SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน มหัศจรรย์น้ามันมะพร้าวสกัดเย็น
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
1.นายณัฐชาวิชญ์ บูชิกานนท์ เลขที่ 32 ชั้น ม.6/7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นายณัฐชาวิชญ์ บูชิกานนท์ เลขที่ 32
ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รอบรู้โรคเก๊าท์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Al about Gout
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ท้าโครงงาน นายณัฐชาวิชญ์ บูชิกานนท์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาด้าเนินงาน 3สัปดาห์
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
โรคเก๊าท์ เป็นโรคข้ออักเสบที่รู้จักกันมานาน ถือได้ว่าเป็นโรคที่เก่าแก่ที่สุดโรคหนึ่งในประวัติศาสตร์ และก็ยัง
พบว่าเป็นปัญหาโรคข้อที่สาคัญในปัจจุบันซึ่งอุบัติการณ์ของโรคเก๊าท์ที่สูงขึ้นนั้นส่วนหนึ่งเนื่องมาจากมาตรฐานความ
เป็นอยู่ อาหาร สภาวะทางโภชนาการที่ดีขึ้นในยุคปัจจุบัน
ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่เป็นโรคเก๊าท์จะเป็นผู้ชายที่มีอายุเกิน 40 ปี แต่ก็อาจเกิดขึ้นในวัยใดก็ได้ และสาหรับผู้หญิง
ที่เป็นโรคเก๊าท์ มักจะปรากฏอาการหลังจากเข้าสู่วัยหมดประจาเดือนแล้ว โรคเก๊าท์พบได้ประมาณร้อยละ 5 ของ
บรรดาโรคข้ออักเสบทั้งหมด ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่ามีผู้ป่วยโรคเก๊าท์ประมาณ 2.4 ล้านคน ทั่วโลกเฉลี่ยพบ
ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ 300 รายต่อประชากร 100,000 คนลักษณะของโรคเก๊าท์ จะเป็นการอักเสบของข้อที่เกิดขึ้น
เฉียบพลันทันทีทันใด อาการเป็นอยู่ประมาณ 5-10 วัน แล้วก็หายไป ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดเป็นโรคเรื้อรัง เกิดการ
อักเสบของข้อเป็นๆ หายๆ และโรคจะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ได้เผยแพร่ข้อเท็จจริงของโรคเก๊าท์
2.ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันโรค
3.ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
บุคคลที่เป็นโรค หรือ ผู้ที่สนใจ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
เก๊าท์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่ทาให้มีอาการปวดแสบร้อน บวม แดงตามข้อต่ออย่างเฉียบพลันเป็นระยะ ๆ อาจ
เกิดขึ้นกับข้อต่อเดียวหรือหลายข้อต่อพร้อมกัน
อาการของโรคเก๊าท์
อาการปวดอย่างรุนแรงตามข้อต่อเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะนิ้วหัวแม่เท้า แต่ก็สามารถเกิดกับข้อต่อ
หลายส่วนตามร่างกายได้ เช่น ข้อเท้า ข้อศอก หัวเข่า ข้อต่อกระดูกมือ หรือข้อมือ อาการปวดจะรุนแรงในช่วง 4-12
ชั่วโมงแรก จากนั้นจะเริ่มปวดน้อยลงและมีอาการดีขึ้นภายใน 7-10 วัน แต่ในบางรายอาจมีอาการปวดได้นานหลาย
วันจนถึงหลายสัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เช่น
ข้อต่อเกิดการอักเสบและติดเชื้อ อาจเกิดขึ้นกับข้อต่อเพียงข้อเดียวหรือหลายข้อต่อ จนทาให้ผิวหนังบริเวณนั้นเป็นสี
แดง บวมแดง และแสบร้อนเคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สะดวกจากภาวะข้อติด ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งบอกความรุนแรงของ
โรคที่เพิ่มมากขึ้นผิวหนังบริเวณข้อต่อเกิดการลอกหรือคันหลังจากอาการของโรคดีขึ้น
อาการของโรคเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน มักเป็น ๆ หาย ๆ จนกว่าจะได้รับการรักษา โดยมักเกิดขึ้นในเวลา
กลางคืนได้บ่อยกว่าช่วงเวลาอื่น อย่างไรก็ตามควรรีบไปพบแพทย์หากผู้ป่วยมีไข้ ปวดข้ออย่างรุนแรง จนทาให้ผิวหนัง
บวมแดงและแสบร้อนขึ้น เพราะอาการปวดข้ออาจทาให้ผู้ป่วยเข้าใจผิดได้ว่าเป็นสัญญาณของโรคข้ออื่น ๆ การปล่อย
ให้โรคพัฒนารุนแรงขึ้นโดยไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจนาไปสู่อาการปวดอย่างเรื้อรังและสร้างความเสียหาย
ให้กับข้อต่อได้
สาเหตุของโรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์เป็นผลมาจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperuricemia) ซึ่งเป็นภาวะของร่างกายที่มีการสะสมของกรด
ยูริกในปริมาณที่มากเกินไป ทาให้เกิดการตกผลึกตามข้อต่าง ๆ จนเกิดอาการปวดบวมตามข้ออย่างรุนแรงและอาการ
อื่น ๆ ของโรคตามมากรดยูริกเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งในเลือดที่ได้มาจากการย่อยสลายสารพิวรีน (Purines) ในเนื้อเยื่อ
ทั่วร่างกายและอาหารที่รับประทานเข้าไป
การรักษาโรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเป็นหลัก ซึ่งแพทย์จะพิจารณาดูจากหลายปัจจัยประกอบในการเลือกใช้ยาที่
เหมาะสมกับแต่ละบุคคล ทั้งอาการของโรค สุขภาพโดยรวม หรือการพูดคุยกับผู้ป่วย ควบคู่กับการปฏิบัติตนเพื่อเลี่ยง
ปัจจัยเสี่ยงของโรค ในบางรายที่ปล่อยให้โรคดาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้รักษา แพทย์อาจใช้
วิธีการผ่าตัดทดแทนการใช้ยา ซึ่งเป้าหมายของการรักษาจะช่วยในการบรรเทาอาการปวดให้ลดลงอย่างรวดเร็ว และ
4
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดของโรคเก๊าท์ในบริเวณข้ออื่น ๆ ในอนาคต
การป้องกันโรคเก๊าท์
โรคเก๊าท์ยังไม่สามารถป้องกันได้โดยตรง เนื่องจากการสะสมของผลึกยูเรตทีละน้อยในข้อต่อและเนื้อเยื่อรอบ ๆ เป็น
เวลานานหลายปี จึงทาให้ทราบได้ยากว่าระดับกรดยูริกในเลือดอยู่เท่าใดจนกระทั่งเริ่มมีอาการของโรคแสดงขึ้นมา
อีกทั้งสาเหตุที่ทาให้กรดยูริกเพิ่มขึ้นนั้นมาจากหลายปัจจัยและสรุปได้ไม่ชัดเจน
การป้องกันจึงเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นเดียวกับการปฏิบัติตนของผู้ป่วยที่เป็นโรค เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของ
โรคลง เช่น หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง โดยเฉพาะ อาหารทะเล เครื่องในสัตว์ และสัตว์ปีก ดื่ม
น้าให้เพียงพอ ควบคุมน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จากัดการดื่มแอลกอฮอล์และน้าอัดลม
วิธีด้าเนินงาน
แนวทางการด้าเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
ขันตอนและแผนด้าเนินงาน
ล้าดับ
ที่
ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
5
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
สถานที่ดาเนินการ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)

More Related Content

What's hot

งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
OporfunJubJub
 

What's hot (20)

2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Comm
CommComm
Comm
 
Com
ComCom
Com
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ กิจกรรมที่ 5 โรคอัลไซเมอร์
 
งานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟันงานโครงงานจัดฟัน
งานโครงงานจัดฟัน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
มม
มมมม
มม
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน

2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
Chanin Monkai
 
งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5
hazama02
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
0910797083
 

Similar to ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน (20)

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่52560 project ใบงานที่5
2560 project ใบงานที่5
 
T1 67 62
T1 67 62T1 67 62
T1 67 62
 
งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5
 
At1
At1At1
At1
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project (1) ใบงาน5
2560 project  (1) ใบงาน52560 project  (1) ใบงาน5
2560 project (1) ใบงาน5
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
002
002002
002
 
โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35โครงร่างโครงงาน 35
โครงร่างโครงงาน 35
 

ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงาน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน มหัศจรรย์น้ามันมะพร้าวสกัดเย็น ชื่อผู้ท้าโครงงาน 1.นายณัฐชาวิชญ์ บูชิกานนท์ เลขที่ 32 ชั้น ม.6/7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นายณัฐชาวิชญ์ บูชิกานนท์ เลขที่ 32 ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รอบรู้โรคเก๊าท์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Al about Gout ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ท้าโครงงาน นายณัฐชาวิชญ์ บูชิกานนท์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาด้าเนินงาน 3สัปดาห์ ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) โรคเก๊าท์ เป็นโรคข้ออักเสบที่รู้จักกันมานาน ถือได้ว่าเป็นโรคที่เก่าแก่ที่สุดโรคหนึ่งในประวัติศาสตร์ และก็ยัง พบว่าเป็นปัญหาโรคข้อที่สาคัญในปัจจุบันซึ่งอุบัติการณ์ของโรคเก๊าท์ที่สูงขึ้นนั้นส่วนหนึ่งเนื่องมาจากมาตรฐานความ เป็นอยู่ อาหาร สภาวะทางโภชนาการที่ดีขึ้นในยุคปัจจุบัน ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่เป็นโรคเก๊าท์จะเป็นผู้ชายที่มีอายุเกิน 40 ปี แต่ก็อาจเกิดขึ้นในวัยใดก็ได้ และสาหรับผู้หญิง ที่เป็นโรคเก๊าท์ มักจะปรากฏอาการหลังจากเข้าสู่วัยหมดประจาเดือนแล้ว โรคเก๊าท์พบได้ประมาณร้อยละ 5 ของ บรรดาโรคข้ออักเสบทั้งหมด ในประเทศสหรัฐอเมริกาพบว่ามีผู้ป่วยโรคเก๊าท์ประมาณ 2.4 ล้านคน ทั่วโลกเฉลี่ยพบ ผู้ป่วยโรคเก๊าท์ 300 รายต่อประชากร 100,000 คนลักษณะของโรคเก๊าท์ จะเป็นการอักเสบของข้อที่เกิดขึ้น เฉียบพลันทันทีทันใด อาการเป็นอยู่ประมาณ 5-10 วัน แล้วก็หายไป ผู้ป่วยบางรายอาจเกิดเป็นโรคเรื้อรัง เกิดการ อักเสบของข้อเป็นๆ หายๆ และโรคจะรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ได้เผยแพร่ข้อเท็จจริงของโรคเก๊าท์ 2.ได้รู้ถึงวิธีการป้องกันโรค 3.ส่งเสริมการดูแลสุขภาพ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) บุคคลที่เป็นโรค หรือ ผู้ที่สนใจ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) เก๊าท์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่ทาให้มีอาการปวดแสบร้อน บวม แดงตามข้อต่ออย่างเฉียบพลันเป็นระยะ ๆ อาจ เกิดขึ้นกับข้อต่อเดียวหรือหลายข้อต่อพร้อมกัน อาการของโรคเก๊าท์ อาการปวดอย่างรุนแรงตามข้อต่อเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะนิ้วหัวแม่เท้า แต่ก็สามารถเกิดกับข้อต่อ หลายส่วนตามร่างกายได้ เช่น ข้อเท้า ข้อศอก หัวเข่า ข้อต่อกระดูกมือ หรือข้อมือ อาการปวดจะรุนแรงในช่วง 4-12 ชั่วโมงแรก จากนั้นจะเริ่มปวดน้อยลงและมีอาการดีขึ้นภายใน 7-10 วัน แต่ในบางรายอาจมีอาการปวดได้นานหลาย วันจนถึงหลายสัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เช่น ข้อต่อเกิดการอักเสบและติดเชื้อ อาจเกิดขึ้นกับข้อต่อเพียงข้อเดียวหรือหลายข้อต่อ จนทาให้ผิวหนังบริเวณนั้นเป็นสี แดง บวมแดง และแสบร้อนเคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สะดวกจากภาวะข้อติด ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งบอกความรุนแรงของ โรคที่เพิ่มมากขึ้นผิวหนังบริเวณข้อต่อเกิดการลอกหรือคันหลังจากอาการของโรคดีขึ้น อาการของโรคเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน มักเป็น ๆ หาย ๆ จนกว่าจะได้รับการรักษา โดยมักเกิดขึ้นในเวลา กลางคืนได้บ่อยกว่าช่วงเวลาอื่น อย่างไรก็ตามควรรีบไปพบแพทย์หากผู้ป่วยมีไข้ ปวดข้ออย่างรุนแรง จนทาให้ผิวหนัง บวมแดงและแสบร้อนขึ้น เพราะอาการปวดข้ออาจทาให้ผู้ป่วยเข้าใจผิดได้ว่าเป็นสัญญาณของโรคข้ออื่น ๆ การปล่อย ให้โรคพัฒนารุนแรงขึ้นโดยไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจนาไปสู่อาการปวดอย่างเรื้อรังและสร้างความเสียหาย ให้กับข้อต่อได้ สาเหตุของโรคเก๊าท์ โรคเก๊าท์เป็นผลมาจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperuricemia) ซึ่งเป็นภาวะของร่างกายที่มีการสะสมของกรด ยูริกในปริมาณที่มากเกินไป ทาให้เกิดการตกผลึกตามข้อต่าง ๆ จนเกิดอาการปวดบวมตามข้ออย่างรุนแรงและอาการ อื่น ๆ ของโรคตามมากรดยูริกเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งในเลือดที่ได้มาจากการย่อยสลายสารพิวรีน (Purines) ในเนื้อเยื่อ ทั่วร่างกายและอาหารที่รับประทานเข้าไป การรักษาโรคเก๊าท์ โรคเก๊าท์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเป็นหลัก ซึ่งแพทย์จะพิจารณาดูจากหลายปัจจัยประกอบในการเลือกใช้ยาที่ เหมาะสมกับแต่ละบุคคล ทั้งอาการของโรค สุขภาพโดยรวม หรือการพูดคุยกับผู้ป่วย ควบคู่กับการปฏิบัติตนเพื่อเลี่ยง ปัจจัยเสี่ยงของโรค ในบางรายที่ปล่อยให้โรคดาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้รักษา แพทย์อาจใช้ วิธีการผ่าตัดทดแทนการใช้ยา ซึ่งเป้าหมายของการรักษาจะช่วยในการบรรเทาอาการปวดให้ลดลงอย่างรวดเร็ว และ
  • 4. 4 ป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดของโรคเก๊าท์ในบริเวณข้ออื่น ๆ ในอนาคต การป้องกันโรคเก๊าท์ โรคเก๊าท์ยังไม่สามารถป้องกันได้โดยตรง เนื่องจากการสะสมของผลึกยูเรตทีละน้อยในข้อต่อและเนื้อเยื่อรอบ ๆ เป็น เวลานานหลายปี จึงทาให้ทราบได้ยากว่าระดับกรดยูริกในเลือดอยู่เท่าใดจนกระทั่งเริ่มมีอาการของโรคแสดงขึ้นมา อีกทั้งสาเหตุที่ทาให้กรดยูริกเพิ่มขึ้นนั้นมาจากหลายปัจจัยและสรุปได้ไม่ชัดเจน การป้องกันจึงเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นเดียวกับการปฏิบัติตนของผู้ป่วยที่เป็นโรค เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของ โรคลง เช่น หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง โดยเฉพาะ อาหารทะเล เครื่องในสัตว์ และสัตว์ปีก ดื่ม น้าให้เพียงพอ ควบคุมน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จากัดการดื่มแอลกอฮอล์และน้าอัดลม วิธีด้าเนินงาน แนวทางการด้าเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ขันตอนและแผนด้าเนินงาน ล้าดับ ที่ ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน
  • 5. 5 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) สถานที่ดาเนินการ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)