7% 5.1%
India 6.7% 6.4% 6.4%
CLMV 6.4% 4.6% 4.6%
-190
-140
-90
-40
10
60
110
160
Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23
Global US
Eurozone UK
China Japan
EMs
45
47
49
51
53
55
57
59
Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 Jul-23
Services PMI Manufacturing PMI Composite PMI
กิจกรรมทางเศรษฐกิจยังขยายตัวได้
แต่เริ่มเห็นสัญญาณการชะลอลง
• สหรัฐฯ มีแนวโน้มหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได้ในปีนี้ จากการใช้จ่ายผู้บริโภค
และการลงทุนดีต่อเนื่อง และความผันผวนในภาคธนาคารคลี่คลายชัดเจนขึ้น
• ตลาดแรงงานทั่วโลกมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชน
• การฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคบริการ แม้เริ่มชะลอลงบ้างแต่คาดว่าจะยังขยายตัว่ด้
ในช่วงที่เหลือของปีตามอุปสงค์ที่ถูกอั้น่ว้ช่วงโควิด
Upside
• มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อเข้มงวดขึ้น กดดันการลงทุนและการบริโภค
• เศรษฐกิจจีนฟื้นตัวช้า ตามภาคอสังหาฯ และอุปสงค์ในประเทศที่ยังืบเืา
• ภาคการผลิตและการค้าระหว่างประเทศที่จะยังอ่อนแอ ตามภาวะอุปสงค์ทั่วโลกที่ืบเืา
• ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อาจเร่งตัวในไตรมาส 4 ตามการลดอุปทานน้ามันของ OPEC+ และนโยบายปกป้องอุปทานผลผลิตเกษตร
ในหลายประเทศและเอลนีโญ ทาให้ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นในปลายปี
• ความเสี่ยง US government shutdown และความไม่แน่นอนในภาคธนาคารขนาดกลาง-เล็กของสหรัฐฯ
• ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ
Downside
5
แรงกดดันเงินเฟ้อพื้นฐานในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักยังสูง ส่งผลให้ ECB และ BOE จาเป็นต้องขึ้นดอกเบี้ยต่อ
ขณะที่ Fed มีแนวโน้มคงดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงต่อเนื่องจนถึงไตรมาส 2 ปี 2024
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, Eurostat. ECB และ BOE
อัตราเงินเฟ้อของ EU และ Financial Condition Heatmap อัตราเงินเฟ้อของ UK
หน่วย : %YOY, %MOM
อัตราเงินเฟ้อของ US
หน่วย : %YOY หน่วย : %MOM
Group Indicators Unit
2022 2023
Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun
Inflation All-items HICP %YOY 8.9 9.2 9.9 10.6 10.1 9.2 8.7 8.5 6.9 7 6.1 5.5
Core HICP %YOY 4.1 4.3 4.8 5 5 5.2 5.3 5.6 5.7 5.6 5.4 5.5
Food and non alcohol bev. %YOY 11.5 12.5 13.8 15.5 16 16 16.3 17.3 17.5 15 13.7 12.5
Energy %YOY 39.4 38.5 40.5 41.3 34.8 25.4 18.9 13.7 -0.9 2.2 -1.8 -5.6
Financial
condition
Main Refinancing Rates 0.5 0.5 1.3 1.3 2.0 2.5 2.5 3.0 3.5 3.5 3.8 4.0
Deposit Facility Rates 0.0 0.0 0.8 0.8 1.5 2.0 2.0 2.5 3.0 3.0 3.3 3.5
Marginal Lending Facility 0.8 0.8 1.5 1.5 2.3 2.8 2.8 3.3 3.8 3.8 4.0 4.3
Monetary Conditions Index -6.4 -6.6 -6.4 -6.3 -6.1 -5.9 -5.7 -5.7 -5.6 -5.1 -4.7 -4.5
Financial Conditions Index -1.2 -1.8 -1.9 -1.9 -1.3 -0.5 -0.2 0.3 -0.5 -0.7 -0.9 0.1
Lending Loans to Households %YOY SA 4.5 4.4 4.4 4.1 4.0 3.8 3.4 3.2 2.9 2.6 1.5 1.1
Loans to Non-Fin Corps %YOY SA 6.6 7.8 8.0 8.1 7.2 5.5 5.3 5.0 4.5 3.8 3.2 2.4
• ECB มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ย 0.25% อีก 1 ครั้งในเดือน ก.ย. สู่ 4%
• BOE มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยสู่ Terminal rate 5.75% ณ เดือน พ.ย. สูงสุดในกลุ่ม AEs โดยคาดว่าจะขึ้น
อัตราดอกเบี้ยครั้งละ 0.25% อีก 2 ครั้งในเดือน ก.ย. และ พ.ย. จากแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังสูง ขณะที่อัตรา
ดอกเบี้ยที่แท้จริงยังติดลบมาก
• Fed มีแนวโน้มคงดอกเบี้ยไว้ในระดับปัจจุบันที่ 5.25-5.5% จากเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง
เช่นเดียวกับตลาดแรงงานที่มีสัญญาณชะลอตัวลงทั้งการจ้างงาน จานวนชั่วโมงการทางาน และดัชนีต้นทุน
การจ้างงาน (ECI)
6.9
0
3
6
9
12
Jun-20
Sep-20
Dec-20
Mar-21
Jun-21
Sep-21
Dec-21
Mar-22
Jun-22
Sep-22
Dec-22
Mar-23
Jun-23
UK CPI MOM UK CPI YOY
UK Core CPI
3.2
4.7
-1
0
1
0
5
10
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Jul-23
CPI MOM (RHS) Core CPI MOM (RHS)
US CPI US Core CPI
6
เศรษฐกิจจีนชะลอตัวต่อเนื่อง เห็นจากดัชนี PMI ที่ลดลงทั้งภาคการผลิตและบริการ ท่ามกลางความเสี่ยงใหม่
จากการผิดนัดชาระเงินของบริษัทอสังหาฯ และบริษัทการเงินขนาดใหญ่ ซึ่งจะกระทบความเชื่อมั่นนักลงทุนต่อไป
หมายเหตุ : *ค่าเฉลี่ยของดัชนี PMI ที่จัดทาโดย National Bureau of Statistics และดัชนี PMI ที่จัดทาโดย Caixin S&P Global **จีน่ม่รายงานข้อมูลเดือน ม.ค.-ก.พ. เนื่องจากเทศกาลตรุษจีน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ S&P Global, National Bureau of Statistics, General Administration of Customs, Bloomberg, Reuters และ CEIC
China
อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน
หน่วย : %YOY (ยกเว้นเส้น %QOQ_sa)
อัตราการขยายตัวของการส่งออกสินค้า
หน่วย : %YOY
อัตราการขยายตัวของยอดค้าปลีก**
หน่วย : พันล้านหยวน หน่วย : %YOY
ดัชนี PMI*
หน่วย : ดัชนี (>50 หมายถึงการขยายตัวจากเดือนที่แล้ว)
51.5
49.3
52.8
45
50
55
60
Composite Manufacturing Services
Feb-23 Mar-23
Apr-23 May-23
Jun-23 Jul-23
-20
-10
0
10
20
30
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
USD RMB
-20
-10
0
10
20
0
500
1,000
1,500
2,000
2,500
3,000
3,500
4,000
4,500
Mar-22
Jun-22
Sep-22
Dec-22
Mar-23
Jun-23
Value Growth Rate (แกนขวา)
5.2
4.3 4.8
0.4
3.9
2.9
4.5
6.3
-2
0
2
4
6
8
Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 Q2/23
Agriculture Industry
Services %QOQ_sa
• อัตราการว่างงานกลุ่มแรงงานอายุ 16-24 เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แตะ 21.3% ในเดือน มิ.ย.
• หนี้สาธารณะรัฐบาลท้องถิ่นสูง จากัดความสามารถภาครัฐในการออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ
• ภาคอสังหาฯ ืบเืาต่อเนื่อง และมีความเสี่ยงบริษัทอสังหาฯ จะผิดนัดชาระหนี้เพิ่มเติม
• ความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์ทาให้หลายประเทศสาคัญ เช่น สหรัฐฯ และสหภาพยุโรปเริ่มหาืัพพลายเออร์
ใหม่ กระทบภาคส่งออกและภาคการผลิตจีนต่อเนื่อง
เศรษฐกิจจีนยังมีปัจจัยเสี่ยงเชิงโครงสร้างกดดันการฟื้นตัวหลายประการ อาทิ
บริษัท Country Garden
• บริษัทอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ที่มีโครงการมากกว่า Evergrande Group ถึง 4 เท่าผิดนัดชาระหนี้
หุ้นกู้สกุลดอลลาร์สหรัฐืึ่งกาหนดชาระเมื่อวันที่ 6 ส.ค. มูลค่า 22.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ทั้งนี้มี Grace
period 30 วัน)
• Bloomberg รายงานว่า Country Garden กาลังเจรจาขยายเวลาการชาระหนี้มูลค่า 537 ล้านดอลลาร์
สหรัฐ ืึ่งจะครบกาหนดวันที่ 2 ก.ย. นี้ และ่ด้ระงับการืื้อขายหุ้นกู้ในตลาดจีน 11 หุ้นกู้
• ความเสี่ยงการผิดนัดชาระหนี้มีแนวโน้มทาให้ความเชื่อมั่นในตลาดอสังหาฯ ลดลงอีกและอาจทาให้
ภาคอสังหาฯ จีนืบเืาต่อเนื่อง แม้รัฐบาลจะทยอยออกมาตรการกระตุ้น
บริษัท Zhongzhi Enterprise Group
• Zhongrong International Trust ที่มี Zhongzhi Enterprise Group ืึ่งเป็นบริษัทบริหารจัดการความ
มั่งคั่งเอกชนขนาดใหญ่ที่มีสินทรัพย์ภายใต้การจัดการว่า 1.38 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นผู้ถือหุ้น
ผิดนัดชาระเงินในผลิตภัณฑ์ผลตอบแทนสูง 3 รายการ
• รัฐบาลจีน่ด้ตั้ง Task Force เพื่อพิจารณาความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และสั่งให้ Zhongrong
International Trust รายงานแผนการชาระเงินและการขายสินทรัพย์เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง
ความเสี่ยงการผิดนัดชาระเงินบริษัท Country Garden และ Zhongzhi Enterprise Group
7
ภาคอสังหาฯ จีนซบเซาต่อเนื่องทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน ตามความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังต่าและปัญหาขาด
สภาพคล่อง ในระยะต่อไปมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปจากมาตรการกระตุ้นภาครัฐ แต่จะขยายตัวไม่สูงมากนัก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ National Bureau of Statistics China
China
ตัวชี้วัดอสังหาฯ จีน – ด้านอุปสงค์ ยังคงซบเซา
หน่วย : %YOY
ตัวชี้วัดอสังหาฯ จีน – ด้านอุปทาน ซบเซาเช่นกัน
หน่วย : %YOY
ยอดคงค้างสินเชื่อภาคอสังหาฯ ขยายตัวในอัตราชะลอลงมาก
หน่วย : %YOY
เงินทุนหมุนเวียนบริษัทอสังหาฯ ลดลงต่อเนื่อง
หน่วย : พันล้านหยวน
-10
0
10
20
30
Q1/15
Q4/15
Q3/16
Q2/17
Q1/18
Q4/18
Q3/19
Q2/20
Q1/21
Q4/21
Q3/22
Q2/23
Developer Mortage
-60
-40
-20
0
20
40
60
80
Mar-21
Jun-21
Sep-21
Dec-21
Mar-22
Jun-22
Sep-22
Dec-22
Mar-23
Jun-23
Real estate investment Floor space started
Floor space completed
-40
-30
-20
-10
0
10
20
Mar-21
Jun-21
Sep-21
Dec-21
Mar-22
Jun-22
Sep-22
Dec-22
Mar-23
Jun-23
Overall house price Floor space sold
24,579 26,535 27,524
22,214
14,521 12,634
0
10,000
20,000
30,000
2019 2020 2021 2022 6M22 6M23
Others Mortgages
Deposits and Advanced Payments Bonds and Stocks
Domestic Loan Surplus Fund
• การควบคุมการเก็งกาไร : รัฐบาลจีนเคยกล่าวว่า “บ้านมี่ว้พักอาศัย ่ม่ใช่เก็ง
กา่ร” ตั้งแต่ปลายปี 2017 สะท้อนท่าทีรัฐบาลที่อยากลดความร้อนแรงของ
ภาคอสังหาฯ โดยแม้รัฐบาลจะละเว้นการใช้ถ้อยคาดังกล่าวในการประชุม
Politburo ล่าสุดในเดือน ก.ค. 2023 แต่การที่รัฐบาลจีน่ม่่ด้ออกมาตรการ
กระตุ้นขนาดใหญ่เหมือนครั้งก่อน ๆ เป็นสัญญาณว่ารัฐบาลจีนยังคงให้
ความสาคัญกับการลดการเก็งกา่ร
• Demand-supply mismatch : ตลาดอสังหาฯ จีนมีอุปทานมากกว่าอุปสงค์
กดดันราคาอสังหาฯ และเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทอสังหาฯ
• ความเปราะบางของเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจจีนและราย่ด้ผู้บริโภคอยู่ในช่วงฟื้นตัว
ขณะที่อัตราการว่างงานกลุ่มแรงงานอายุน้อยเพิ่มสูงขึ้นมาก ส่งผลให้กาลัง
ืื้อยัง่ม่มากและความเชื่อมั่นยังต่า
• ปัจจัยด้านประชากร : จานวนประชากรจีนมีแนวโน้มลดลงในระยะยาว กดดัน
อุปสงค์การืื้ออสังหาริมทรัพย์
ปัจจัยกดดันการฟื้นตัวของภาคอสังหาฯ จีน
• จับตามาตรการกระตุ้นภาคอสังหาฯ : รัฐบาลจีนมีแนวโน้มออกมาตรการ
กระตุ้นเพิ่มเติม เช่น สนับสนุนให้บริษัทอสังหาฯ และผู้ืื้อบ้านเข้าถึงสินเชื่อ
ง่ายขึ้น และลดข้อจากัดต่าง ๆ เช่น มูลค่าเงินดาวน์หรือการกู้ยืมเพื่อืื้อบ้าน
หลังที่สอง แต่คาดว่าขนาดของมาตรการจะ่ม่ใหญ่มากและเน้นเฉพาะจุด
• งบดุลบริษัทอสังหาฯ ต้องใช้เวลาฟื้นฟูนานหลายปีอาจจาเป็นต้องปรับ
โครงสร้างหนี้หรือขายทรัพย์สินเพื่อชาระหนี้ ืึ่งอาจกดดันให้การลงทุนใหม่
ืบเืาในระยะต่อ่ป
• ความร้อนแรงคงไม่เหมือนเก่า ตามความต้องการลดการเก็งกา่รของรัฐบาล
มุมมองภาคอสังหาฯ จีนในระยะต่อไป
8
นโยบายการเงินการคลังจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังเปราะบางสูง
และมีสัญญาณแผ่วลง แต่ความสามารถในการใช้มาตรการกระตุ้นมีความจากัดมากขึ้นจากหลายปัจจัยกดดัน
หมายเหตุ : *MLF = Medium-term lending facility 7DRR = 7-day reverse repo rate
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล CEIC, PBOC, IMF, Capital Economics และ Bloomberg
China
นโยบายการเงินของจีน นโยบายการคลังของจีน
อัตราการขยายตัวของสินเชื่อคงค้างจีน
หน่วย : %YOY
อัตราเงินเฟ้อจีน
หน่วย : %YOY
คาดการณ์หนี้สาธารณะโดย IMF (รวม LGFV)**
หน่วย : % ต่อ GDP
อัตราส่วนภาระดอกเบี้ยต่อรายได้รัฐบาลท้องถิ่น
หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 เดือน)
-2.0
0.0
2.0
4.0
6.0
Jan-19
Aug-19
Mar-20
Oct-20
May-21
Dec-21
Jul-22
Feb-23
Headline Core
10.0
11.0
12.0
13.0
14.0
Jan-21
May-21
Sep-21
Jan-22
May-22
Sep-22
Jan-23
May-23
0
2
4
6
8
10
12
Feb-20
Jul-20
Dec-20
May-21
Oct-21
Mar-22
Aug-22
Jan-23
77.9 80.8 86.3
98.8 101.4
110.1
121.9
128.9
136.3
0
20
40
60
80
100
120
140
2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025
• ธนาคารกลางจีนปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย MLF และ 7DRR* ลง 15 BPS และ 10 BPS ตามลาดับเพื่อ
กระตุ้นเศรษฐกิจที่ชะลอตัว และเป็นการส่งสัญญาณว่าจะปรับลดอัตราดอกเบี้ย Loan Prime Rate ต่อ่ป
พร้อมกับการออกมาตรการอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน
• อัตราดอกเบี้ยนโยบายสาคัญของจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เนื่องจากเศรษฐกิจยังฟื้นตัว่ม่เต็มที่และอัตรา
เงินเฟ้อต่ามาก ขณะที่การปล่อยสินเชื่อชะลอตัวและความเสี่ยงในภาคอสังหาฯ และภาคการเงินเพิ่มขึ้น
• ทั้งนี้ประสิทธิภาพในการกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อของนโยบายการเงินมีจากัด เนื่องจากอุปสงค์การลงทุนในจีน
ยังืบเืา ส่วนหนึ่งเนื่องจากกา่รภาคอุตสาหกรรมยังหดตัวและความเชื่อมั่นยัง่ม่กลับมาเต็มที่
• รัฐบาลจีนใช้นโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ ผ่านการกระตุ้นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและมาตรการให้ผู้ืื้อ
บ้านและบริษัทอสังหาฯ เข้าถึงเงินทุน่ด้ง่ายขึ้น รวมถึงการกระตุ้นการบริโภคของครัวเรือนและการลงทุนธุรกิจ
• ในการประชุม Politburo จีนส่งสัญญาณออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม แต่ยังไม่ได้ประกาศมาตรการ
กระตุ้นชัดเจน โดยมีแนวโน้มกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศ โดยเฉพาะการบริโภค และการลดระดับหนี้รัฐบาล
ท้องถิ่น
• ทั้งนี้พื้นที่ทางการคลังของจีนมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากรัฐบาลท้องถิ่น ืึ่งเป็นผู้เบิกจ่ายงบประมาณ
มีระดับหนี้สูงขึ้นมากและภาระดอกเบี้ยจ่ายที่สูงตามมา จึงเผชิญข้อจากัดในการออกมาตรการ
เศรษฐกิจไทย
10
หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ Bloomberg
เศรษฐกิจไทยในไตรมาสสองของปี 2023 ขยายตัวได้ 1.8% ต่ากว่าตลาดคาด (ผลสารวจ Bloomberg 3.1%)
%YOY % of GDP 2021 2022 2022Q2 2022Q3 2022Q4 2023Q1 2023Q2 H2/2023
Real GDP 100.0% 1.5% 2.6% 2.5% 4.6% 1.4% 2.6% 1.8% 2.2%
ภาคเกษตร 6.4% 2.3% 2.4% 4.0% -2.2% 3.4% 6.2% 0.5% 3.4%
หมวดอุตสาหกรรม 31.6% 3.8% -0.5% -2.1% 4.5% -4.6% -3.2% -2.1% -2.7%
เหมืองแร่ 1.6% -5.4% -14.9% -21.2% -13.3% -6.9% -5.2% -1.2% -3.3%
การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม 26.9% 4.9% 0.4% -0.8% 6.0% -5.0% -3.0% -3.3% -3.2%
หมวดบริการ 63.1% 0.4% 4.3% 4.7% 5.5% 4.3% 5.2% 4.1% 4.7%
การก่อสร้าง 2.8% 2.2% -2.7% -4.4% -2.6% 2.6% 3.9% 0.4% 2.1%
การขายส่งและการขายปลีก การื่อมยานยนต์ฯ 16.0% 1.6% 3.1% 3.2% 3.5% 3.1% 3.3% 3.4% 3.4%
การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า 5.6% -2.7% 7.1% 5.0% 10.1% 9.8% 12.1% 7.5% 10.0%
ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 4.9% -14.2% 39.3% 44.7% 53.2% 30.6% 34.3% 15.0% 23.9%
ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 6.4% 6.1% 5.1% 6.3% 4.7% 3.9% 3.4% 3.6% 3.5%
กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 8.3% 5.5% 1.0% 1.4% 1.0% 0.5% 1.2% 3.8% 2.5%
กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 4.2% 1.7% 2.1% 2.4% 3.1% 1.9% 1.9% 2.5% 2.2%
การบริโภคภาคเอกชน 56.2% 0.6% 6.3% 7.1% 9.1% 5.6% 5.8% 7.8% 6.8%
การบริโภคภาครัฐ 15.7% 3.7% 0.2% 2.7% -1.5% -7.1% -6.3% -4.3% -5.3%
การลงทุนรวม 24.6% 3.1% 2.3% -0.9% 5.5% 3.9% 3.1% 0.4% 1.8%
การลงทุนภาคเอกชน 18.2% 3.0% 5.1% 2.3% 11.2% 4.5% 2.6% 1.0% 1.8%
การลงทุนภาครัฐ 6.3% 3.4% -4.9% -8.8% -6.8% 1.5% 4.7% -1.1% 1.9%
ส่งออกสินค้า 61.0% 15.3% 1.3% 4.3% 2.3% -10.5% -6.4% -5.7% -6.0%
ส่งออกบริการ 8.9% -19.9% 65.8% 47.7% 79.2% 94.9% 78.2% 54.6% 66.1%
นาเข้าสินค้า 59.4% 18.2% 5.4% 9.9% 11.2% -5.9% -3.3% -4.3% -3.8%
นาเข้าบริการ 10.3% 16.0% -0.6% -1.9% 3.7% -0.9% 9.2% 5.4% 7.3%
11
สาเหตุหลักจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าสุทธิและการผลิตอุตสาหกรรม แรงส่งภาครัฐ (ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก
ปัจจัยฐาน) และส่วนเปลี่ยนสินค้าคงคลัง อย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนยังเป็นแรงสนับสนุนสาคัญ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แหล่งที่มาของการขยายตัวของ Real GDP (Contribution to growth) Q2/2023
หน่วย : Percentage point
ด้านการผลิต
ด้านการใช้จ่าย
ส่งออกบริการสุทธิ
บริโภคเอกชน ลงทุนเอกชน ลงทุนภาครัฐ
คลาดเคลื่อนสถิติ บริโภคภาครัฐ ส่งออกสินค้าสุทธิ เปลี่ยนแปลงสินค้า
คงเหลือ
Real GDP
ขายส่งขายปลีก
โรงแรม
ร้านอาหาร การเงิน ขนส่ง
อื่นๆ สาธารณูปโภค สื่อสาร Real GDP
อสังหาฯ เกษตร เหมืองแร่ อุตสาหกรรม
12
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาไทยยังมีสัญญาณฟื้นตัวที่ดี โดยนักท่องเที่ยวจีนยังเดินทางเข้าไทยสูงต่อเนื่อง
แม้จะถูกกดดันจากภาวะเศรษฐกิจในประเทศ
หมายเหตุ : ตัวเลขนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือน ก.ค. และ ส.ค. ประเมินจากตัวเลขเบื้องต้นของกองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทย ปี 2023
หน่วย : ล้านคน
1.95
0.09
1.73
ส.ค. E
ก.พ.
2.05 1.96
0.16
2.14
ม.ค.
0.29
0.27
ก.ค. E
มี.ค.
0.33
1.85
เม.ย.
2.22
พ.ค.
0.31
1.93
มิ.ย.
0.41
2.07
0.42
2.16
2.11 2.18
2.01
2.24
2.48
2.58
นักท่องเที่ยวชาติอื่น
นักท่องเที่ยวจีน
35%
23%
14%
11%
7%
5%
จีน
อาเืียน
ยุโรป
เอเชียตะวันออก
เอเชียใต้
ตะวันออกกลาง
อเมริกา
3%
2%
นักท่องเที่ยวอาเซียนเป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มหลักที่เดินทางเข้าไทย โดยเฉพาะจากมาเลเืีย
ตามด้วยจีน เกาหลีใต้ อินเดีย และรัสเืีย ืึ่งคาดว่า ณ สิ้นเดือน ส.ค. นักท่องเที่ยวต่างชาติ
จะเดินทางเข้า่ทยราว 18 ล้านคน
นักท่องเที่ยวจีนยังมีความต้องการท่องเที่ยวอยู่ในระดับสูง สะท้อนจากจานวน
นักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้า่ทยกว่า 9 หมื่นคนต่อสัปดาห์ และเป็นสัญชาตินักท่องเที่ยว
ที่เดินทางเข้า่ทยสูงสุดในช่วงเดือน ก.ค-ส.ค. แทนมาเลเืีย
สัดส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทยในช่วงครึ่งปีแรก
13
ความต้องการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของนักท่องเที่ยวไทยยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง แต่ยังมีแนวโน้มจากัด
ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวจากภาวะเศรษฐกิจ
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
ผู้เยี่ยมเยือนไทย
หน่วย : ล้านคน
มิ.ย.
21.82
ม.ค. ก.พ.
20.12
มี.ค. เม.ย. พ.ค.
20.32
21.30
19.73 19.18
2019 2023
• รายได้จากนักท่องเที่ยวไทยโดยรวมในช่วงครึ่งปีแรกยังต่ากว่าระดับปี
2019 จากแรงกดดันด้านเศรษฐกิจ
• จังหวัดที่ได้รับความนิยมต่อเนื่องยังเป็นจังหวัดใกล้กรุงเทพฯ อย่างเช่น
กาญจนบุรี ชลบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ส่งผลให้ราย่ด้จาก
นักท่องเที่ยว่ทยในจังหวัดเหล่านี้เติบโตสูงกว่าช่วงปี 2019 แล้ว
0
50
100
4
0
6
2
8
มิ.ย.
ก.พ.
ม.ค. มี.ค. เม.ย. พ.ค.
7.0 6.2 6.6 6.2 6.0
6.3
หมื่นล้านบาท ดัชนี
การฟื้นตัว (ปี 2019 = 100)
ราย่ด้ผู้เยี่ยมเยือน่ทยปี 2023 (หมื่นล้านบาท)
14
การส่งออกไทยในครึ่งแรกของปีหดตัว -5.4%YOY ในภาพรวมการส่งออกรายสินค้าหดตัวทุกกลุ่ม และตลาด
ส่งออกหลักยังผันผวนสูง ในระยะต่อไปแม้มีแรงหนุนจากฐานต่า แต่ต้องจับตาการฟื้นตัวเศรษฐกิจจีน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, S&P Global, CEIC และกรมศุลกากรจีน
ส่งออกรายสินค้าและตลาด มูลค่าการส่งออกของไทย
หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ
มูลค่าการค้าของจีน
หน่วย : %YOY, ดอลลาร์สหรัฐ
20,000
22,500
25,000
27,500
30,000
Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec
2022 2023 2022-avg 2023-avg
3000
4000
5000
6000
-40
-20
0
20
40
60
Jun-21 Oct-21 Feb-22 Jun-22 Oct-22 Feb-23 Jun-23
Import: TH (RHS) Export Import Import: TH (YOY)
หน่วย : %YOY, (สัดส่วนในปี 2022) 2022 2022Q3 2022Q4 2023Q1 2023Q2 Apr-23 May-23 Jun-23 YTD
รวมทั้งหมด (100%) 5.5% 6.6% -8.5% -4.5% -6.1% -7.6% -4.6% -6.4% -5.4%
ไม่รวมทองคา (97.5%) 4.4% 6.3% -8.3% -2.3% -6.2% -9.3% -4.6% -5.1% -4.3%
เกษตรกรรม (9.3%) 2.2% -3.0% -7.0% 0.2% -5.4% 23.8% -27.0% -7.2% -3.1%
อุตสาหกรรมการเกษตร (7.9%) 17.8% 21.2% -4.0% 3.7% -7.6% -12.0% -0.6% -10.6% -2.2%
สินค้าอุตสาหกรรม (78.6%) 4.4% 6.2% -8.4% -5.8% -4.6% -11.2% 1.5% -4.5% -5.2%
สินค้าแร่และเชื้อเพลิง (4.1%) 15.5% 11.3% -22.0% -1.7% -27.6% -13.7% -39.9% -25.5% -17.2%
สหรัฐฯ (16.6%) 13.4% 15.8% -1.3% -3.9% -3.3% -9.6% 4.2% -5.0% -3.6%
จีน (12%) -7.7% -18.1% -13.4% -7.4% -0.6% 23.0% -24.0% 4.5% -3.7%
อาเืียน5 (14.2%) 9.5% 11.9% -17.6% -2.2% -12.2% -17.6% 0.1% -18.0% -7.4%
CLMV (10.9%) 11.5% 30.1% -0.9% -6.3% -19.2% -17.0% -17.3% -23.0% -13.1%
ญี่ปุาน (8.6%) -1.3% -0.2% -7.1% -0.2% -2.3% -8.1% -1.8% 2.5% -1.2%
สหภาพยุโรป28 (9.3%) 6.6% 17.4% -1.8% -1.4% 0.7% 0.0% 9.0% -6.4% -0.4%
ฮ่องกง (3.5%) -13.0% -22.6% -24.7% -3.4% -9.6% -29.8% -19.0% 17.6% -6.7%
ตะวันออกกลาง (3.8%) 22.8% 37.5% 12.9% 15.0% -4.4% -16.5% 11.3% -8.3% 5.0%
อินเดีย (3.7%) 22.5% 13.6% -6.1% 3.7% -19.5% -23.0% -21.0% -14.3% -8.8%
มุมมองการส่งออกของไทยช่วงครึ่งหลังของปีมีปัจจัยบวกอยู่บ้าง จาก (1) แรงกดดันอุปทานคอขวดคลี่คลายสู่ระดับก่อนเกิดวิกฤต
โควิด (2) ราคาสินค้าโภคภัณฑ์มีแนวโน้มสูงขึ้น ทาให้มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น (การฟื้นตัวของจีนและการปรับลดกาลังผลิตน้ามัน
ของ OPEC+ ทาให้ราคาพลังงานเพิ่มขึ้น และนโยบายระงับการส่งออกข้าวของอินเดียทาให้ราคาข้าวโลกปรับสูงขึ้น) และ (3) มาตรการ
กระตุ้นเศรษฐกิจในจีนในช่วงครึ่งหลังของปี
15
กลุ่มที่พึ่งพาตลาดจีนในระดับสูง (> 30%) และเป็น
ส่วนหนึ่งใน Supply chain ของสินค้าที่จีนส่งออก
ลดลง
เศรษฐกิจจีนที่แผ่วลงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทยที่พึ่งพาตลาดจีนสูง และเป็นส่วนหนึ่งของ Supply chain
ของสินค้าที่จีนส่งออก โดยเฉพาะยางพารา ไม้ยางพารา ปิโตรเคมี คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ชิ้นส่วนยานยนต์
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ General Administration of Customs จีน และ CEIC
China exports to global YTD (Jan-Jul 2023)
หน่วย : %YOY
-28
-25
-13
-12
-12
-10
-7
-4
-4
-1
10
19
30
104
Mobile Phones
Products of Steel and Iron
Basic Organic Chemical
Parts & Accessory of Vehicles
Furniture & Parts Thereof
Automatic Data Processing Machine & Parts
Electric Components
Motor Vehicles
Textile, Yarns, Fabrics & Articles Thereof
Garments
Plastic Articles
Household Appliances
Agriculture Products
Electrical Equipment
Refined Petroleum Products
0
China imports to global YTD (Jan-Jul 2023)
หน่วย : %YOY
-26
-23
-23
-22
-21
-20
-17
-11
-5
-4
-3
1
5
22
Electrical Equipment
Automatic Data Processing Machine & Part thereof
Crude Petroleum Oil
Plastic in Primary Form
Electronic Component
Motor Vehicle
Measuring or Checking Instrument
Copper & Copper Product
Basic Organic Chemical
Copper Ore & Concentrate
Iron Ore & Concentrate
Natural Gas
Agriculture Product
Medical & Pharmaceutical Product
เสี่ยงสูง
กลุ่มที่พึ่งพาตลาดจีนในระดับปานกลาง (10% – 20%)
และเป็นส่วนหนึ่งใน Supply chain ของ
สินค้าที่จีนส่งออกลดลง
เสี่ยง
ปานกลาง
1.กลุ่มที่พึ่งพาจีนในระดับต่า ( < 10%) และ่ม่่ด้เป็น
ส่วนหนึ่งใน Supply chain ของสินค้าที่จีนส่งออก
ลดลง หรือ
2.กลุ่มที่พึ่งพาจีนในระดับสูง แต่เป็นสินค้าที่จาเป็น
เสี่ยงต่า
• Natural rubber
• Rubber wood
• Petrochemical
• Computer and parts
• Auto parts
• Food and beverage
• Fruits
• Electronic components
• Motor vehicle
• Cement
ความเสี่ยงต่อภาคอุตสาหกรรมไทยจากความต้องการบริโภค
สินค้าในจีนที่ลดลงและการส่งออกสินค้าของจีนที่ลดลง
16
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคเอกชนเริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวลงในเดือน ก.ค. จากความกังวลต่อผลการปรับขึ้นดอกเบี้ย
ความไม่แน่นอนในการจัดตั้งรัฐบาล การส่งออกหดตัว เอลนีโญ และความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลก
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย, มหาวิทยาลัยหอการค้า่ทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ่ทย และ CEIC
ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (BSI) ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) และดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI)
หน่วย : ดัชนี (50 = สะท้อนภาวะทางธุรกิจทรงตัว) สาหรับดัชนี BSI และ ดัชนี (100 = สถานการณ์่ม่เปลี่ยนแปลง) สาหรับดัชนี CCI และดัชนี TISI
51.1
55.6
52.7
60.3
96.0
103.5
50.1
56.0
55.0
62.5
95.0
105.0
49.7
54.6
55.7
63.1
92.5
104.3
51.0
55.2
56.7
63.9
94.1
102.1
49.3
53.3
55.6
62.8
92.3
100.2
0.0
20.0
40.0
60.0
80.0
100.0
120.0
BSI BSI: Expectation CCI CCI: Future TISI TISI: Expectation
Q1/2023 04/2023 05/2023 06/2023 07/2023
• ดัชนีความเชื่อมั่นภาคเอกชนเริ่ม
ปรับลดลงในเดือน ก.ค. แม้จะ
ปรับตัวดีขึ้นในเดือน มิ.ย. จากภาค
ท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชน
• ดัชนีความเชื่อมั่นในเดือน ก.ค.
มีความกังวลจากหลายปัจจัย เช่น
ความ่ม่แน่นอนในการจัดตั้งรัฐบาล
ค่าครองชีพสูง ผลของการปรับขึ้น
อัตราดอกเบี้ย การส่งออกที่หดตัว
ราคาน้ามันขายปลีกที่สูงขึ้น
สถานการณ์เอลนีโญ และความ
ขัดแย้งรัสเืีย-ยูเครนที่ยังกดดันต่อ
การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก
• ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจในระยะ
ถัดไปอาจปรับตัวลดลงตามตัวเลข
ทางเศรษฐกิจในไตรมาสสองที่แย่
กว่าคาด
17
อัตราเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐชะลอตัวในเดือน ก.ค. แต่ภาพรวมอัตราเบิกจ่ายงบลงทุนสะสม FY2023 ยังสูงกว่าอดีต
ส่วนหนึ่งจากการเร่งรัดนาเรื่องเข้ากระบวนการพิจารณาของ ครม. และการเร่งเบิกจ่ายงบลงทุนก่อนยุบสภา
หมายเหตุ : *่ม่รวมเรื่องลับ ลับมาก และลับที่สุด และอาจรวมถึงข้อมูลเรื่องในวาระจร่ม่ครบถ้วน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของทาเนียบรัฐบาล, สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และกระทรวงการคลัง
จานวนเรื่องที่มีการนาเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) *
หน่วย : เรื่อง
อัตราเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐบาล (รายเดือน)
หน่วย : % งบลงทุนทั้งหมดของปีงบประมาณ
0
10
20
30
40
50
60
70
05-Oct-22
18-Oct-22
01-Nov-22
15-Nov-22
29-Nov-22
13-Dec-22
27-Dec-22
10-Jan-22
24-Jan-22
07-Feb-23
21-Feb-23
07-Mar-23
21-Mar-23
04-Apr-23
18-Apr-23
02-May-23
16-May-23
30-May-23
13-Jun-23
27-Jun-23
11-Jul-23
25-Jul-23 0%
2%
4%
6%
8%
10%
12%
Oct-22 Nov Dec Jan-23 Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep
FY2023 - ค่าเฉลี่ยในอดีต (สะสม) FY2023 ค่าเฉลี่ยในอดีต (FY2019-2022)
เร่งรัดนาเรื่องเสนอ ครม. ก่อนยุบ
สภา โดยเรื่องที่นาเสนอส่วนใหญ่
มีนัยต่อเศรษฐกิจ
คณะรัฐมนตรีไม่มีอานาจเต็มหลัง
ยุบสภา โดยเรื่องที่นาเสนอไม่มี
โครงการลงทุนขนาดใหญ่
18
ทั้งนี้ความไม่แน่นอนทางการเมืองไทยเพิ่มสูงขึ้น ในกรณีเลวร้ายหากการจัดตั้งรัฐบาลล่าช้าไปจนถึงเดือน พ.ค.
2024 จะกระทบการจัดทางบประมาณ 3 ปีงบประมาณ (FY2567–2569)
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักข่าวต่าง ๆ
ความไม่แน่นอนทางการเมืองของไทย (ณ 31 ก.ค. 2023)
1
2
รัฐบาลชุดใหม่เริ่มปฏิบัติหน้าที่ Base ส.ค. 23 Worse ต.ค. 23 Worst พ.ค. 24
พรบ.งบประมาณ FY67 ประกาศล่าช้า 3-4m 6m 10m
อัตราเบิกจ่ายงบลงทุนตามเป้า   
ความต่อเนื่องการอนุมัติโครงการลงทุนภาครัฐขนาดใหญ่   
ความไม่แน่นอนด้านระยะเวลาที่ใช้ในการจัดตั้งรัฐบาล การเลือกนายกรัฐมนตรีถูกเลื่อนออก่ปเนื่องจากความ่ม่แน่นอนทางกฎหมาย บางส่วนเรียกร้องให้ชะลอการเลือก
นายกรัฐมนตรีออก่ปนาน 10 เดือน เพื่อรอให้สมาชิกวุฒิสภาหมดวาระในการดารงตาแหน่งก่อน
ความเสี่ยงการชุมนุมประท้วงสูงขึ้น หากมีการจัดตั้งรัฐบาลข้ามขั้วที่่ม่
สอดคล้องกับเสียงของประชาชน หรือมีการยุบพรรคการเมือง 3
ความไม่แน่นอนของนโยบายรัฐบาลใหม่สูงขึ้น แนวนโยบายขึ้นกับแกนนา
รัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาล
ผลกระทบจากความไม่แน่นอนทางการเมือง (ณ 31 ก.ค. 2023)
การจัดทา FTA และ Mini-FTA กับคู่ค้า
ของไทยอาจดาเนินไปอย่างล่าช้า
เช่น EU EFTA ศรีลังกา
กระทบความสามารถในการดึงดูด
เม็ดเงินลงทุนและการท่องเที่ยว
ขาดรัฐบาลรับมือเศรษฐกิจโลกชะลอตัว
และภาวะเอลนีโญกระทบไทย
19
ในช่วงครึ่งหลังของปี ราคาพลังงานโลกจะเริ่มปรับตัวสูงขึ้นจาก High season ของการใช้น้ามันและการปรับลด
กาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC อย่างไรก็ตาม ยังมีแรงกดดันจากเศรษฐกิจจีนที่ฟื้นตัวช้าในภาคอุตสาหกรรม
หมายเหตุ : 5-year period = 2015-2019; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน ส.ค. 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, TradingView, Goldman Sachs, US EIA, JP Morgan และสานักข่าวต่าง ๆ
ราคาน้ามันดิบ Brent
หน่วย : USD/Barrel
ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) Aramco
หน่วย : USD/Ton
ราคาก๊าซธรรมชาติ Henry Hub
หน่วย : USD/MMBtu
0
2
4
6
8
10
2018 2019 2020 2021 2022 2023
0
20
40
60
80
100
120
140
2018 2019 2020 2021 2022 2023
0
200
400
600
800
1000
1200
2018 2019 2020 2021 2022 2023
5-yr avg 2021 2022 2023F
429.7 645.5 713.5 548
5-yr avg 2021 2022 2023F
57.1 70.5 100.9 81
5-yr avg 2021 2022 2023F
2.8 3.7 6.6 2.7
• Supply : กลุ่ม OPEC+ ขยายเวลาประกาศลดกาลังการผลิตแบบสมัคร
ใจที่ 1.66 ล้านบาร์เรลต่อวันจากเดิมที่จะสิ้นสุดในปี 2023 เป็นสิ้นสุดปี
2024
• Demand : เข้าสู่ช่วง High season ของการใช้น้ามัน เนื่องจากเป็น
Driving season ของสหรัฐฯ
• อย่าง่รก็ตาม ความ่ม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ ยังเป็นปัจจัยกดดันสาคัญ
กระทบต่อ Demand ที่มีสัญญาณ่ม่ชัดเจน เช่น การฟื้นตัวของ
เศรษฐกิจจีนที่ล่าช้า
• ความต้องการปิโตรเคมีที่ต่าจากการเติบโตของเศรษฐกิจจีน
ที่ต่ากว่าคาด เนื่องจากการฟื้นตัวของภาคอุตสาหกรรมจีน เกิดขึ้น
ค่อนข้างช้า Manufacturing PMI ของจีนปรับเพิ่มขึ้น จาก 49.0 ในเดือน
มิ.ย. สู่ระดับ 49.3 ในเดือน ก.ค. แม้จะปรับดีขึ้น แต่ยังต่ากว่าระดับ 50
• อย่าง่รก็ตาม การเพิ่มขึ้นของโรง PDH ที่ต้องใช้ Propaneเป็นวัตถุดิบ มี
แผนจะเพิ่มกาลังการผลิตอย่างมากในปีนี้
จึงทาให้ราคา Propane อาจกลับมาอยู่ในระดับสูง่ด้อีก
ในช่วงครึ่งปีหลัง
• ตลาดก๊าซฯ คาดว่าจะคลายความตึงตัวต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปี
จากความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย
• ใน Q3/2023 ราคาอาจปรับขึ้นบ้าง จากอุปสงค์จีนและอินเดียที่เพิ่มขึ้น
ประกอบกับ Supply ใน่ั่งยุโรปที่จะตึงตัวจากการ Strike ใน
ออสเตรเลียที่จะมีผลต่อการส่งออก LNG
• ใน Q4/2023 ราคาจะเริ่มปรับสูงอีกครั้ง เพื่อเติมก๊าืฯ เข้า Storage
เตรียมพร้อมรับมืออากาศหนาว คาดว่าจะอยู่ในกรอบ $3.5-4/mmbtu
(หากอากาศหนาวกว่าคาด ราคาอาจเพิ่มสูงมาก่ด้)
20
ราคาพลังงานโลกที่เริ่มปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับการบริหารจัดการภาระที่ภาครัฐได้เคยสนับสนุนไว้ เป็นความเสี่ยง
ที่อาจทาให้ราคาน้ามันในประเทศปรับสูงขึ้นจากช่วงครึ่งแรกของปี
หมายเหตุ : ราคาหน้าโรงกลั่นของก๊าืหุงต้มโดยปกติจะเปิดเผยเป็นราคาหน่วยบาทต่อกิโลกรัม สาหรับราคาหน้าโรงกลั่นต่อ 15 กิโลกรัมเป็นการคานวณโดยนักวิเคราะห์; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน ส.ค. 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ EPPO, CEIC และสานักข่าวต่าง ๆ
ราคาน้ามันดีเซลหน้าโรงกลั่นและหน้าสถานีบริการ
หน่วย : บาทต่อลิตร
ราคาก๊าซหุงต้มถัง 15 กิโลกรัม (LPG) หน้าโรงกลั่นและหน้าสถานีบริการ
หน่วย : บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม
5
15
25
35
45
2019 2020 2021 2022 2023
0
100
200
300
400
500
2019 2020 2021 2022 2023
ราคาหน้าสถานีบริการ
(ราคาขายจริง)
ต้นทุนน้ามัน
(Ex-refinery)
ภาครัฐประกาศยกเลิกต่ออายุ
มาตรการลดภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล
ที่จะสิ้นสุดในวันที่ 20 ก.ค. 2023
ภาครัฐประกาศตรึงราคาไว้ที่ 35 บาท/ลิตร
เพื่อลดผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจจากราคาพลังงาน
โลกและต้นทุนน้ามันที่เพิ่มขึ้นสูง
ประกาศลดภาษีสรรพสามิต เหลือ 3.2 บาท/ลิตร และ 1.34 บาท/ลิตร
ตามลาดับ (จากเดิมราว 6 บาท/ลิตร)
ราคาหน้าสถานีบริการ
(ราคาขายจริง)
ต้นทุนน้ามัน
(Ex-refinery)
ที่ผ่านมา ภาครัฐได้ตรึงราคาก๊าซหุงต้มมาโดยตลอด
เพื่อลดความผันผวนของค่าใช้จ่ายของภาคครัวเรือน
ประกาศต่ออายุนโยบายตรึงราคา ก๊าซหุงต้มฯที่ 423 บาท
ต่อถัง 15 กก. จนถึงสิ้นเดือน ส.ค. 2023
• ที่ผ่านมา ภาครัฐกาหนดและตรึงราคาน้ามันในประเทศ โดยเฉพาะน้ามันดีเืลและก๊าืหุงต้มสาหรับภาคครัวเรือน เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของราคาในตลาดโลกสู่ภาคเศรษฐกิจและค่าครองชีพของประชาชน
• ในปี 2023 แม้ราคาพลังงานโลกและต้นทุนน้ามันในประเทศ่ด้ลดลงจากปีก่อน แต่ภาครัฐยังมีภาระที่ต้องฟื้นฟูจากการอุดหนุนราคาในปีก่อน ทาให้ภาพรวมช่วงครึ่งปีหลังของ 2023 ทิศทางการบริหารราคาน้ามันในประเทศจะขึ้นอยู่กับ
การรักษาสมดุลระหว่างการฟื้นฟูภาระที่ภาครัฐเคยสนับสนุนไว้ และการรักษาเสถียรภาพของค่าครองชีพประชาชน อย่าง่รก็ตาม ในช่วงระหว่างการจัดตั้งรัฐบาลใหม่นั้น ทิศทางการบริหารราคาน้ามันจะเผชิญกับความ่ม่แน่นอนจาก
การบริหารภาษีต่าง ๆ ภายใต้โครงสร้างราคาน้ามัน เป็นประเด็นที่ควรติดตามอย่างใกล้ชิด
• มาตรการลดภาษีสรรพสามิตดีเซล 5 บาท/ลิตร สิ้นสุดลงในวันที่ 20 ก.ค. 2023 ทาให้ราคาน้ามันดีเืลถูกคิดรวมกับภาษีสรรพสามิตในอัตราเดิมที่ราว 6 บาท/ลิตร อย่าง่รก็ตาม กบน. ่ด้มีมติให้ใช้กองทุนน้ามันตรึงราคาน้ามันดีเืล่ว้
ที่ราว 32 บาท/ลิตรเช่นเดิม แต่เนื่องจากสถานะกองทุนน้ามันยังคงติดลบ ทาให้การตรึงราคาครั้งนี้ไม่มีการกาหนดกรอบเวลาที่ชัดเจน แต่จะคานึงถึงสภาพคล่องของกองทุนน้ามันเป็นหลัก
• อย่างไรก็ดี ราคาพลังงานโลกและต้นทุนน้ามันมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากช่วงครึ่งแรกของปี 2023 ทาให้การจะตรึงราคาไว้ที่ระดับเดิมได้นั้น กองทุนน้ามันต้องเข้าไปช่วยพยุงราคามากขึ้นด้วย ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสภาพคล่อง
ของกองทุนน้ามัน มองไปข้างหน้า มีความเสี่ยงที่กองทุนน้ามันอาจรับภาระอุ้มราคา่ด้เพียงบางส่วน และเป็นความเสี่ยงที่ราคาน้ามันในประเทศอาจปรับสูงขึ้น
21
ค่าไฟฟ้าในช่วงที่เหลือของปี 2023 มีแนวโน้มลดลงตามต้นทุนพลังงานที่ลดลง และมีโอกาสลดลงได้อีก
หากภาครัฐเลื่อนการชาระคืนภาระต้นทุนคงค้าง
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล Bloomberg, ERC, EPPO และ EGAT
ต้นทุนพลังงานสาหรับโรงไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลงตามราคาก๊าซธรรมชาติโลก
หน่วย : LHS-THB/MMBTU, RHS-USD/MMBTU
Ft งวดท้ายของปีลดลงเพียง 23 สตางค์/หน่วย แม้ต้นทุนพลังงานจะลดลงถึง 34 สตางค์/หน่วย
หน่วย : สตางค์/หน่วย
0
10
20
30
40
50
60
100
200
300
400
500
600
700
2023
Pool
gas
price,
EPP
(THB/MMBTU)
Global
natural
gas
price
(USD/MMBTU)
2020 2021 2022
JKM (RHS, JKL1 1M-Lead)
Pool gas price (LHS)
EPP: Energy Pool Price
(incl other fossil fuel e.g. oil, LHS)
91
67
63
29
-50
0
50
100
150
200
Jan21
Ft
ขายปลี
ก
(สตางค์
/
หน่
ว
ย)
Sep
May
May Sep Jan23
Jan22
138 (ครัวเรือน = 93 ภาคธุรกิจ 155)
May Sep
FAC-Ft จริงตามต้นทุนพลังงาน
Ft ขายปลีก-จัดเก็บจากผู้ใช้่ฟฟ้า (เฉลี่ยครัวเรือนและธุรกิจ)
F
E
15 bn THB
(AF สะสม -150 bn THB)
EGAT รับต้นทุน่ว้ 18 bn THB
23 bn THB
ค่าไฟฟ้าของไทยในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามต้นทุนพลังงาน โดยเฉพาะราคาก๊าซฯ ทั้งนี้ Ft ขายปลีกประกาศในงวดเดือน ก.ย.-ธ.ค. 2023 จะลดลง 24 สตางค์/หน่วยจากงวดเดือน พ.ค.-
ส.ค. 2023 อยู่ที่ 67 สตางค์/หน่วย (ค่า่ฟ่ม่รวม VAT เฉลี่ย 4.45 บาท/หน่วย) โดยผู้ใช้่ฟฟ้ามีการจ่ายค่า Ft สูงกว่าต้นทุนพลังงานจริงอยู่ราว 38 สตางค์/หน่วย เนื่องจากภาระต้นทุนคงค้าง (AF) ที่ EGAT รับ
ต้นทุน่ว้ช่วงปี 2021-2022 ืึ่ง EGAT เสนอให้ทยอยชาระคืน AF ่ปอีก 5 งวดจะสิ้นสุดในเดือน เม.ย. 2025 ดังนั้น Ft ขายปลีก ณ งวดเดือน พ.ค.-ส.ค. 2025 ถึงจะเป็นค่า Ft ที่สะท้อนต้นทุนพลังงานที่แท้จริง
(หากค่า AF ่ม่เพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน)
22
อัตราเงินเฟ้อชะลอลงต่อเนื่องในเดือน ก.ค. อย่างไรก็ดี ต้องจับตาปัจจัยเอลนีโญและราคาน้ามันที่จะกดดันเงินเฟ้อ
ในช่วงปลายปี 2023
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, ธนาคารแห่งประเทศ่ทย และ CEIC
ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป
หน่วย : ดัชนี (2019=100)
แหล่งที่มาการขยายตัวของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : ดัชนี (2019 = 100)
%YOY Share 2022 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23 Jul-23
รวมทุกรายการ 100% 6.1% 3.8% 2.8% 2.7% 0.5% 0.2% 0.4%
หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 40.4% 6.9% 5.7% 5.2% 4.5% 4.0% 3.4% 1.5%
อาหารสด 20.6% 6.8% 7.1% 6.7% 5.5% 4.7% 3.9% 1.4%
เนื้อสัตว์ 3.5% 21.1% 2.1% 3.9% 0.5% -7.4% -11.3% -13.7%
อาหารบริโภค-ในบ้าน 8.7% 7.5% 5.0% 4.5% 4.3% 4.0% 3.5% 2.1%
อาหารบริโภค-นอกบ้าน 6.7% 7.0% 4.4% 3.6% 3.6% 3.6% 3.3% 1.5%
หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า 2.2% 0.0% 0.3% 0.3% 0.3% 0.5% 0.5% 0.3%
หมวดเคหสถาน 23.2% 4.7% 3.1% 3.2% 3.0% -0.7% 2.0% 1.9%
ไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้าประปาและแสงสว่าง 5.5% 20.8% 11.2% 11.5% 11.1% -4.0% 7.3% 6.9%
หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล 5.7% 1.1% 2.0% 2.0% 1.8% 1.9% 1.8% 1.8%
หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร 22.7% 9.1% 2.4% -0.7% -0.1% -4.6% -6.9% -3.3%
หมวดการบันเทิงการอ่าน การศึกษา และการศาสนา 4.5% 0.2% 1.4% 1.5% 1.5% 1.5% 0.7% 0.6%
หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ 1.4% 2.0% 1.1% 0.7% 0.7% 0.7% 0.6% 0.6%
ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 67.1% 2.5% 1.9% 1.7% 1.7% 1.5% 1.3% 0.9%
-2.0%
0.0%
2.0%
4.0%
6.0%
8.0%
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
Core contribution
Energy contribution
Raw food contribution
Headline
Core
ปัจจัยฐานเร่งตัวสูงมากในช่วง Q2 ของปีก่อนและ
จะมีผลเล็กน้อยในช่วงที่เหลือของปีนี้
• การกลับมาของเอลนีโญ SCB EIC คาดว่า ในกรณีฐาน มูลค่าความเสียหายในภาคเกษตรจาก
ภาวะ่นแล้งปี 2023 จะอยู่ที่ราว 40,000 ล้านบาท โดยผลกระทบส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในปีหน้า
ตามฤดูกาลการผลิตสินค้าเกษตร ส่งผลให้ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
• การเร่งตัวของราคาน้ามัน ราคาน้ามันดิบ่ด้ปรับลดลงมาต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงครึ่งปีหลังของปี
2022 จนถึงในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2023 อันเนื่องมาจากความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอย
แต่อย่าง่รก็ตาม ในช่วงครึ่งหลังของปี 2023-2024 ภาวะเศรษฐกิจโลกยังขยายตัว่ด้ ประกอบ
กับกลุ่ม OPEC+ ่ด้ลดกาลังการผลิต จึงทาให้ระดับราคาน้ามันในปี 2024 ปรับตัวสูงขึ้นเมื่อเทียบ
กับปี 2023
ปัจจัยกดดันเงินเฟ้อ
23
SCB EIC คาดว่า กนง. จะขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีก 1 ครั้งสู่ 2.5% และคงไว้ที่ระดับดังกล่าว เพื่อปรับนโยบายการเงิน
ให้สอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อในระยะยาว รวมถึงเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงิน
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย และ CEIC
คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย โดย SCB EIC
หน่วย : %
อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core inflation) และอัตราเงินเฟ้อทั่วไป
หน่วย : %YOY
1.75
2
2.5 2.5 2.5 2.5 2.5 2.5
0
0.5
1
1.5
2
2.5
Q1/2023
Q2/2023
Q3/2023
Q4/2023
Q1/2024
Q2/2024
Q3/2024
Q4/2024
0.9
0.4
-4
-2
0
2
4
6
8
10
-0.1
0.9
1.9
2.9
2016
2016
2017
2017
2018
2018
2019
2020
2020
2021
2021
2022
2023
Core CPI CPI (RHS)
เงินเฟ้อพื้นฐานปรับลดลงแต่มี
แนวโน้มทรงตัวในระดับที่สูง
กว่าค่าเฉลี่ยในอดีต
เงินเฟ้อทั่วไปปรับลดลงในระยะสั้นจากจากราคา
ในหมวดพลังงาน มาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพ
และผลของฐานที่สูงในปีก่อนหน้า
SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% ในเดือน ก.ย. นี้ สู่ระดับ Neutral rate ที่ 2.5% และคงไว้ที่ระดับดังกล่าว เนื่องจาก
1. เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องเข้าสู่ระดับศักยภาพ (3-4%) นโยบายการเงินจึงควร Normalize ให้เหมาะสมกับเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว
2. แม้เงินเฟ้อลดลงในระยะสั้น แต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากราคาอาหารที่อาจสูงขึ้นจากเอลนีโญและนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม่ ส่งผลให้อาจมีการส่งผ่านต้นทุนของผู้ประกอบการ่ปยัง
ราคาสินค้า เพิ่มขึ้น
3. เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว ลดปัญหาหนี้ครัวเรือนและการ Underpricing of risks จากดอกเบี้ยที่ต่าเป็นระยะเวลานาน ืึ่งส่งผลให้เกิดความเปราะบางในระบบการเงิน่ทย
24
การขึ้นดอกเบี้ยนโยบายส่งผลให้ต้นทุนการระดมทุนในตลาดสินเชื่อปรับสูงขึ้น เช่นเดียวกับต้นทุนการระดมทุนใน
ตลาดพันธบัตรที่ทยอยปรับสูงขึ้น ส่งผลให้ภาวะการเงินไทยโดยรวมผ่อนคลายลดลง
หมายเหตุ: * ค่าเฉลี่ยระหว่างค่าสูงสุดและต่าสุด, ** อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักตามจานวนสัญญา
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย และ Bloomberg
อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะสั้นปรับสูงขึ้น
หน่วย : %
ต้นทุนการระดมทุนในตลาดสินเชื่อของไทย ปรับสูงขึ้นตามทิศทางของอัตราดอกเบี้ยนโยบาย
หน่วย : % (ข้อมูล ณ สิ้นเดือน ก.ค.)
2
6.92
7.19
4.01
0
2
4
6
8
10
2005
2006
2007
2008
2009
2010
2011
2012
2013
2014
2015
2016
2017
2018
2019
2020
2021
2022
2023
Policy rate MOR* MLR* MRR* NLR**
2.6
0
1
2
3
4
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Jul-23
Policy rate 3 month 1 year 2 year 5 year 10 year
BOT started hiking
Average corporate spreads แบ่งตามอันดับความน่าเชื่อถือ (TTM<3Y)
หน่วย : BPS
56
76
255
0
200
400
Jan-20
Apr-20
Jul-20
Oct-20
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
Jul-23
AAA AA A BBB
Spread ลดลงตามแนวโน้มเศรษฐกิจที่ดีขึ้นและ
ความเสี่ยงที่ลดลง เป็นผลดีต่อต้นทุนการระดมทุน
ในตลาดพันธบัตรของภาคธุรกิจ
25
นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นอาจกระทบต่อการระดมทุนและความสามารถในการชาระหนี้ส่งผลต่อคุณภาพสินเชื่อ
ทั้งนี้การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ยังเพิ่มขึ้น แต่คาดว่าจะชะลอลงในระยะต่อไป ทิศทางภาวะการเงินจะตึงตัวยิ่งขึ้น
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย, InnovestX และ CEIC
ยอดคงค้าง Gross NPLs ระบบธนาคารพาณิชย์
หน่วย : ล้านบาท
อัตราการขยายตัวของสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์
หน่วย : %YOY
0.0
2.0
4.0
0
5
10
Jan-21
Mar-21
May-21
Jul-21
Sep-21
Nov-21
Jan-22
Mar-22
May-22
Jul-22
Sep-22
Nov-22
Jan-23
Mar-23
May-23
Total loan growth Policy rate (RHS)
การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชน
หน่วย : ล้านบาท
6%
-50%
0%
50%
100%
150%
0
100,000
200,000
300,000
Jan-21
Apr-21
Jul-21
Oct-21
Jan-22
Apr-22
Jul-22
Oct-22
Jan-23
Apr-23
ตราสารหนี้ภาคเอกชนออกใหม่ %YOY (RHS)
2.7
2.4
2.6
2.8
3
3.2
460,000
490,000
520,000
550,000
Q1/2021
Q2/2021
Q3/2021
Q4/2021
Q1/2022
Q2/2022
Q3/2022
Q4/2022
Q1/2023
ยอดคงค้าง NPL
% ต่อสินเชื่อรวม (RHS)
ผลประกอบการกลุ่มธนาคารใน Q2 สะท้อนว่า
สินเชื่อฟื้นตัวเล็กน้อยจาก Q1
แต่ %YTD และ %YOY ยังอ่อนแอ
NPL ลดลงจากการบริหารจัดการคุณภาพหนี้และปรับโครงสร้างหนี้
หลายธนาคารมี NPL ไหลเข้าเพิ่มขึ้นใน Q2
สะท้อนความเสี่ยงด้านคุณภาพสินทรัพย์ที่เริ่มสูงขึ้น
• การขยายตัวของสินเชื่อยังคงอ่อนแอ ตามมาตรฐานการให้สินเชื่อของสถาบันการเงินที่เข้มงวดต่อเนื่อง โดยเฉพาะ
สินเชื่อครัวเรือนที่มีความเสี่ยงสูงและธุรกิจในภาคการผลิตที่เกี่ยวกับส่งออก ขณะที่อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นอาจส่งผลให้
ความต้องการสินเชื่อใหม่ปรับลดลง
• การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ยังเพิ่มขึ้น แต่คาดว่าจะชะลอลงในช่วงที่เหลือของปี เนื่องจากหลายธุรกิจ่ด้เร่งออก
หุ้นกู้่ปแล้ว ขณะที่นักลงทุนเพิ่มความระมัดระวังในการลงทุนจากความเสี่ยงด้านเครดิตของผู้ระดมทุนที่สูงขึ้น ืึ่งอาจ
กระทบต่อการ Roll-over หุ้นกู้ในระยะต่อ่ป
• NPL อาจเพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อย ตามความสามารถในการชาระหนี้ของครัวเรือนราย่ด้น้อยและ SMEs
ที่ยังเปราะบาง โดยคุณภาพสินเชื่อด้อยลงในกลุ่มครัวเรือนที่ราย่ด้ยังฟื้นตัว่ม่เต็มที่และเผชิญค่าครองชีพสูงขึ้น
ขณะที่ SMEs เผชิญการส่งออกที่ชะลอลงตามเศรษฐกิจโลก
• ผลประกอบการกลุ่มธนาคารในไตรมาส 2 สะท้อนคุณภาพสินทรัพย์แย่กว่าคาด Credit cost ปรับสูงขึ้น และหลาย
สถาบันการเงินตั้งสารองหนี้เสียเพิ่มขึ้น
26
ในระยะยาวคาดว่าเงินบาทจะทยอยแข็งค่าขึ้นได้ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยประกอบกับความไม่แน่นอน
ทางการเงินที่น่าจะลดลงหลังมีการจัดตั้งรัฐบาล แต่เงินบาทอาจแข็งค่าได้ไม่มากจากเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอกว่าคาด
ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB FX จากข้อมูลของ Bloomberg และ Fed
การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบดอลลาร์สหรัฐ
หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 21 ส.ค. 2023)
Implied Fed Fund rate จากตลาด Forward ณ สิ้นปี 2023 และ 2024
หน่วย : %
ปัจจัยที่จะทาให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นในระยะกลางถึงยาว
-2.96%
-1.90%
-15%
-10%
-5%
0%
5%
Japan
Korea
China
Malaysia
Taiwan
Thailand
Philippines
Vietnam
India
Dollar
index
Indonesia
Europe
MTD Q2_2023 YTD
3.5
4
4.5
5
5.5
Implied Fed fund rate @ end2023 Implied Fed fund rate @ end2024
Release of Fed Minutes
คาดการณ์ดอกเบี้ยสิ้นปีหน้าสูงขึ้น
หลังนักลงทุนมอง Fed Hawkish
เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี จากแนวโน้ม
นักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะเข้ามา่ทยมากขึ้น (โดยเฉพาะจากจีน) การบริโภค
ภาคเอกชนที่จะขยายตัวต่อเนื่อง และการใช้จ่ายภาครัฐที่อาจเพิ่มขึ้น
ภาคการส่งออกที่มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น แม้จะหดตัวในช่วงครึ่งแรกของปี
ประกอบกับการส่งออกภาคบริการที่จะสูงขึ้น ทาให้ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมา
เกินดุลในปีนี้ (คาดว่าจะเกินดุล 1.3% ต่อ GDP)
ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่น่าจะลดลง คาดว่าอย่างช้า่ตรมาส 4 น่าจะ่ด้
นายกรัฐมนตรีและจัดตั้งรัฐบาลสาเร็จ ทาให้ sentiment ของนักลงทุนปรับดี
ขึ้น เงินทุนเคลื่อนย้าย่หลกลับเข้าตลาดการเงิน่ทย
ทางการจีนน่าจะออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม แม้จะมีแนวโน้ม
ออกมาช้า น่าจะช่วยพยุงเงินหยวนได้
อย่างไรก็ดี คาดว่าเงินบาทอาจไม่แข็งค่าเท่าที่เคยมองไว้ เนื่องจาก
เศรษฐกิจจีนอ่อนแอกว่าที่เคยคาดไว้ โดยประเมินว่า GDP อาจขยายตัวเพียงราว 5%
แม้มองว่า Fed จะหยุดขึ้นดอกเบี้ยในปีนี้ แต่ Fed ยังส่งสัญญาณ Hawkish ทาให้
แนวโน้มการลดดอกเบี้ยในปีหน้าอาจ่ม่เร็วและมากเท่าที่ตลาดคาด
เงินบาท ณ สิ้นปีนี้จะแข็งค่าขึ้นมาอยู่ที่ราว 33.50-34.30
และจะแข็งค่าต่อเนื่องสู่ระดับ 32.00-33.00 ณ สิ้นปี 2024
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง
ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง

More Related Content

Similar to ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง

Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfSCBEICSCB
 
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621SCBEICSCB
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...SCBEICSCB
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...SCBEICSCB
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCBEICSCB
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFINNOMENAMarketing
 
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...SCBEICSCB
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...SCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCBEICSCB
 
%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย
%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย
%81นวโน้วเศรษฐกิจไทยnongalisanaja
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdfFINNOMENAMarketing
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfSCBEICSCB
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdfFINNOMENAMarketing
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdfFINNOMENAMarketing
 

Similar to ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง (20)

Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdfEIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
EIC-Note_Fed-Hike-(Jun22)_20220621.pdf
 
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
EIC Note_Fed Hike (Jun22)_20220621
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
 
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
ท่องเที่ยวหนุนเศรษฐกิจไทยฟื้นตัวต่อเนื่อง ส่งออกยังไม่สดใสแต่คาดกลับมาขยายตัว...
 
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
SCB EIC ประเมินอัตราดอกเบี้ยนโยบายลดลงในปีนี้ ตาม Momentum เศรษฐกิจไทยและเงิน...
 
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdfFinnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
Finnomena Weekly Market Insight 2024_10_#242 (1).pdf
 
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
เศรษฐกิจไทยยังไปต่อ SCB EIC มองความไม่แน่นอนทางการเมืองเป็นความเสี่ยงที่ต้องจ...
 
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdfPresentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
Presentation_Outlook Q3 2022_20220913.pdf
 
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
SCB EIC มองเศรษฐกิจ CLMV เร่งตัวในปี 2024 แต่ยังโตช้ากว่าช่วงก่อน COVID-19 จา...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
เศรษฐกิจโลกมีสัญญาณชะลอตัวชัดเจนขึ้น EIC คาดเงินเฟ้อโลกชะลอช้าและอยู่สูงกว่าเ...
 
SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24SCB EIC Monthly Jan 24
SCB EIC Monthly Jan 24
 
%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย
%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย
%81นวโน้วเศรษฐกิจไทย
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 223.pdf
 
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdfPresentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
Presentation_Outlook-Q4-2022_20221028.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 2024_4_#236.pdf
 
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdfFINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf
FINNOMENA Weekly Market Insight 222.pdf
 

More from SCBEICSCB

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfSCBEICSCB
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...SCBEICSCB
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...SCBEICSCB
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นSCBEICSCB
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCBEICSCB
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfSCBEICSCB
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงSCBEICSCB
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCBEICSCB
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...SCBEICSCB
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...SCBEICSCB
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCBEICSCB
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCBEICSCB
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023SCBEICSCB
 

More from SCBEICSCB (19)

ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital walletส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
ส่องพฤติกรรมการใช้จ่ายผู้มีสิทธิ จากนโยบาย Digital wallet
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdfHealth and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
Health and Wellness survey 2024-Aesthetic-Surgery-20240417.pdf
 
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdfCLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
CLMV-Outlook-March-2024-ENG-20240327.pdf
 
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
Outlook ไตรมาส 1/2024 ภาคการผลิตไทยปรับตัวช้าฉุดเศรษฐกิจระยะยาว SCB EIC มองดอ...
 
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
สำรวจเทรนด์สุขภาพเวลเนสชาวไทยด้านดูแล รักษา และป้องกัน…ธุรกิจดาวรุ่งที่กำลังเ...
 
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็นเมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
เมื่อคนไทย (ส่วนใหญ่) ยังไม่พร้อม…การเตรียมความพร้อมจึงจำเป็น
 
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
SCB EIC คาดอุตสาหกรรมก่อสร้างปี 2024 ขยายตัว 2%YOY แตะ 1.4 ล้านล้านบาท แนะผู้...
 
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdfIn focus-Health and wellness survey-2023.pdf
In focus-Health and wellness survey-2023.pdf
 
Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023Outlook ไตรมาส 4/2023
Outlook ไตรมาส 4/2023
 
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรงอุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
อุตสาหกรรมน้ำตาลในปี 2024 ยังขยายตัวได้ แม้จะเผชิญปัญหาภัยแล้งรุนแรง
 
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdfSCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
SCB-EIC-Monthly-NOV-20231123.pdf
 
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
SCB EIC มองตลาดพื้นที่สำนักงานให้เช่าและตลาดพื้นที่ค้าปลีกให้เช่าปี 2024 ยังม...
 
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ และพลังงานลมปี 2024 เติบโตตามกระแสการใช้ไฟฟ้าสีเขีย...
 
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
อุตสาหกรรมอาหารทะเลมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น ท่ามกลางแนวโน้มการฟื้นตัวที่เปราะบา...
 
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdfIndustry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
Industry_Insight_Restaurant_20231107.pdf
 
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdfSCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
SCB EIC Industry insight-Power overview-20231027.pdf
 
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdfSCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
SCB EIC Monthly-OCT-20231020.pdf
 
Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023Outlook Quarter 3/2023
Outlook Quarter 3/2023
 

ส่งออกทรุดฉุดเศรษฐกิจไทยไตรมาส 2/2023 ในระยะต่อไปยังเผชิญ ความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง

  • 1. SCB EIC Monthly เศรษฐกิจไทยไตรมาส 2 ปี 2023 ขยายตัวเพียง 1.8%YOY SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยในระยะต่อไปมีปัจจัยสนับสนุนจาก การบริโภคภาคเอกชนที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง ท่ามกลางความเสี่ยง จากเศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวแผ่วลง Issue : Aug 2023
  • 2. 2 Executive summary เศรษฐกิจโลกในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโตดีกว่าคาดที่ 2.4% (เดิม 2.1%) ตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้ม Soft landing ได้ และเศรษฐกิจญี่ปุ่นที่ดีกว่าคาด ช่วยลดผลด้านลบจากเศรษฐกิจจีน ที่ฟื้นตัวช้า โดยเศรษฐกิจจีนเติบโตชะลอตัวต่อเนื่อง สะท้อนจากดัชนีผู้จัดการ่าายจัดืื้อที่ปรับตัวลดลงทั้งภาคการผลิตและบริการ ท่ามกลางความเสี่ยงใหม่จากการผิดนัดชาระเงินของบริษัทอสังหาฯ และบริษัทการเงินขนาดใหญ่กระทบความเชื่อมั่นของนักลงทุน ทั้งนี้เศรษฐกิจโลกในช่วงครึ่งหลังของปียังมีแนวโน้มเติบโตชะลอลงกว่าในช่วงครึ่งแรกของปี แต่่ม่แย่เท่าที่เคยคาด่ว้ แรงกดดันเงินเฟ้อพื้นฐานในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักยังสูง ตามตลาดแรงงานที่ตึงตัวและค่าจ้างที่ยังขยายตัวสูง นโยบายการเงินจึงมีแนวโน้มตึงตัวต่อเนื่องไปจนถึงปี 2024 ธนาคารกลาง สหรัฐฯ (Fed) มีแนวโน้มคงดอกเบี้ย่ว้ในระดับสูงต่อเนื่องจนถึง่ตรมาส 2 ปี 2024 ธนาคารกลางยุโรป (ECB) และธนาคารกลางอังกฤษ (BOE) จาเป็นต้องขึ้นดอกเบี้ยต่อสู่ Terminal rate ในช่วง ่ตรมาส 3 และ 4 ปีนี้ เศรษฐกิจไทยไตรมาส 2 ปี 2023 ขยายตัวเพียง 1.8%YOY หรือ 0.2%QOQ_sa แม้่ด้รับแรงสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนที่่ด้รับอานิสงส์จากการฟื้นตัวของภาคการท่องเที่ยวและบริการเป็น แรงหนุนสาคัญ แต่เศรษฐกิจ่ทยเผชิญแรงกดดันจากการส่งออกสินค้ายังหดตัวต่อเนื่องตามแนวโน้มเศรษฐกิจและการค้าโลกที่เติบโตชะลอลงจากปีก่อนและยังผันผวนสูง โดยเฉพาะเศรษฐกิจจีนที่เป็น คู่ค้าหลักของ่ทยขยายตัวแผ่วลง ส่งผลให้การลงทุนจากภาคเอกชนขยายตัวชะลอลงมาก สาหรับการใช้จ่ายภาครัฐขยายตัว่ม่ดีนัก ส่วนหนึ่งเพราะปัจจัยฐานที่มีการใช้จ่ายจากเงินกู้เพิ่มเติมช่วงวิกฤติ โควิดและการเบิกจ่ายงบลงทุนในปีนี้ที่อยู่ในระดับต่า SCB EIC มองเศรษฐกิจไทยในระยะต่อไปมีปัจจัยสนับสนุนจากการบริโภคภาคเอกชนที่ฟื้นตัวต่อเนื่อง ท่ามกลางความเสี่ยงจากเศรษฐกิจจีนที่ขยายตัวแผ่วลง โดยจานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติ ที่เดินทางมา่ทยอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง แม้จะมีแนวโน้มจากัดค่าใช้จ่ายท่องเที่ยวจากภาวะเศรษฐกิจในบางประเทศที่ชะลอตัว มอง่ปข้างหน้าเศรษฐกิจ่ทยเผชิญความเสี่ยงด้านต่าจากการส่งออก่ทย ในครึ่งหลังของปีจากเศรษฐกิจจีนที่แผ่วลง ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรม่ทยที่พึ่งพาตลาดจีนสูงและอยู่ในห่วงโื่อุปทาน (Supply chain) ของสินค้าส่งออกจีน โดยเฉพาะยางพารา ่ม้ยางพารา ปิโตรเคมี คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ รวมถึงชิ้นส่วนยานยนต์ นอกจากนี้ เศรษฐกิจ่ทยยังมีความเสี่ยงจากความ่ม่แน่นอนทางการเมือง ทั้งความล่าช้าในการจัดตั้งรัฐบาลที่อาจกระทบการเบิกจ่าย งบประมาณและโครงการลงทุนภาครัฐ และความ่ม่แน่นอนของนโยบายรัฐบาลใหม่ SCB EIC คาดว่านโยบายการเงินไทยจะทยอยปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องสู่ Terminal rate ที่ 2.5% ในไตรมาส 3 นี้ ตามปัจจัยแนวโน้มเศรษฐกิจ่ทยที่ขยายตัวต่อเนื่อง ปัจจัยเงินเฟ้อแม้จะกลับมาอยู่ใน กรอบแต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากการส่งผ่านต้นทุนและแรงกดดันเงินเฟ้อด้านอุปสงค์ และเพื่อให้อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงทยอยกลับเป็นบวก่ด้ ทั้งนี้การปรับขึ้นดอกเบี้ยที่ผ่านมาส่งผลให้ต้นทุน การระดมทุนในตลาดสินเชื่อและตลาดพันธบัตรระยะสั้นปรับสูงขึ้น ในระยะต่อ่ปคาดว่าดอกเบี้ยที่สูงขึ้นจะกระทบความสามารถในการชาระหนี้และคุณภาพสินเชื่อ ทิศทางภาวะการเงิน่ทยจะตึงตัวยิ่งขึ้น สาหรับค่าเงินบาท ระยะเวลาในการจัดตั้งรัฐบาลจะเป็นปัจจัยหลักกาหนดทิศทางเงินบาทในระยะสั้น ในช่วงปลายปีคาดว่าเงินบาทจะกลับมาแข็งค่าได้ที่ราว 33.50-34.30 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจ่ทย ประกอบกับความ่ม่แน่นอนทางการเมืองที่น่าจะลดลงหลังมีการจัดตั้งรัฐบาลใหม่ อย่าง่รก็ดี เงินบาทอาจแข็งค่า่ด้่ม่มากจากเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอกว่าที่เคยคาด่ว้
  • 4. 4 เศรษฐกิจโลกในปี 2023 มีแนวโน้มเติบโต 2.4% (เดิม 2.1%) ตามเศรษฐกิจสหรัฐฯ ที่มีแนวโน้ม Soft landing และเศรษฐกิจญี่ปุ่น ที่ดีกว่าคาด ช่วยลดผลด้านลบจากเศรษฐกิจจีนที่ฟื้นตัวช้า ทั้งนี้แนวโน้มเศรษฐกิจโลกช่วงครึ่งปีหลังจะยังเติบโตชะลอกว่าครึ่งปีแรก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, S&P Global และ CEIC Citi Economic Surprise Index หน่วย : ดัชนี, < 0 = ตัวเลขจริงออกมาแย่กว่าที่ตลาดคาด (@Aug 14th ) ดัชนีผู้จัดการฝ่ายจัดซื้อของโลก (Purchasing Managers’ Index: PMI) หน่วย : ดัชนี, > 50 = ขยายตัว คาดการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลก โดย SCB EIC หน่วย : %YOY GDP growth 2022 2023 Forecast Jun Aug Global 3.0% 2.1% 2.4% US 2.1% 1.4% 1.9% Euro 3.5% 0.6% 0.6% UK 7.5% -0.6% 0.4% Japan 1.4% 1.2% 2.1% China 3.0% 5.7% 5.1% India 6.7% 6.4% 6.4% CLMV 6.4% 4.6% 4.6% -190 -140 -90 -40 10 60 110 160 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 Global US Eurozone UK China Japan EMs 45 47 49 51 53 55 57 59 Jul-21 Jan-22 Jul-22 Jan-23 Jul-23 Services PMI Manufacturing PMI Composite PMI กิจกรรมทางเศรษฐกิจยังขยายตัวได้ แต่เริ่มเห็นสัญญาณการชะลอลง • สหรัฐฯ มีแนวโน้มหลีกเลี่ยงภาวะถดถอยได้ในปีนี้ จากการใช้จ่ายผู้บริโภค และการลงทุนดีต่อเนื่อง และความผันผวนในภาคธนาคารคลี่คลายชัดเจนขึ้น • ตลาดแรงงานทั่วโลกมีความยืดหยุ่นสูง ช่วยสนับสนุนการบริโภคภาคเอกชน • การฟื้นตัวต่อเนื่องของภาคบริการ แม้เริ่มชะลอลงบ้างแต่คาดว่าจะยังขยายตัว่ด้ ในช่วงที่เหลือของปีตามอุปสงค์ที่ถูกอั้น่ว้ช่วงโควิด Upside • มาตรฐานการปล่อยสินเชื่อเข้มงวดขึ้น กดดันการลงทุนและการบริโภค • เศรษฐกิจจีนฟื้นตัวช้า ตามภาคอสังหาฯ และอุปสงค์ในประเทศที่ยังืบเืา • ภาคการผลิตและการค้าระหว่างประเทศที่จะยังอ่อนแอ ตามภาวะอุปสงค์ทั่วโลกที่ืบเืา • ราคาสินค้าโภคภัณฑ์อาจเร่งตัวในไตรมาส 4 ตามการลดอุปทานน้ามันของ OPEC+ และนโยบายปกป้องอุปทานผลผลิตเกษตร ในหลายประเทศและเอลนีโญ ทาให้ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มปรับเพิ่มขึ้นในปลายปี • ความเสี่ยง US government shutdown และความไม่แน่นอนในภาคธนาคารขนาดกลาง-เล็กของสหรัฐฯ • ความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์ยืดเยื้อ Downside
  • 5. 5 แรงกดดันเงินเฟ้อพื้นฐานในกลุ่มประเทศเศรษฐกิจหลักยังสูง ส่งผลให้ ECB และ BOE จาเป็นต้องขึ้นดอกเบี้ยต่อ ขณะที่ Fed มีแนวโน้มคงดอกเบี้ยไว้ในระดับสูงต่อเนื่องจนถึงไตรมาส 2 ปี 2024 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, CEIC, Eurostat. ECB และ BOE อัตราเงินเฟ้อของ EU และ Financial Condition Heatmap อัตราเงินเฟ้อของ UK หน่วย : %YOY, %MOM อัตราเงินเฟ้อของ US หน่วย : %YOY หน่วย : %MOM Group Indicators Unit 2022 2023 Jul Aug Sep Oct Nov Dec Jan Feb Mar Apr May Jun Inflation All-items HICP %YOY 8.9 9.2 9.9 10.6 10.1 9.2 8.7 8.5 6.9 7 6.1 5.5 Core HICP %YOY 4.1 4.3 4.8 5 5 5.2 5.3 5.6 5.7 5.6 5.4 5.5 Food and non alcohol bev. %YOY 11.5 12.5 13.8 15.5 16 16 16.3 17.3 17.5 15 13.7 12.5 Energy %YOY 39.4 38.5 40.5 41.3 34.8 25.4 18.9 13.7 -0.9 2.2 -1.8 -5.6 Financial condition Main Refinancing Rates 0.5 0.5 1.3 1.3 2.0 2.5 2.5 3.0 3.5 3.5 3.8 4.0 Deposit Facility Rates 0.0 0.0 0.8 0.8 1.5 2.0 2.0 2.5 3.0 3.0 3.3 3.5 Marginal Lending Facility 0.8 0.8 1.5 1.5 2.3 2.8 2.8 3.3 3.8 3.8 4.0 4.3 Monetary Conditions Index -6.4 -6.6 -6.4 -6.3 -6.1 -5.9 -5.7 -5.7 -5.6 -5.1 -4.7 -4.5 Financial Conditions Index -1.2 -1.8 -1.9 -1.9 -1.3 -0.5 -0.2 0.3 -0.5 -0.7 -0.9 0.1 Lending Loans to Households %YOY SA 4.5 4.4 4.4 4.1 4.0 3.8 3.4 3.2 2.9 2.6 1.5 1.1 Loans to Non-Fin Corps %YOY SA 6.6 7.8 8.0 8.1 7.2 5.5 5.3 5.0 4.5 3.8 3.2 2.4 • ECB มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ย 0.25% อีก 1 ครั้งในเดือน ก.ย. สู่ 4% • BOE มีแนวโน้มขึ้นดอกเบี้ยสู่ Terminal rate 5.75% ณ เดือน พ.ย. สูงสุดในกลุ่ม AEs โดยคาดว่าจะขึ้น อัตราดอกเบี้ยครั้งละ 0.25% อีก 2 ครั้งในเดือน ก.ย. และ พ.ย. จากแรงกดดันเงินเฟ้อที่ยังสูง ขณะที่อัตรา ดอกเบี้ยที่แท้จริงยังติดลบมาก • Fed มีแนวโน้มคงดอกเบี้ยไว้ในระดับปัจจุบันที่ 5.25-5.5% จากเงินเฟ้อที่มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่อง เช่นเดียวกับตลาดแรงงานที่มีสัญญาณชะลอตัวลงทั้งการจ้างงาน จานวนชั่วโมงการทางาน และดัชนีต้นทุน การจ้างงาน (ECI) 6.9 0 3 6 9 12 Jun-20 Sep-20 Dec-20 Mar-21 Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 Jun-23 UK CPI MOM UK CPI YOY UK Core CPI 3.2 4.7 -1 0 1 0 5 10 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Jul-23 CPI MOM (RHS) Core CPI MOM (RHS) US CPI US Core CPI
  • 6. 6 เศรษฐกิจจีนชะลอตัวต่อเนื่อง เห็นจากดัชนี PMI ที่ลดลงทั้งภาคการผลิตและบริการ ท่ามกลางความเสี่ยงใหม่ จากการผิดนัดชาระเงินของบริษัทอสังหาฯ และบริษัทการเงินขนาดใหญ่ ซึ่งจะกระทบความเชื่อมั่นนักลงทุนต่อไป หมายเหตุ : *ค่าเฉลี่ยของดัชนี PMI ที่จัดทาโดย National Bureau of Statistics และดัชนี PMI ที่จัดทาโดย Caixin S&P Global **จีน่ม่รายงานข้อมูลเดือน ม.ค.-ก.พ. เนื่องจากเทศกาลตรุษจีน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ S&P Global, National Bureau of Statistics, General Administration of Customs, Bloomberg, Reuters และ CEIC China อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจจีน หน่วย : %YOY (ยกเว้นเส้น %QOQ_sa) อัตราการขยายตัวของการส่งออกสินค้า หน่วย : %YOY อัตราการขยายตัวของยอดค้าปลีก** หน่วย : พันล้านหยวน หน่วย : %YOY ดัชนี PMI* หน่วย : ดัชนี (>50 หมายถึงการขยายตัวจากเดือนที่แล้ว) 51.5 49.3 52.8 45 50 55 60 Composite Manufacturing Services Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23 Jul-23 -20 -10 0 10 20 30 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 USD RMB -20 -10 0 10 20 0 500 1,000 1,500 2,000 2,500 3,000 3,500 4,000 4,500 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 Jun-23 Value Growth Rate (แกนขวา) 5.2 4.3 4.8 0.4 3.9 2.9 4.5 6.3 -2 0 2 4 6 8 Q3/21 Q4/21 Q1/22 Q2/22 Q3/22 Q4/22 Q1/23 Q2/23 Agriculture Industry Services %QOQ_sa • อัตราการว่างงานกลุ่มแรงงานอายุ 16-24 เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง แตะ 21.3% ในเดือน มิ.ย. • หนี้สาธารณะรัฐบาลท้องถิ่นสูง จากัดความสามารถภาครัฐในการออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจ • ภาคอสังหาฯ ืบเืาต่อเนื่อง และมีความเสี่ยงบริษัทอสังหาฯ จะผิดนัดชาระหนี้เพิ่มเติม • ความเสี่ยงภูมิรัฐศาสตร์ทาให้หลายประเทศสาคัญ เช่น สหรัฐฯ และสหภาพยุโรปเริ่มหาืัพพลายเออร์ ใหม่ กระทบภาคส่งออกและภาคการผลิตจีนต่อเนื่อง เศรษฐกิจจีนยังมีปัจจัยเสี่ยงเชิงโครงสร้างกดดันการฟื้นตัวหลายประการ อาทิ บริษัท Country Garden • บริษัทอสังหาริมทรัพย์ขนาดใหญ่ที่มีโครงการมากกว่า Evergrande Group ถึง 4 เท่าผิดนัดชาระหนี้ หุ้นกู้สกุลดอลลาร์สหรัฐืึ่งกาหนดชาระเมื่อวันที่ 6 ส.ค. มูลค่า 22.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ (ทั้งนี้มี Grace period 30 วัน) • Bloomberg รายงานว่า Country Garden กาลังเจรจาขยายเวลาการชาระหนี้มูลค่า 537 ล้านดอลลาร์ สหรัฐ ืึ่งจะครบกาหนดวันที่ 2 ก.ย. นี้ และ่ด้ระงับการืื้อขายหุ้นกู้ในตลาดจีน 11 หุ้นกู้ • ความเสี่ยงการผิดนัดชาระหนี้มีแนวโน้มทาให้ความเชื่อมั่นในตลาดอสังหาฯ ลดลงอีกและอาจทาให้ ภาคอสังหาฯ จีนืบเืาต่อเนื่อง แม้รัฐบาลจะทยอยออกมาตรการกระตุ้น บริษัท Zhongzhi Enterprise Group • Zhongrong International Trust ที่มี Zhongzhi Enterprise Group ืึ่งเป็นบริษัทบริหารจัดการความ มั่งคั่งเอกชนขนาดใหญ่ที่มีสินทรัพย์ภายใต้การจัดการว่า 1.38 แสนล้านดอลลาร์สหรัฐ เป็นผู้ถือหุ้น ผิดนัดชาระเงินในผลิตภัณฑ์ผลตอบแทนสูง 3 รายการ • รัฐบาลจีน่ด้ตั้ง Task Force เพื่อพิจารณาความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น และสั่งให้ Zhongrong International Trust รายงานแผนการชาระเงินและการขายสินทรัพย์เพื่อเพิ่มสภาพคล่อง ความเสี่ยงการผิดนัดชาระเงินบริษัท Country Garden และ Zhongzhi Enterprise Group
  • 7. 7 ภาคอสังหาฯ จีนซบเซาต่อเนื่องทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน ตามความเชื่อมั่นผู้บริโภคที่ยังต่าและปัญหาขาด สภาพคล่อง ในระยะต่อไปมีแนวโน้มฟื้นตัวค่อยเป็นค่อยไปจากมาตรการกระตุ้นภาครัฐ แต่จะขยายตัวไม่สูงมากนัก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ CEIC และ National Bureau of Statistics China China ตัวชี้วัดอสังหาฯ จีน – ด้านอุปสงค์ ยังคงซบเซา หน่วย : %YOY ตัวชี้วัดอสังหาฯ จีน – ด้านอุปทาน ซบเซาเช่นกัน หน่วย : %YOY ยอดคงค้างสินเชื่อภาคอสังหาฯ ขยายตัวในอัตราชะลอลงมาก หน่วย : %YOY เงินทุนหมุนเวียนบริษัทอสังหาฯ ลดลงต่อเนื่อง หน่วย : พันล้านหยวน -10 0 10 20 30 Q1/15 Q4/15 Q3/16 Q2/17 Q1/18 Q4/18 Q3/19 Q2/20 Q1/21 Q4/21 Q3/22 Q2/23 Developer Mortage -60 -40 -20 0 20 40 60 80 Mar-21 Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 Jun-23 Real estate investment Floor space started Floor space completed -40 -30 -20 -10 0 10 20 Mar-21 Jun-21 Sep-21 Dec-21 Mar-22 Jun-22 Sep-22 Dec-22 Mar-23 Jun-23 Overall house price Floor space sold 24,579 26,535 27,524 22,214 14,521 12,634 0 10,000 20,000 30,000 2019 2020 2021 2022 6M22 6M23 Others Mortgages Deposits and Advanced Payments Bonds and Stocks Domestic Loan Surplus Fund • การควบคุมการเก็งกาไร : รัฐบาลจีนเคยกล่าวว่า “บ้านมี่ว้พักอาศัย ่ม่ใช่เก็ง กา่ร” ตั้งแต่ปลายปี 2017 สะท้อนท่าทีรัฐบาลที่อยากลดความร้อนแรงของ ภาคอสังหาฯ โดยแม้รัฐบาลจะละเว้นการใช้ถ้อยคาดังกล่าวในการประชุม Politburo ล่าสุดในเดือน ก.ค. 2023 แต่การที่รัฐบาลจีน่ม่่ด้ออกมาตรการ กระตุ้นขนาดใหญ่เหมือนครั้งก่อน ๆ เป็นสัญญาณว่ารัฐบาลจีนยังคงให้ ความสาคัญกับการลดการเก็งกา่ร • Demand-supply mismatch : ตลาดอสังหาฯ จีนมีอุปทานมากกว่าอุปสงค์ กดดันราคาอสังหาฯ และเงินทุนหมุนเวียนของบริษัทอสังหาฯ • ความเปราะบางของเศรษฐกิจ : เศรษฐกิจจีนและราย่ด้ผู้บริโภคอยู่ในช่วงฟื้นตัว ขณะที่อัตราการว่างงานกลุ่มแรงงานอายุน้อยเพิ่มสูงขึ้นมาก ส่งผลให้กาลัง ืื้อยัง่ม่มากและความเชื่อมั่นยังต่า • ปัจจัยด้านประชากร : จานวนประชากรจีนมีแนวโน้มลดลงในระยะยาว กดดัน อุปสงค์การืื้ออสังหาริมทรัพย์ ปัจจัยกดดันการฟื้นตัวของภาคอสังหาฯ จีน • จับตามาตรการกระตุ้นภาคอสังหาฯ : รัฐบาลจีนมีแนวโน้มออกมาตรการ กระตุ้นเพิ่มเติม เช่น สนับสนุนให้บริษัทอสังหาฯ และผู้ืื้อบ้านเข้าถึงสินเชื่อ ง่ายขึ้น และลดข้อจากัดต่าง ๆ เช่น มูลค่าเงินดาวน์หรือการกู้ยืมเพื่อืื้อบ้าน หลังที่สอง แต่คาดว่าขนาดของมาตรการจะ่ม่ใหญ่มากและเน้นเฉพาะจุด • งบดุลบริษัทอสังหาฯ ต้องใช้เวลาฟื้นฟูนานหลายปีอาจจาเป็นต้องปรับ โครงสร้างหนี้หรือขายทรัพย์สินเพื่อชาระหนี้ ืึ่งอาจกดดันให้การลงทุนใหม่ ืบเืาในระยะต่อ่ป • ความร้อนแรงคงไม่เหมือนเก่า ตามความต้องการลดการเก็งกา่รของรัฐบาล มุมมองภาคอสังหาฯ จีนในระยะต่อไป
  • 8. 8 นโยบายการเงินการคลังจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เพื่อสนับสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจที่ยังเปราะบางสูง และมีสัญญาณแผ่วลง แต่ความสามารถในการใช้มาตรการกระตุ้นมีความจากัดมากขึ้นจากหลายปัจจัยกดดัน หมายเหตุ : *MLF = Medium-term lending facility 7DRR = 7-day reverse repo rate ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล CEIC, PBOC, IMF, Capital Economics และ Bloomberg China นโยบายการเงินของจีน นโยบายการคลังของจีน อัตราการขยายตัวของสินเชื่อคงค้างจีน หน่วย : %YOY อัตราเงินเฟ้อจีน หน่วย : %YOY คาดการณ์หนี้สาธารณะโดย IMF (รวม LGFV)** หน่วย : % ต่อ GDP อัตราส่วนภาระดอกเบี้ยต่อรายได้รัฐบาลท้องถิ่น หน่วย : % (ค่าเฉลี่ยเคลื่อนที่ 12 เดือน) -2.0 0.0 2.0 4.0 6.0 Jan-19 Aug-19 Mar-20 Oct-20 May-21 Dec-21 Jul-22 Feb-23 Headline Core 10.0 11.0 12.0 13.0 14.0 Jan-21 May-21 Sep-21 Jan-22 May-22 Sep-22 Jan-23 May-23 0 2 4 6 8 10 12 Feb-20 Jul-20 Dec-20 May-21 Oct-21 Mar-22 Aug-22 Jan-23 77.9 80.8 86.3 98.8 101.4 110.1 121.9 128.9 136.3 0 20 40 60 80 100 120 140 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 2024 2025 • ธนาคารกลางจีนปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบาย MLF และ 7DRR* ลง 15 BPS และ 10 BPS ตามลาดับเพื่อ กระตุ้นเศรษฐกิจที่ชะลอตัว และเป็นการส่งสัญญาณว่าจะปรับลดอัตราดอกเบี้ย Loan Prime Rate ต่อ่ป พร้อมกับการออกมาตรการอื่น ๆ เพื่อสนับสนุนการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงิน • อัตราดอกเบี้ยนโยบายสาคัญของจีนมีแนวโน้มผ่อนคลายต่อไป เนื่องจากเศรษฐกิจยังฟื้นตัว่ม่เต็มที่และอัตรา เงินเฟ้อต่ามาก ขณะที่การปล่อยสินเชื่อชะลอตัวและความเสี่ยงในภาคอสังหาฯ และภาคการเงินเพิ่มขึ้น • ทั้งนี้ประสิทธิภาพในการกระตุ้นการปล่อยสินเชื่อของนโยบายการเงินมีจากัด เนื่องจากอุปสงค์การลงทุนในจีน ยังืบเืา ส่วนหนึ่งเนื่องจากกา่รภาคอุตสาหกรรมยังหดตัวและความเชื่อมั่นยัง่ม่กลับมาเต็มที่ • รัฐบาลจีนใช้นโยบายการคลังกระตุ้นเศรษฐกิจ ผ่านการกระตุ้นการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานและมาตรการให้ผู้ืื้อ บ้านและบริษัทอสังหาฯ เข้าถึงเงินทุน่ด้ง่ายขึ้น รวมถึงการกระตุ้นการบริโภคของครัวเรือนและการลงทุนธุรกิจ • ในการประชุม Politburo จีนส่งสัญญาณออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม แต่ยังไม่ได้ประกาศมาตรการ กระตุ้นชัดเจน โดยมีแนวโน้มกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศ โดยเฉพาะการบริโภค และการลดระดับหนี้รัฐบาล ท้องถิ่น • ทั้งนี้พื้นที่ทางการคลังของจีนมีแนวโน้มลดลง เนื่องจากรัฐบาลท้องถิ่น ืึ่งเป็นผู้เบิกจ่ายงบประมาณ มีระดับหนี้สูงขึ้นมากและภาระดอกเบี้ยจ่ายที่สูงตามมา จึงเผชิญข้อจากัดในการออกมาตรการ
  • 10. 10 หมายเหตุ : *กกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกกก ที่มา : การวิเคราะห์โดย EIC จากข้อมูลของ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และ Bloomberg เศรษฐกิจไทยในไตรมาสสองของปี 2023 ขยายตัวได้ 1.8% ต่ากว่าตลาดคาด (ผลสารวจ Bloomberg 3.1%) %YOY % of GDP 2021 2022 2022Q2 2022Q3 2022Q4 2023Q1 2023Q2 H2/2023 Real GDP 100.0% 1.5% 2.6% 2.5% 4.6% 1.4% 2.6% 1.8% 2.2% ภาคเกษตร 6.4% 2.3% 2.4% 4.0% -2.2% 3.4% 6.2% 0.5% 3.4% หมวดอุตสาหกรรม 31.6% 3.8% -0.5% -2.1% 4.5% -4.6% -3.2% -2.1% -2.7% เหมืองแร่ 1.6% -5.4% -14.9% -21.2% -13.3% -6.9% -5.2% -1.2% -3.3% การผลิตสินค้าอุตสาหกรรม 26.9% 4.9% 0.4% -0.8% 6.0% -5.0% -3.0% -3.3% -3.2% หมวดบริการ 63.1% 0.4% 4.3% 4.7% 5.5% 4.3% 5.2% 4.1% 4.7% การก่อสร้าง 2.8% 2.2% -2.7% -4.4% -2.6% 2.6% 3.9% 0.4% 2.1% การขายส่งและการขายปลีก การื่อมยานยนต์ฯ 16.0% 1.6% 3.1% 3.2% 3.5% 3.1% 3.3% 3.4% 3.4% การขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า 5.6% -2.7% 7.1% 5.0% 10.1% 9.8% 12.1% 7.5% 10.0% ที่พักแรมและบริการด้านอาหาร 4.9% -14.2% 39.3% 44.7% 53.2% 30.6% 34.3% 15.0% 23.9% ข้อมูลข่าวสารและการสื่อสาร 6.4% 6.1% 5.1% 6.3% 4.7% 3.9% 3.4% 3.6% 3.5% กิจกรรมทางการเงินและการประกันภัย 8.3% 5.5% 1.0% 1.4% 1.0% 0.5% 1.2% 3.8% 2.5% กิจกรรมเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 4.2% 1.7% 2.1% 2.4% 3.1% 1.9% 1.9% 2.5% 2.2% การบริโภคภาคเอกชน 56.2% 0.6% 6.3% 7.1% 9.1% 5.6% 5.8% 7.8% 6.8% การบริโภคภาครัฐ 15.7% 3.7% 0.2% 2.7% -1.5% -7.1% -6.3% -4.3% -5.3% การลงทุนรวม 24.6% 3.1% 2.3% -0.9% 5.5% 3.9% 3.1% 0.4% 1.8% การลงทุนภาคเอกชน 18.2% 3.0% 5.1% 2.3% 11.2% 4.5% 2.6% 1.0% 1.8% การลงทุนภาครัฐ 6.3% 3.4% -4.9% -8.8% -6.8% 1.5% 4.7% -1.1% 1.9% ส่งออกสินค้า 61.0% 15.3% 1.3% 4.3% 2.3% -10.5% -6.4% -5.7% -6.0% ส่งออกบริการ 8.9% -19.9% 65.8% 47.7% 79.2% 94.9% 78.2% 54.6% 66.1% นาเข้าสินค้า 59.4% 18.2% 5.4% 9.9% 11.2% -5.9% -3.3% -4.3% -3.8% นาเข้าบริการ 10.3% 16.0% -0.6% -1.9% 3.7% -0.9% 9.2% 5.4% 7.3%
  • 11. 11 สาเหตุหลักจากการหดตัวของการส่งออกสินค้าสุทธิและการผลิตอุตสาหกรรม แรงส่งภาครัฐ (ส่วนหนึ่งเป็นผลจาก ปัจจัยฐาน) และส่วนเปลี่ยนสินค้าคงคลัง อย่างไรก็ดี การท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชนยังเป็นแรงสนับสนุนสาคัญ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แหล่งที่มาของการขยายตัวของ Real GDP (Contribution to growth) Q2/2023 หน่วย : Percentage point ด้านการผลิต ด้านการใช้จ่าย ส่งออกบริการสุทธิ บริโภคเอกชน ลงทุนเอกชน ลงทุนภาครัฐ คลาดเคลื่อนสถิติ บริโภคภาครัฐ ส่งออกสินค้าสุทธิ เปลี่ยนแปลงสินค้า คงเหลือ Real GDP ขายส่งขายปลีก โรงแรม ร้านอาหาร การเงิน ขนส่ง อื่นๆ สาธารณูปโภค สื่อสาร Real GDP อสังหาฯ เกษตร เหมืองแร่ อุตสาหกรรม
  • 12. 12 นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมาไทยยังมีสัญญาณฟื้นตัวที่ดี โดยนักท่องเที่ยวจีนยังเดินทางเข้าไทยสูงต่อเนื่อง แม้จะถูกกดดันจากภาวะเศรษฐกิจในประเทศ หมายเหตุ : ตัวเลขนักท่องเที่ยวต่างชาติเดือน ก.ค. และ ส.ค. ประเมินจากตัวเลขเบื้องต้นของกองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา นักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทย ปี 2023 หน่วย : ล้านคน 1.95 0.09 1.73 ส.ค. E ก.พ. 2.05 1.96 0.16 2.14 ม.ค. 0.29 0.27 ก.ค. E มี.ค. 0.33 1.85 เม.ย. 2.22 พ.ค. 0.31 1.93 มิ.ย. 0.41 2.07 0.42 2.16 2.11 2.18 2.01 2.24 2.48 2.58 นักท่องเที่ยวชาติอื่น นักท่องเที่ยวจีน 35% 23% 14% 11% 7% 5% จีน อาเืียน ยุโรป เอเชียตะวันออก เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง อเมริกา 3% 2% นักท่องเที่ยวอาเซียนเป็นนักท่องเที่ยวกลุ่มหลักที่เดินทางเข้าไทย โดยเฉพาะจากมาเลเืีย ตามด้วยจีน เกาหลีใต้ อินเดีย และรัสเืีย ืึ่งคาดว่า ณ สิ้นเดือน ส.ค. นักท่องเที่ยวต่างชาติ จะเดินทางเข้า่ทยราว 18 ล้านคน นักท่องเที่ยวจีนยังมีความต้องการท่องเที่ยวอยู่ในระดับสูง สะท้อนจากจานวน นักท่องเที่ยวจีนที่เดินทางเข้า่ทยกว่า 9 หมื่นคนต่อสัปดาห์ และเป็นสัญชาตินักท่องเที่ยว ที่เดินทางเข้า่ทยสูงสุดในช่วงเดือน ก.ค-ส.ค. แทนมาเลเืีย สัดส่วนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้าไทยในช่วงครึ่งปีแรก
  • 13. 13 ความต้องการเดินทางท่องเที่ยวในประเทศของนักท่องเที่ยวไทยยังอยู่ในระดับสูงต่อเนื่อง แต่ยังมีแนวโน้มจากัด ค่าใช้จ่ายในการท่องเที่ยวจากภาวะเศรษฐกิจ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา ผู้เยี่ยมเยือนไทย หน่วย : ล้านคน มิ.ย. 21.82 ม.ค. ก.พ. 20.12 มี.ค. เม.ย. พ.ค. 20.32 21.30 19.73 19.18 2019 2023 • รายได้จากนักท่องเที่ยวไทยโดยรวมในช่วงครึ่งปีแรกยังต่ากว่าระดับปี 2019 จากแรงกดดันด้านเศรษฐกิจ • จังหวัดที่ได้รับความนิยมต่อเนื่องยังเป็นจังหวัดใกล้กรุงเทพฯ อย่างเช่น กาญจนบุรี ชลบุรี เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ ส่งผลให้ราย่ด้จาก นักท่องเที่ยว่ทยในจังหวัดเหล่านี้เติบโตสูงกว่าช่วงปี 2019 แล้ว 0 50 100 4 0 6 2 8 มิ.ย. ก.พ. ม.ค. มี.ค. เม.ย. พ.ค. 7.0 6.2 6.6 6.2 6.0 6.3 หมื่นล้านบาท ดัชนี การฟื้นตัว (ปี 2019 = 100) ราย่ด้ผู้เยี่ยมเยือน่ทยปี 2023 (หมื่นล้านบาท)
  • 14. 14 การส่งออกไทยในครึ่งแรกของปีหดตัว -5.4%YOY ในภาพรวมการส่งออกรายสินค้าหดตัวทุกกลุ่ม และตลาด ส่งออกหลักยังผันผวนสูง ในระยะต่อไปแม้มีแรงหนุนจากฐานต่า แต่ต้องจับตาการฟื้นตัวเศรษฐกิจจีน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, S&P Global, CEIC และกรมศุลกากรจีน ส่งออกรายสินค้าและตลาด มูลค่าการส่งออกของไทย หน่วย : ล้านดอลลาร์สหรัฐ มูลค่าการค้าของจีน หน่วย : %YOY, ดอลลาร์สหรัฐ 20,000 22,500 25,000 27,500 30,000 Jan Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep Oct Nov Dec 2022 2023 2022-avg 2023-avg 3000 4000 5000 6000 -40 -20 0 20 40 60 Jun-21 Oct-21 Feb-22 Jun-22 Oct-22 Feb-23 Jun-23 Import: TH (RHS) Export Import Import: TH (YOY) หน่วย : %YOY, (สัดส่วนในปี 2022) 2022 2022Q3 2022Q4 2023Q1 2023Q2 Apr-23 May-23 Jun-23 YTD รวมทั้งหมด (100%) 5.5% 6.6% -8.5% -4.5% -6.1% -7.6% -4.6% -6.4% -5.4% ไม่รวมทองคา (97.5%) 4.4% 6.3% -8.3% -2.3% -6.2% -9.3% -4.6% -5.1% -4.3% เกษตรกรรม (9.3%) 2.2% -3.0% -7.0% 0.2% -5.4% 23.8% -27.0% -7.2% -3.1% อุตสาหกรรมการเกษตร (7.9%) 17.8% 21.2% -4.0% 3.7% -7.6% -12.0% -0.6% -10.6% -2.2% สินค้าอุตสาหกรรม (78.6%) 4.4% 6.2% -8.4% -5.8% -4.6% -11.2% 1.5% -4.5% -5.2% สินค้าแร่และเชื้อเพลิง (4.1%) 15.5% 11.3% -22.0% -1.7% -27.6% -13.7% -39.9% -25.5% -17.2% สหรัฐฯ (16.6%) 13.4% 15.8% -1.3% -3.9% -3.3% -9.6% 4.2% -5.0% -3.6% จีน (12%) -7.7% -18.1% -13.4% -7.4% -0.6% 23.0% -24.0% 4.5% -3.7% อาเืียน5 (14.2%) 9.5% 11.9% -17.6% -2.2% -12.2% -17.6% 0.1% -18.0% -7.4% CLMV (10.9%) 11.5% 30.1% -0.9% -6.3% -19.2% -17.0% -17.3% -23.0% -13.1% ญี่ปุาน (8.6%) -1.3% -0.2% -7.1% -0.2% -2.3% -8.1% -1.8% 2.5% -1.2% สหภาพยุโรป28 (9.3%) 6.6% 17.4% -1.8% -1.4% 0.7% 0.0% 9.0% -6.4% -0.4% ฮ่องกง (3.5%) -13.0% -22.6% -24.7% -3.4% -9.6% -29.8% -19.0% 17.6% -6.7% ตะวันออกกลาง (3.8%) 22.8% 37.5% 12.9% 15.0% -4.4% -16.5% 11.3% -8.3% 5.0% อินเดีย (3.7%) 22.5% 13.6% -6.1% 3.7% -19.5% -23.0% -21.0% -14.3% -8.8% มุมมองการส่งออกของไทยช่วงครึ่งหลังของปีมีปัจจัยบวกอยู่บ้าง จาก (1) แรงกดดันอุปทานคอขวดคลี่คลายสู่ระดับก่อนเกิดวิกฤต โควิด (2) ราคาสินค้าโภคภัณฑ์มีแนวโน้มสูงขึ้น ทาให้มูลค่าการส่งออกเพิ่มขึ้น (การฟื้นตัวของจีนและการปรับลดกาลังผลิตน้ามัน ของ OPEC+ ทาให้ราคาพลังงานเพิ่มขึ้น และนโยบายระงับการส่งออกข้าวของอินเดียทาให้ราคาข้าวโลกปรับสูงขึ้น) และ (3) มาตรการ กระตุ้นเศรษฐกิจในจีนในช่วงครึ่งหลังของปี
  • 15. 15 กลุ่มที่พึ่งพาตลาดจีนในระดับสูง (> 30%) และเป็น ส่วนหนึ่งใน Supply chain ของสินค้าที่จีนส่งออก ลดลง เศรษฐกิจจีนที่แผ่วลงส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรมไทยที่พึ่งพาตลาดจีนสูง และเป็นส่วนหนึ่งของ Supply chain ของสินค้าที่จีนส่งออก โดยเฉพาะยางพารา ไม้ยางพารา ปิโตรเคมี คอมพิวเตอร์และส่วนประกอบ ชิ้นส่วนยานยนต์ ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ General Administration of Customs จีน และ CEIC China exports to global YTD (Jan-Jul 2023) หน่วย : %YOY -28 -25 -13 -12 -12 -10 -7 -4 -4 -1 10 19 30 104 Mobile Phones Products of Steel and Iron Basic Organic Chemical Parts & Accessory of Vehicles Furniture & Parts Thereof Automatic Data Processing Machine & Parts Electric Components Motor Vehicles Textile, Yarns, Fabrics & Articles Thereof Garments Plastic Articles Household Appliances Agriculture Products Electrical Equipment Refined Petroleum Products 0 China imports to global YTD (Jan-Jul 2023) หน่วย : %YOY -26 -23 -23 -22 -21 -20 -17 -11 -5 -4 -3 1 5 22 Electrical Equipment Automatic Data Processing Machine & Part thereof Crude Petroleum Oil Plastic in Primary Form Electronic Component Motor Vehicle Measuring or Checking Instrument Copper & Copper Product Basic Organic Chemical Copper Ore & Concentrate Iron Ore & Concentrate Natural Gas Agriculture Product Medical & Pharmaceutical Product เสี่ยงสูง กลุ่มที่พึ่งพาตลาดจีนในระดับปานกลาง (10% – 20%) และเป็นส่วนหนึ่งใน Supply chain ของ สินค้าที่จีนส่งออกลดลง เสี่ยง ปานกลาง 1.กลุ่มที่พึ่งพาจีนในระดับต่า ( < 10%) และ่ม่่ด้เป็น ส่วนหนึ่งใน Supply chain ของสินค้าที่จีนส่งออก ลดลง หรือ 2.กลุ่มที่พึ่งพาจีนในระดับสูง แต่เป็นสินค้าที่จาเป็น เสี่ยงต่า • Natural rubber • Rubber wood • Petrochemical • Computer and parts • Auto parts • Food and beverage • Fruits • Electronic components • Motor vehicle • Cement ความเสี่ยงต่อภาคอุตสาหกรรมไทยจากความต้องการบริโภค สินค้าในจีนที่ลดลงและการส่งออกสินค้าของจีนที่ลดลง
  • 16. 16 ดัชนีความเชื่อมั่นภาคเอกชนเริ่มส่งสัญญาณชะลอตัวลงในเดือน ก.ค. จากความกังวลต่อผลการปรับขึ้นดอกเบี้ย ความไม่แน่นอนในการจัดตั้งรัฐบาล การส่งออกหดตัว เอลนีโญ และความขัดแย้งทางภูมิรัฐศาสตร์โลก ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย, มหาวิทยาลัยหอการค้า่ทย, สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศ่ทย และ CEIC ดัชนีความเชื่อมั่นภาคธุรกิจ (BSI) ดัชนีความเชื่อมั่นผู้บริโภค (CCI) และดัชนีความเชื่อมั่นภาคอุตสาหกรรม (TISI) หน่วย : ดัชนี (50 = สะท้อนภาวะทางธุรกิจทรงตัว) สาหรับดัชนี BSI และ ดัชนี (100 = สถานการณ์่ม่เปลี่ยนแปลง) สาหรับดัชนี CCI และดัชนี TISI 51.1 55.6 52.7 60.3 96.0 103.5 50.1 56.0 55.0 62.5 95.0 105.0 49.7 54.6 55.7 63.1 92.5 104.3 51.0 55.2 56.7 63.9 94.1 102.1 49.3 53.3 55.6 62.8 92.3 100.2 0.0 20.0 40.0 60.0 80.0 100.0 120.0 BSI BSI: Expectation CCI CCI: Future TISI TISI: Expectation Q1/2023 04/2023 05/2023 06/2023 07/2023 • ดัชนีความเชื่อมั่นภาคเอกชนเริ่ม ปรับลดลงในเดือน ก.ค. แม้จะ ปรับตัวดีขึ้นในเดือน มิ.ย. จากภาค ท่องเที่ยวและการบริโภคภาคเอกชน • ดัชนีความเชื่อมั่นในเดือน ก.ค. มีความกังวลจากหลายปัจจัย เช่น ความ่ม่แน่นอนในการจัดตั้งรัฐบาล ค่าครองชีพสูง ผลของการปรับขึ้น อัตราดอกเบี้ย การส่งออกที่หดตัว ราคาน้ามันขายปลีกที่สูงขึ้น สถานการณ์เอลนีโญ และความ ขัดแย้งรัสเืีย-ยูเครนที่ยังกดดันต่อ การฟื้นตัวของเศรษฐกิจโลก • ความเชื่อมั่นทางเศรษฐกิจในระยะ ถัดไปอาจปรับตัวลดลงตามตัวเลข ทางเศรษฐกิจในไตรมาสสองที่แย่ กว่าคาด
  • 17. 17 อัตราเบิกจ่ายงบลงทุนภาครัฐชะลอตัวในเดือน ก.ค. แต่ภาพรวมอัตราเบิกจ่ายงบลงทุนสะสม FY2023 ยังสูงกว่าอดีต ส่วนหนึ่งจากการเร่งรัดนาเรื่องเข้ากระบวนการพิจารณาของ ครม. และการเร่งเบิกจ่ายงบลงทุนก่อนยุบสภา หมายเหตุ : *่ม่รวมเรื่องลับ ลับมาก และลับที่สุด และอาจรวมถึงข้อมูลเรื่องในวาระจร่ม่ครบถ้วน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของทาเนียบรัฐบาล, สานักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี และกระทรวงการคลัง จานวนเรื่องที่มีการนาเสนอคณะรัฐมนตรี (ครม.) * หน่วย : เรื่อง อัตราเบิกจ่ายงบลงทุนของรัฐบาล (รายเดือน) หน่วย : % งบลงทุนทั้งหมดของปีงบประมาณ 0 10 20 30 40 50 60 70 05-Oct-22 18-Oct-22 01-Nov-22 15-Nov-22 29-Nov-22 13-Dec-22 27-Dec-22 10-Jan-22 24-Jan-22 07-Feb-23 21-Feb-23 07-Mar-23 21-Mar-23 04-Apr-23 18-Apr-23 02-May-23 16-May-23 30-May-23 13-Jun-23 27-Jun-23 11-Jul-23 25-Jul-23 0% 2% 4% 6% 8% 10% 12% Oct-22 Nov Dec Jan-23 Feb Mar Apr May Jun Jul Aug Sep FY2023 - ค่าเฉลี่ยในอดีต (สะสม) FY2023 ค่าเฉลี่ยในอดีต (FY2019-2022) เร่งรัดนาเรื่องเสนอ ครม. ก่อนยุบ สภา โดยเรื่องที่นาเสนอส่วนใหญ่ มีนัยต่อเศรษฐกิจ คณะรัฐมนตรีไม่มีอานาจเต็มหลัง ยุบสภา โดยเรื่องที่นาเสนอไม่มี โครงการลงทุนขนาดใหญ่
  • 18. 18 ทั้งนี้ความไม่แน่นอนทางการเมืองไทยเพิ่มสูงขึ้น ในกรณีเลวร้ายหากการจัดตั้งรัฐบาลล่าช้าไปจนถึงเดือน พ.ค. 2024 จะกระทบการจัดทางบประมาณ 3 ปีงบประมาณ (FY2567–2569) ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสานักข่าวต่าง ๆ ความไม่แน่นอนทางการเมืองของไทย (ณ 31 ก.ค. 2023) 1 2 รัฐบาลชุดใหม่เริ่มปฏิบัติหน้าที่ Base ส.ค. 23 Worse ต.ค. 23 Worst พ.ค. 24 พรบ.งบประมาณ FY67 ประกาศล่าช้า 3-4m 6m 10m อัตราเบิกจ่ายงบลงทุนตามเป้า    ความต่อเนื่องการอนุมัติโครงการลงทุนภาครัฐขนาดใหญ่    ความไม่แน่นอนด้านระยะเวลาที่ใช้ในการจัดตั้งรัฐบาล การเลือกนายกรัฐมนตรีถูกเลื่อนออก่ปเนื่องจากความ่ม่แน่นอนทางกฎหมาย บางส่วนเรียกร้องให้ชะลอการเลือก นายกรัฐมนตรีออก่ปนาน 10 เดือน เพื่อรอให้สมาชิกวุฒิสภาหมดวาระในการดารงตาแหน่งก่อน ความเสี่ยงการชุมนุมประท้วงสูงขึ้น หากมีการจัดตั้งรัฐบาลข้ามขั้วที่่ม่ สอดคล้องกับเสียงของประชาชน หรือมีการยุบพรรคการเมือง 3 ความไม่แน่นอนของนโยบายรัฐบาลใหม่สูงขึ้น แนวนโยบายขึ้นกับแกนนา รัฐบาลและพรรคร่วมรัฐบาล ผลกระทบจากความไม่แน่นอนทางการเมือง (ณ 31 ก.ค. 2023) การจัดทา FTA และ Mini-FTA กับคู่ค้า ของไทยอาจดาเนินไปอย่างล่าช้า เช่น EU EFTA ศรีลังกา กระทบความสามารถในการดึงดูด เม็ดเงินลงทุนและการท่องเที่ยว ขาดรัฐบาลรับมือเศรษฐกิจโลกชะลอตัว และภาวะเอลนีโญกระทบไทย
  • 19. 19 ในช่วงครึ่งหลังของปี ราคาพลังงานโลกจะเริ่มปรับตัวสูงขึ้นจาก High season ของการใช้น้ามันและการปรับลด กาลังการผลิตของกลุ่ม OPEC อย่างไรก็ตาม ยังมีแรงกดดันจากเศรษฐกิจจีนที่ฟื้นตัวช้าในภาคอุตสาหกรรม หมายเหตุ : 5-year period = 2015-2019; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน ส.ค. 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ Bloomberg, TradingView, Goldman Sachs, US EIA, JP Morgan และสานักข่าวต่าง ๆ ราคาน้ามันดิบ Brent หน่วย : USD/Barrel ราคาปิโตรเลียมเหลว (LPG) Aramco หน่วย : USD/Ton ราคาก๊าซธรรมชาติ Henry Hub หน่วย : USD/MMBtu 0 2 4 6 8 10 2018 2019 2020 2021 2022 2023 0 20 40 60 80 100 120 140 2018 2019 2020 2021 2022 2023 0 200 400 600 800 1000 1200 2018 2019 2020 2021 2022 2023 5-yr avg 2021 2022 2023F 429.7 645.5 713.5 548 5-yr avg 2021 2022 2023F 57.1 70.5 100.9 81 5-yr avg 2021 2022 2023F 2.8 3.7 6.6 2.7 • Supply : กลุ่ม OPEC+ ขยายเวลาประกาศลดกาลังการผลิตแบบสมัคร ใจที่ 1.66 ล้านบาร์เรลต่อวันจากเดิมที่จะสิ้นสุดในปี 2023 เป็นสิ้นสุดปี 2024 • Demand : เข้าสู่ช่วง High season ของการใช้น้ามัน เนื่องจากเป็น Driving season ของสหรัฐฯ • อย่าง่รก็ตาม ความ่ม่แน่นอนทางเศรษฐกิจ ยังเป็นปัจจัยกดดันสาคัญ กระทบต่อ Demand ที่มีสัญญาณ่ม่ชัดเจน เช่น การฟื้นตัวของ เศรษฐกิจจีนที่ล่าช้า • ความต้องการปิโตรเคมีที่ต่าจากการเติบโตของเศรษฐกิจจีน ที่ต่ากว่าคาด เนื่องจากการฟื้นตัวของภาคอุตสาหกรรมจีน เกิดขึ้น ค่อนข้างช้า Manufacturing PMI ของจีนปรับเพิ่มขึ้น จาก 49.0 ในเดือน มิ.ย. สู่ระดับ 49.3 ในเดือน ก.ค. แม้จะปรับดีขึ้น แต่ยังต่ากว่าระดับ 50 • อย่าง่รก็ตาม การเพิ่มขึ้นของโรง PDH ที่ต้องใช้ Propaneเป็นวัตถุดิบ มี แผนจะเพิ่มกาลังการผลิตอย่างมากในปีนี้ จึงทาให้ราคา Propane อาจกลับมาอยู่ในระดับสูง่ด้อีก ในช่วงครึ่งปีหลัง • ตลาดก๊าซฯ คาดว่าจะคลายความตึงตัวต่อเนื่องตั้งแต่ต้นปี จากความกังวลเศรษฐกิจโลกถดถอย • ใน Q3/2023 ราคาอาจปรับขึ้นบ้าง จากอุปสงค์จีนและอินเดียที่เพิ่มขึ้น ประกอบกับ Supply ใน่ั่งยุโรปที่จะตึงตัวจากการ Strike ใน ออสเตรเลียที่จะมีผลต่อการส่งออก LNG • ใน Q4/2023 ราคาจะเริ่มปรับสูงอีกครั้ง เพื่อเติมก๊าืฯ เข้า Storage เตรียมพร้อมรับมืออากาศหนาว คาดว่าจะอยู่ในกรอบ $3.5-4/mmbtu (หากอากาศหนาวกว่าคาด ราคาอาจเพิ่มสูงมาก่ด้)
  • 20. 20 ราคาพลังงานโลกที่เริ่มปรับตัวสูงขึ้น ประกอบกับการบริหารจัดการภาระที่ภาครัฐได้เคยสนับสนุนไว้ เป็นความเสี่ยง ที่อาจทาให้ราคาน้ามันในประเทศปรับสูงขึ้นจากช่วงครึ่งแรกของปี หมายเหตุ : ราคาหน้าโรงกลั่นของก๊าืหุงต้มโดยปกติจะเปิดเผยเป็นราคาหน่วยบาทต่อกิโลกรัม สาหรับราคาหน้าโรงกลั่นต่อ 15 กิโลกรัมเป็นการคานวณโดยนักวิเคราะห์; ข้อมูลและการวิเคราะห์จากสถานการณ์ ณ เดือน ส.ค. 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของ EPPO, CEIC และสานักข่าวต่าง ๆ ราคาน้ามันดีเซลหน้าโรงกลั่นและหน้าสถานีบริการ หน่วย : บาทต่อลิตร ราคาก๊าซหุงต้มถัง 15 กิโลกรัม (LPG) หน้าโรงกลั่นและหน้าสถานีบริการ หน่วย : บาทต่อถัง 15 กิโลกรัม 5 15 25 35 45 2019 2020 2021 2022 2023 0 100 200 300 400 500 2019 2020 2021 2022 2023 ราคาหน้าสถานีบริการ (ราคาขายจริง) ต้นทุนน้ามัน (Ex-refinery) ภาครัฐประกาศยกเลิกต่ออายุ มาตรการลดภาษีสรรพสามิตน้ามันดีเซล ที่จะสิ้นสุดในวันที่ 20 ก.ค. 2023 ภาครัฐประกาศตรึงราคาไว้ที่ 35 บาท/ลิตร เพื่อลดผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจจากราคาพลังงาน โลกและต้นทุนน้ามันที่เพิ่มขึ้นสูง ประกาศลดภาษีสรรพสามิต เหลือ 3.2 บาท/ลิตร และ 1.34 บาท/ลิตร ตามลาดับ (จากเดิมราว 6 บาท/ลิตร) ราคาหน้าสถานีบริการ (ราคาขายจริง) ต้นทุนน้ามัน (Ex-refinery) ที่ผ่านมา ภาครัฐได้ตรึงราคาก๊าซหุงต้มมาโดยตลอด เพื่อลดความผันผวนของค่าใช้จ่ายของภาคครัวเรือน ประกาศต่ออายุนโยบายตรึงราคา ก๊าซหุงต้มฯที่ 423 บาท ต่อถัง 15 กก. จนถึงสิ้นเดือน ส.ค. 2023 • ที่ผ่านมา ภาครัฐกาหนดและตรึงราคาน้ามันในประเทศ โดยเฉพาะน้ามันดีเืลและก๊าืหุงต้มสาหรับภาคครัวเรือน เพื่อลดผลกระทบจากความผันผวนของราคาในตลาดโลกสู่ภาคเศรษฐกิจและค่าครองชีพของประชาชน • ในปี 2023 แม้ราคาพลังงานโลกและต้นทุนน้ามันในประเทศ่ด้ลดลงจากปีก่อน แต่ภาครัฐยังมีภาระที่ต้องฟื้นฟูจากการอุดหนุนราคาในปีก่อน ทาให้ภาพรวมช่วงครึ่งปีหลังของ 2023 ทิศทางการบริหารราคาน้ามันในประเทศจะขึ้นอยู่กับ การรักษาสมดุลระหว่างการฟื้นฟูภาระที่ภาครัฐเคยสนับสนุนไว้ และการรักษาเสถียรภาพของค่าครองชีพประชาชน อย่าง่รก็ตาม ในช่วงระหว่างการจัดตั้งรัฐบาลใหม่นั้น ทิศทางการบริหารราคาน้ามันจะเผชิญกับความ่ม่แน่นอนจาก การบริหารภาษีต่าง ๆ ภายใต้โครงสร้างราคาน้ามัน เป็นประเด็นที่ควรติดตามอย่างใกล้ชิด • มาตรการลดภาษีสรรพสามิตดีเซล 5 บาท/ลิตร สิ้นสุดลงในวันที่ 20 ก.ค. 2023 ทาให้ราคาน้ามันดีเืลถูกคิดรวมกับภาษีสรรพสามิตในอัตราเดิมที่ราว 6 บาท/ลิตร อย่าง่รก็ตาม กบน. ่ด้มีมติให้ใช้กองทุนน้ามันตรึงราคาน้ามันดีเืล่ว้ ที่ราว 32 บาท/ลิตรเช่นเดิม แต่เนื่องจากสถานะกองทุนน้ามันยังคงติดลบ ทาให้การตรึงราคาครั้งนี้ไม่มีการกาหนดกรอบเวลาที่ชัดเจน แต่จะคานึงถึงสภาพคล่องของกองทุนน้ามันเป็นหลัก • อย่างไรก็ดี ราคาพลังงานโลกและต้นทุนน้ามันมีแนวโน้มปรับสูงขึ้นจากช่วงครึ่งแรกของปี 2023 ทาให้การจะตรึงราคาไว้ที่ระดับเดิมได้นั้น กองทุนน้ามันต้องเข้าไปช่วยพยุงราคามากขึ้นด้วย ซึ่งจะส่งผลกระทบต่อสภาพคล่อง ของกองทุนน้ามัน มองไปข้างหน้า มีความเสี่ยงที่กองทุนน้ามันอาจรับภาระอุ้มราคา่ด้เพียงบางส่วน และเป็นความเสี่ยงที่ราคาน้ามันในประเทศอาจปรับสูงขึ้น
  • 21. 21 ค่าไฟฟ้าในช่วงที่เหลือของปี 2023 มีแนวโน้มลดลงตามต้นทุนพลังงานที่ลดลง และมีโอกาสลดลงได้อีก หากภาครัฐเลื่อนการชาระคืนภาระต้นทุนคงค้าง ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูล Bloomberg, ERC, EPPO และ EGAT ต้นทุนพลังงานสาหรับโรงไฟฟ้ามีแนวโน้มลดลงตามราคาก๊าซธรรมชาติโลก หน่วย : LHS-THB/MMBTU, RHS-USD/MMBTU Ft งวดท้ายของปีลดลงเพียง 23 สตางค์/หน่วย แม้ต้นทุนพลังงานจะลดลงถึง 34 สตางค์/หน่วย หน่วย : สตางค์/หน่วย 0 10 20 30 40 50 60 100 200 300 400 500 600 700 2023 Pool gas price, EPP (THB/MMBTU) Global natural gas price (USD/MMBTU) 2020 2021 2022 JKM (RHS, JKL1 1M-Lead) Pool gas price (LHS) EPP: Energy Pool Price (incl other fossil fuel e.g. oil, LHS) 91 67 63 29 -50 0 50 100 150 200 Jan21 Ft ขายปลี ก (สตางค์ / หน่ ว ย) Sep May May Sep Jan23 Jan22 138 (ครัวเรือน = 93 ภาคธุรกิจ 155) May Sep FAC-Ft จริงตามต้นทุนพลังงาน Ft ขายปลีก-จัดเก็บจากผู้ใช้่ฟฟ้า (เฉลี่ยครัวเรือนและธุรกิจ) F E 15 bn THB (AF สะสม -150 bn THB) EGAT รับต้นทุน่ว้ 18 bn THB 23 bn THB ค่าไฟฟ้าของไทยในช่วงที่เหลือของปีมีแนวโน้มปรับตัวลดลงตามต้นทุนพลังงาน โดยเฉพาะราคาก๊าซฯ ทั้งนี้ Ft ขายปลีกประกาศในงวดเดือน ก.ย.-ธ.ค. 2023 จะลดลง 24 สตางค์/หน่วยจากงวดเดือน พ.ค.- ส.ค. 2023 อยู่ที่ 67 สตางค์/หน่วย (ค่า่ฟ่ม่รวม VAT เฉลี่ย 4.45 บาท/หน่วย) โดยผู้ใช้่ฟฟ้ามีการจ่ายค่า Ft สูงกว่าต้นทุนพลังงานจริงอยู่ราว 38 สตางค์/หน่วย เนื่องจากภาระต้นทุนคงค้าง (AF) ที่ EGAT รับ ต้นทุน่ว้ช่วงปี 2021-2022 ืึ่ง EGAT เสนอให้ทยอยชาระคืน AF ่ปอีก 5 งวดจะสิ้นสุดในเดือน เม.ย. 2025 ดังนั้น Ft ขายปลีก ณ งวดเดือน พ.ค.-ส.ค. 2025 ถึงจะเป็นค่า Ft ที่สะท้อนต้นทุนพลังงานที่แท้จริง (หากค่า AF ่ม่เพิ่มขึ้นจากปัจจุบัน)
  • 22. 22 อัตราเงินเฟ้อชะลอลงต่อเนื่องในเดือน ก.ค. อย่างไรก็ดี ต้องจับตาปัจจัยเอลนีโญและราคาน้ามันที่จะกดดันเงินเฟ้อ ในช่วงปลายปี 2023 ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของกระทรวงพาณิชย์, ธนาคารแห่งประเทศ่ทย และ CEIC ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป หน่วย : ดัชนี (2019=100) แหล่งที่มาการขยายตัวของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : ดัชนี (2019 = 100) %YOY Share 2022 Feb-23 Mar-23 Apr-23 May-23 Jun-23 Jul-23 รวมทุกรายการ 100% 6.1% 3.8% 2.8% 2.7% 0.5% 0.2% 0.4% หมวดอาหารและเครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ 40.4% 6.9% 5.7% 5.2% 4.5% 4.0% 3.4% 1.5% อาหารสด 20.6% 6.8% 7.1% 6.7% 5.5% 4.7% 3.9% 1.4% เนื้อสัตว์ 3.5% 21.1% 2.1% 3.9% 0.5% -7.4% -11.3% -13.7% อาหารบริโภค-ในบ้าน 8.7% 7.5% 5.0% 4.5% 4.3% 4.0% 3.5% 2.1% อาหารบริโภค-นอกบ้าน 6.7% 7.0% 4.4% 3.6% 3.6% 3.6% 3.3% 1.5% หมวดเครื่องนุ่งห่มและรองเท้า 2.2% 0.0% 0.3% 0.3% 0.3% 0.5% 0.5% 0.3% หมวดเคหสถาน 23.2% 4.7% 3.1% 3.2% 3.0% -0.7% 2.0% 1.9% ไฟฟ้า เชื้อเพลิง น้าประปาและแสงสว่าง 5.5% 20.8% 11.2% 11.5% 11.1% -4.0% 7.3% 6.9% หมวดการตรวจรักษาและบริการส่วนบุคคล 5.7% 1.1% 2.0% 2.0% 1.8% 1.9% 1.8% 1.8% หมวดพาหนะ การขนส่ง และการสื่อสาร 22.7% 9.1% 2.4% -0.7% -0.1% -4.6% -6.9% -3.3% หมวดการบันเทิงการอ่าน การศึกษา และการศาสนา 4.5% 0.2% 1.4% 1.5% 1.5% 1.5% 0.7% 0.6% หมวดยาสูบและเครื่องดื่มมีแอลกอฮอล์ 1.4% 2.0% 1.1% 0.7% 0.7% 0.7% 0.6% 0.6% ดัชนีราคาผู้บริโภคพื้นฐาน 67.1% 2.5% 1.9% 1.7% 1.7% 1.5% 1.3% 0.9% -2.0% 0.0% 2.0% 4.0% 6.0% 8.0% Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 Core contribution Energy contribution Raw food contribution Headline Core ปัจจัยฐานเร่งตัวสูงมากในช่วง Q2 ของปีก่อนและ จะมีผลเล็กน้อยในช่วงที่เหลือของปีนี้ • การกลับมาของเอลนีโญ SCB EIC คาดว่า ในกรณีฐาน มูลค่าความเสียหายในภาคเกษตรจาก ภาวะ่นแล้งปี 2023 จะอยู่ที่ราว 40,000 ล้านบาท โดยผลกระทบส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในปีหน้า ตามฤดูกาลการผลิตสินค้าเกษตร ส่งผลให้ราคาสินค้าเกษตรมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น • การเร่งตัวของราคาน้ามัน ราคาน้ามันดิบ่ด้ปรับลดลงมาต่อเนื่องตั้งแต่ช่วงครึ่งปีหลังของปี 2022 จนถึงในช่วงครึ่งปีแรกของปี 2023 อันเนื่องมาจากความกังวลต่อภาวะเศรษฐกิจถดถอย แต่อย่าง่รก็ตาม ในช่วงครึ่งหลังของปี 2023-2024 ภาวะเศรษฐกิจโลกยังขยายตัว่ด้ ประกอบ กับกลุ่ม OPEC+ ่ด้ลดกาลังการผลิต จึงทาให้ระดับราคาน้ามันในปี 2024 ปรับตัวสูงขึ้นเมื่อเทียบ กับปี 2023 ปัจจัยกดดันเงินเฟ้อ
  • 23. 23 SCB EIC คาดว่า กนง. จะขึ้นดอกเบี้ยนโยบายอีก 1 ครั้งสู่ 2.5% และคงไว้ที่ระดับดังกล่าว เพื่อปรับนโยบายการเงิน ให้สอดคล้องกับแนวโน้มเศรษฐกิจและเงินเฟ้อในระยะยาว รวมถึงเพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงิน ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย และ CEIC คาดการณ์อัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทย โดย SCB EIC หน่วย : % อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน (Core inflation) และอัตราเงินเฟ้อทั่วไป หน่วย : %YOY 1.75 2 2.5 2.5 2.5 2.5 2.5 2.5 0 0.5 1 1.5 2 2.5 Q1/2023 Q2/2023 Q3/2023 Q4/2023 Q1/2024 Q2/2024 Q3/2024 Q4/2024 0.9 0.4 -4 -2 0 2 4 6 8 10 -0.1 0.9 1.9 2.9 2016 2016 2017 2017 2018 2018 2019 2020 2020 2021 2021 2022 2023 Core CPI CPI (RHS) เงินเฟ้อพื้นฐานปรับลดลงแต่มี แนวโน้มทรงตัวในระดับที่สูง กว่าค่าเฉลี่ยในอดีต เงินเฟ้อทั่วไปปรับลดลงในระยะสั้นจากจากราคา ในหมวดพลังงาน มาตรการช่วยเหลือค่าครองชีพ และผลของฐานที่สูงในปีก่อนหน้า SCB EIC คาดว่า กนง. จะปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายอีก 0.25% ในเดือน ก.ย. นี้ สู่ระดับ Neutral rate ที่ 2.5% และคงไว้ที่ระดับดังกล่าว เนื่องจาก 1. เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มขยายตัวต่อเนื่องเข้าสู่ระดับศักยภาพ (3-4%) นโยบายการเงินจึงควร Normalize ให้เหมาะสมกับเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว 2. แม้เงินเฟ้อลดลงในระยะสั้น แต่ยังมีความเสี่ยงด้านสูงจากราคาอาหารที่อาจสูงขึ้นจากเอลนีโญและนโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาลใหม่ ส่งผลให้อาจมีการส่งผ่านต้นทุนของผู้ประกอบการ่ปยัง ราคาสินค้า เพิ่มขึ้น 3. เพื่อเสริมสร้างเสถียรภาพเศรษฐกิจการเงินในระยะยาว ลดปัญหาหนี้ครัวเรือนและการ Underpricing of risks จากดอกเบี้ยที่ต่าเป็นระยะเวลานาน ืึ่งส่งผลให้เกิดความเปราะบางในระบบการเงิน่ทย
  • 24. 24 การขึ้นดอกเบี้ยนโยบายส่งผลให้ต้นทุนการระดมทุนในตลาดสินเชื่อปรับสูงขึ้น เช่นเดียวกับต้นทุนการระดมทุนใน ตลาดพันธบัตรที่ทยอยปรับสูงขึ้น ส่งผลให้ภาวะการเงินไทยโดยรวมผ่อนคลายลดลง หมายเหตุ: * ค่าเฉลี่ยระหว่างค่าสูงสุดและต่าสุด, ** อัตราดอกเบี้ยถัวเฉลี่ยถ่วงน้าหนักตามจานวนสัญญา ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย และ Bloomberg อัตราผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลไทยระยะสั้นปรับสูงขึ้น หน่วย : % ต้นทุนการระดมทุนในตลาดสินเชื่อของไทย ปรับสูงขึ้นตามทิศทางของอัตราดอกเบี้ยนโยบาย หน่วย : % (ข้อมูล ณ สิ้นเดือน ก.ค.) 2 6.92 7.19 4.01 0 2 4 6 8 10 2005 2006 2007 2008 2009 2010 2011 2012 2013 2014 2015 2016 2017 2018 2019 2020 2021 2022 2023 Policy rate MOR* MLR* MRR* NLR** 2.6 0 1 2 3 4 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Jul-23 Policy rate 3 month 1 year 2 year 5 year 10 year BOT started hiking Average corporate spreads แบ่งตามอันดับความน่าเชื่อถือ (TTM<3Y) หน่วย : BPS 56 76 255 0 200 400 Jan-20 Apr-20 Jul-20 Oct-20 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 Jul-23 AAA AA A BBB Spread ลดลงตามแนวโน้มเศรษฐกิจที่ดีขึ้นและ ความเสี่ยงที่ลดลง เป็นผลดีต่อต้นทุนการระดมทุน ในตลาดพันธบัตรของภาคธุรกิจ
  • 25. 25 นอกจากนี้ อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นอาจกระทบต่อการระดมทุนและความสามารถในการชาระหนี้ส่งผลต่อคุณภาพสินเชื่อ ทั้งนี้การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ยังเพิ่มขึ้น แต่คาดว่าจะชะลอลงในระยะต่อไป ทิศทางภาวะการเงินจะตึงตัวยิ่งขึ้น ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB EIC จากข้อมูลของธนาคารแห่งประเทศ่ทย, InnovestX และ CEIC ยอดคงค้าง Gross NPLs ระบบธนาคารพาณิชย์ หน่วย : ล้านบาท อัตราการขยายตัวของสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ หน่วย : %YOY 0.0 2.0 4.0 0 5 10 Jan-21 Mar-21 May-21 Jul-21 Sep-21 Nov-21 Jan-22 Mar-22 May-22 Jul-22 Sep-22 Nov-22 Jan-23 Mar-23 May-23 Total loan growth Policy rate (RHS) การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ภาคเอกชน หน่วย : ล้านบาท 6% -50% 0% 50% 100% 150% 0 100,000 200,000 300,000 Jan-21 Apr-21 Jul-21 Oct-21 Jan-22 Apr-22 Jul-22 Oct-22 Jan-23 Apr-23 ตราสารหนี้ภาคเอกชนออกใหม่ %YOY (RHS) 2.7 2.4 2.6 2.8 3 3.2 460,000 490,000 520,000 550,000 Q1/2021 Q2/2021 Q3/2021 Q4/2021 Q1/2022 Q2/2022 Q3/2022 Q4/2022 Q1/2023 ยอดคงค้าง NPL % ต่อสินเชื่อรวม (RHS) ผลประกอบการกลุ่มธนาคารใน Q2 สะท้อนว่า สินเชื่อฟื้นตัวเล็กน้อยจาก Q1 แต่ %YTD และ %YOY ยังอ่อนแอ NPL ลดลงจากการบริหารจัดการคุณภาพหนี้และปรับโครงสร้างหนี้ หลายธนาคารมี NPL ไหลเข้าเพิ่มขึ้นใน Q2 สะท้อนความเสี่ยงด้านคุณภาพสินทรัพย์ที่เริ่มสูงขึ้น • การขยายตัวของสินเชื่อยังคงอ่อนแอ ตามมาตรฐานการให้สินเชื่อของสถาบันการเงินที่เข้มงวดต่อเนื่อง โดยเฉพาะ สินเชื่อครัวเรือนที่มีความเสี่ยงสูงและธุรกิจในภาคการผลิตที่เกี่ยวกับส่งออก ขณะที่อัตราดอกเบี้ยที่สูงขึ้นอาจส่งผลให้ ความต้องการสินเชื่อใหม่ปรับลดลง • การระดมทุนในตลาดตราสารหนี้ยังเพิ่มขึ้น แต่คาดว่าจะชะลอลงในช่วงที่เหลือของปี เนื่องจากหลายธุรกิจ่ด้เร่งออก หุ้นกู้่ปแล้ว ขณะที่นักลงทุนเพิ่มความระมัดระวังในการลงทุนจากความเสี่ยงด้านเครดิตของผู้ระดมทุนที่สูงขึ้น ืึ่งอาจ กระทบต่อการ Roll-over หุ้นกู้ในระยะต่อ่ป • NPL อาจเพิ่มสูงขึ้นเล็กน้อย ตามความสามารถในการชาระหนี้ของครัวเรือนราย่ด้น้อยและ SMEs ที่ยังเปราะบาง โดยคุณภาพสินเชื่อด้อยลงในกลุ่มครัวเรือนที่ราย่ด้ยังฟื้นตัว่ม่เต็มที่และเผชิญค่าครองชีพสูงขึ้น ขณะที่ SMEs เผชิญการส่งออกที่ชะลอลงตามเศรษฐกิจโลก • ผลประกอบการกลุ่มธนาคารในไตรมาส 2 สะท้อนคุณภาพสินทรัพย์แย่กว่าคาด Credit cost ปรับสูงขึ้น และหลาย สถาบันการเงินตั้งสารองหนี้เสียเพิ่มขึ้น
  • 26. 26 ในระยะยาวคาดว่าเงินบาทจะทยอยแข็งค่าขึ้นได้ จากแนวโน้มการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยประกอบกับความไม่แน่นอน ทางการเงินที่น่าจะลดลงหลังมีการจัดตั้งรัฐบาล แต่เงินบาทอาจแข็งค่าได้ไม่มากจากเศรษฐกิจจีนที่อ่อนแอกว่าคาด ที่มา : การวิเคราะห์โดย SCB FX จากข้อมูลของ Bloomberg และ Fed การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินแต่ละสกุล เทียบดอลลาร์สหรัฐ หน่วย : % (ข้อมูล ณ วันที่ 21 ส.ค. 2023) Implied Fed Fund rate จากตลาด Forward ณ สิ้นปี 2023 และ 2024 หน่วย : % ปัจจัยที่จะทาให้เงินบาทแข็งค่าขึ้นในระยะกลางถึงยาว -2.96% -1.90% -15% -10% -5% 0% 5% Japan Korea China Malaysia Taiwan Thailand Philippines Vietnam India Dollar index Indonesia Europe MTD Q2_2023 YTD 3.5 4 4.5 5 5.5 Implied Fed fund rate @ end2023 Implied Fed fund rate @ end2024 Release of Fed Minutes คาดการณ์ดอกเบี้ยสิ้นปีหน้าสูงขึ้น หลังนักลงทุนมอง Fed Hawkish เศรษฐกิจไทยมีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้นในช่วงครึ่งหลังของปี จากแนวโน้ม นักท่องเที่ยวต่างชาติที่จะเข้ามา่ทยมากขึ้น (โดยเฉพาะจากจีน) การบริโภค ภาคเอกชนที่จะขยายตัวต่อเนื่อง และการใช้จ่ายภาครัฐที่อาจเพิ่มขึ้น ภาคการส่งออกที่มีแนวโน้มฟื้นตัวดีขึ้น แม้จะหดตัวในช่วงครึ่งแรกของปี ประกอบกับการส่งออกภาคบริการที่จะสูงขึ้น ทาให้ดุลบัญชีเดินสะพัดกลับมา เกินดุลในปีนี้ (คาดว่าจะเกินดุล 1.3% ต่อ GDP) ความไม่แน่นอนทางการเมืองที่น่าจะลดลง คาดว่าอย่างช้า่ตรมาส 4 น่าจะ่ด้ นายกรัฐมนตรีและจัดตั้งรัฐบาลสาเร็จ ทาให้ sentiment ของนักลงทุนปรับดี ขึ้น เงินทุนเคลื่อนย้าย่หลกลับเข้าตลาดการเงิน่ทย ทางการจีนน่าจะออกมาตรการกระตุ้นเศรษฐกิจเพิ่มเติม แม้จะมีแนวโน้ม ออกมาช้า น่าจะช่วยพยุงเงินหยวนได้ อย่างไรก็ดี คาดว่าเงินบาทอาจไม่แข็งค่าเท่าที่เคยมองไว้ เนื่องจาก เศรษฐกิจจีนอ่อนแอกว่าที่เคยคาดไว้ โดยประเมินว่า GDP อาจขยายตัวเพียงราว 5% แม้มองว่า Fed จะหยุดขึ้นดอกเบี้ยในปีนี้ แต่ Fed ยังส่งสัญญาณ Hawkish ทาให้ แนวโน้มการลดดอกเบี้ยในปีหน้าอาจ่ม่เร็วและมากเท่าที่ตลาดคาด เงินบาท ณ สิ้นปีนี้จะแข็งค่าขึ้นมาอยู่ที่ราว 33.50-34.30 และจะแข็งค่าต่อเนื่องสู่ระดับ 32.00-33.00 ณ สิ้นปี 2024