SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
1
  แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของ
                ศาสนาเชน
    ***************************
       ศาสนาเชนเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยมเหมือน
พระพุทธศาสนา คือไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าสร้างโลกและ
กำาหนดชะตากรรมของสัตว์ ศาสนาเชนถึงแม้จะเป็นอ
เทวนิยมเหมือนพระพุทธศาสนาที่ถือว่าทุกอย่างเป็น
ไปตามกรรมของตน แต่ ก็ แ ตกต่ า งจากพระพุ ท ธ
ศ า ส น า ต ร ง ที่ ศ า ส น า เ ช น เ น้ น ที่ อ ดี ต ก ร ร ม แ ล ะ
กายกรรม            แต่พระพุทธศาสนาเน้นที่ปัจจุบันกรรม
และมโนกรรม
       นอกจากนี้ก็แตกต่างตรงที่ศาสนาเชนเชื่อเรื่ อง
อาตมั น แบบยื น โรงคงที่ เ ป็ น อมตะอย่ า งศาสนา
พราหมณ์ แต่ ศ าสนาพุ ท ธถื อ ว่ า อาตมั น ไม่ ยื น โรง
คงทนเป็นอมตะ แต่เป็นแบบสันตติ คือรับช่วงสืบต่อ
กันไป ส่วนวิธีปฏิบัติเพื่อดำาเนินไปสู่โมกษะ ศาสนา
เชนเน้ น เรื่ อ งอั ต ตกิ ล มถานุ โ ยคซึ่ ง เป็ น ทางสุ ด โต่ ง
       แต่ พ ระพุ ท ธศาสนาเป็ น ทางสายกลาง หรื อ
มัชฌิมาปฏิปทา
       เ ช น มาจากคำา ว่ า ชิ น ะ โดยวิ ก ารอิ เ ป็ น เอ
แปลว่า ชนะ               แต่ ช นะในที่ นี้ ไ ม่ ไ ด้ ห มายถึ ง การ
ชนะภายนอก คือเอาชนะคนอื่นหรือข้าศึก หากแต่
หมายถึ งเอาชนะภายในคื อกิ เลสของตน พวกเชน
ถื อ ว่ า กิ เ ล สเป็ น ศั ต รู ที่ ร้ า ยกาจที่ สุ ด ข องตนแล ะ
มนุษยชาติ กิเลสนี่แหละที่จะทำาลายตนเอง ทำาลาย
ผู้อื่น ทำา ลายสังคม ตลอดถึงทำา ลายโลก ความชั่ว
ร้ า ยทั้ ง หลายและความพิ น าศทั้ ง หลายที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน
โลกล้ ว นแต่ ม าจากรากเหง้ า คื อ กิ เ ลสทั้ ง สิ้ น ดั ง นั้ น
แต่ละคนจึงควรเห็นกิเลสเป็นศัตรู พยายามกำาจัดให้
2
หมดไปจากจิตใจ ใครก็สามารถกำาจัดกิเลสได้อย่าง
เด็ดขาดสิ้นเชิง ขึ้นชื่อว่าพระชินะ ผู้ ที่ ส า ม า ร ถ
เอาชนะกิเลสได้กลายเป็นบุคคลผู้ประสบความสำาเร็จ
สู ง สุ ด ของชี วิ ต พวกเชนถื อ ว่ า พระศาสดาทั้ ง ๒๔
องค์ ข องศาสนาเชน ล้ ว นแต่ เ ป็ น พระชิ น ะทั้ ง สิ้ น
และยังมีอีกชื่อ หนึ่ งว่ า ตีร ถัง ก ร หรือ ติต ถัง ก ร
แปลว่า ผู้กระทำา ซึ่งท่า คือสร้างท่าพาคนข้ามฟาก
ไปสู่นิพพานอีกด้วย
        ปรั ช ญาเชนมี อ ยู่ ม าก หากแบ่ ง ออกเป็ น หั ว ข้ อ
ใหญ่ ๆ ๓ อย่าง คือ ญาณวิทยา                              ภววิทยา
และคุณวิทยา
                     ศาสนาแห่ง อเทวนิย ม
        ศาสนาเชนเป็นศาสนาอเทวนิยมเหมือนศาสนา
พุทธ           ทุ ก อย่ า งเกิ ด มาจากเหตุ ปั จ จั ย เป็ น ไปตาม
เหตุปัจจัย ไม่ใช่เกิดมาจากพระเจ้า พวกเชนได้ให้
เหตุผลถึงการไม่มีพระเจ้ าว่ า การเชื่อพระเจ้ ามี แต่
ความขัดแย้งกันในตัว กล่าวคือพระเจ้าไม่เคยมีใคร
เห็ น แล้ ว จะเชื่ อ ได้ อ ย่ า งไรว่ า มี พ ระเจ้ า ถ้ า จะว่ า
พระเจ้ า รู้ ไ ด้ ด้ ว ยการอนุ ม าน อย่ า งสิ่ ง ต่ า ง ๆ เช่ น
โต๊ะ เก้าอี้ บ้านเรือน เป็นต้น เกิดขึ้นมาได้ก็เพราะ
มีคนสร้าง โลกก็เช่นกัน จะต้องมีผู้สร้างขึ้นมานั้นก็
คือพระเจ้า แต่ข้ออ้างนี้ยังไม่ส มเหตุสมผล จะเชื่อ
มั่นได้อย่างไรว่าข้ออ้างนี้ถูก ในเมื่อไม่มีใครเคยเห็น
พระเจ้ า แล้วจะมั่ นใจได้อ ย่า งไรว่ า พระเจ้า สร้ า ง
โลก ผิดกับโต๊ะ เก้าอี้ บ้านเรือน เป็นต้น ซึ่งใคร
ก็ เ ห็ น ว่ า ช่ า งสร้ า งขึ้ น มา อนึ่ ง พระเจ้ า มี อ งค์ ห รื อ
หลายองค์ ถ้ามีองค์เดียวกัน แล้วทำาไมศาสนิกของ
ศาสนาต่ า ง ๆ จะต้ อ งมาทะเลาะกั น ในเรื่ อ งพระเจ้ า
หรือศาสนสถานของบางศาสนาทำาไมจึงห้ามคนต่าง
3
ศาสนาเข้ า ในเมื่ อ คนต่ า งศาสนาก็ นั บ ถื อ พระเจ้ า
องค์เดียวกัน ถ้าพระเจ้ามีหลายองค์ ดังที่นับถือกัน
ตามศาสนาต่าง ๆ ก็เป็นธรรมดาว่าแต่ละองค์ก็ต่าง
จิตต่างใจกัน และทุกศาสนาต่างก็ว่า พระเจ้าของ
ตนสร้างโลกนี้ขึ้นมา ก็ในเมื่อโลกมนุษย์มีโลกเดียว
และถูกสร้างขึ้นมาโดยพระเจ้าองค์เดียว ก็แสดงว่ามี
พระเจ้าจริงและพระเจ้าเก๊กันบ้าง หรือว่าทุกองค์ร่วม
มือกันสร้าง ก็ค งจะประสบความขัด แย้งกันไม่น้อย
ในเมื่อต่างองค์ต่างจิตต่างใจกัน             พ ร ะ เ จ้ า ส ร้ า ง
มนุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคนให้ เ ป็ น ไปตามความดี ห รื อ ชั่ ว ของ
แต่ ล ะคนใช่ ไ หม ถ้ า ใช่ ก็ แ สดงว่ า พระเจ้ า ไม่ ไ ด้ ยิ่ ง
ใหญ่จริง ยังต้องอาศัยบุญหรือบาปของแต่ละคนเป็น
เครื่ องมื อ ในการสร้ า ง เมื่อ เป็ น อย่ า งนั้ น จะใช้ ก ฎ
แห่งกรรมแทนพระเจ้าก็ได้ กฎแห่งกรรมนี่แหละที่
สร้างความเป็นไปของมนุษ ย์ หรือถ้าพระเจ้าไม่ได้
สร้างมนุษย์แต่ละคนไปตามความดีและความชั่วของ
เขา ก็แล้วทำา ไม่พระองค์สร้างบางคนให้มีความสุข
และบางคนให้มีความทุกข์ หรือมีความกรุณาต่อบาง
คน แต่โหดร้ายต่ออีกบางคน ไม่ยุติธรรมในเมื่อเชื่อ
กันว่า พระเจ้าทรงมีเมตตามากที่สุดเหล่านี้เป็นต้น
       พวกเชนถึงแม้จ ะไม่เชื่ อพระเจ้ า แต่พ วกเขาก็
เชื่ อ เรื่ อ งเทวดาที่ ไ ปจากคนเมื่ อ ตายไปแล้ ว คนที่
ทำา บุญกุศลไว้จะไปเป็นเทวดา ก็ทำา นองเดียวกับใน
พระพุทธศาสนา พวกเชนเคารพบูชาพระชินะ หรือ
ตีรถังกร ซึ่งเป็นศาสดาทั้งหลายของศาสนาเชนแล้ว
ยังเคารพบูชาพระสิทธะ อาจารยะ อุปธยายะ (อุปั
ชฌาย์) และสาธุอีกด้ว ย ซึ่งพระทั้ง ๕ ประเภทนี้
เรี ย กว่ า ปั ญ จ ป ร เ ม ษ ฎิ ว่ า เป็ น บุ ค คลตั ว อย่ า งที่
4
พั ฒ นาจิ ต ใจไปจนถึ ง ให้ สู ง ขึ้ น ไปตามลำา ดั บ จนถึ ง
โมกษะ

         คำา สอนและนิก ายของปรัช ญาเชน
      หลักคำา สอนของปรัชญาเชนหรือไชนะในระยะ
เริ่มแรก ไม่สอนให้ทำาการทรมานกายเหมือนในสมัย
พระมหาวีระ แต่สอนให้มีการรักษาศีลเพียง ๔ ข้อ
คือ
      1. ไม่เบียดเบียนคิดร้ายต่อผู้อื่น
      2. ละเว้นการลักขโมย
      3. ยึดมั่นอยู่ในสัจจะ
      4. ละเว้ น การผู ก พั น ทั้ ง ปวง (ไม่ ส ะสมทรั พ ย์
        สมบัติทางโลก)
ในกาลต่อมา สาวกของศาสนาเชนแบ่งลัทธิออกมา
เป็น ๒ นิกายใหญ่ ๆ คือ นิกายเสวตามพร และ
นิ ก ายทิ คั ม พร อั น เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น โดยทั่ ว ๆ ไปใน
ปัจจุบัน การยอมรับและนับถือในศาสดาของเชนนั้น
ทั้งสองนิกายจะมี อยู่เหมือน ๆ กัน หากจะแตกต่าง
ในเรื่องของหลักและกฎปฏิบัติที่มีความเคร่งครัดต่าง
กัน
      นิกายทิคัมพรจะเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามเคร่ ง ครั ด ในกฎ
ระเบียบและจะทรมานตนเองเพื่อต้องการที่จะปราบ
ปรามความเพลิดเพลินในกามารมณ์ และถือว่าพวก
สาธุ ห รื อ พระทั้ ง หลายนั้ น ควรจะเลิ ก ในความเป็ น
เจ้าของทรัพย์สมบัติ ควรจะละความเป็นเจ้าของใน
สิ่งใดสิ่งหนึ่งเสียโดยสิ้นเชิง แม้แต่ผ้านุ่งและผ้าห่มก็
ไม่ควรจะมี และนิกายนี้ยังถือว่า สตรีนั้นไม่สามารถ
ที่จะบรรลุถึงโมกษะได้
5
     นิกายเสวตามพร         การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ ห้
สามารถร่วมอยู่ในสังคมได้เป็นสิ่งสำาคัญ โดยการนุ่ง
ผ้าขาวสะอาด การที่จะให้สละแม้แต่ผ้าคลุมกายนั้น
จะทำา ให้ไม่สามารถอยู่ได้ในสังคมของมนุษ ย์ และ
ยังถือว่าสตรีก็สามารถบรรลุถึงโมกษะได้เช่นเดียวกับ
บุรุษทั่วไป เพื่อไม่เป็นการตัดสิทธิและเสรีภาพของ
สตรี

                    แนวคิด เรือ งกรรม
                                   ่
      เนื่ อ งจากกิ ริ ย วาทะของเชนมี นั ย กว้ า งขวาง
ครอบคลุ มทั้ งในด้ านอภิ ป รั ช ญา จริย ศาสตร์ และ
ญาณวิ ท ยา เช่ น เดี ย วกั บ เรื่ อ งกรรมของพระพุ ท ธ
ศาสนา ในการกล่ า วถึ ง หลั ก ปรั ช ญาของหองมหา
วีระ ต่อไปนี้ จะให้ความสนใจอยู่ใน ๓ ประเด็นนี้
๑) กิริยวาทะในแง่อภิปรัชญา
      มหาวีระยอมรับความมีอยู่ของชีว ะเช่นเดียวกับ
มักขลิโคสาละ เชนแบ่งมูลของสรรพสิ่งออกเป็น ๒
คือ ชีวะและอชีวะ และในแต่ละอย่างยังมีการแบ่ง
ย่อยออกไปอีก ถ้าหากยอมรับข้อเท็จจริงว่า มักขลิ
โคสาละ กับมหาวีระ เคยมีชีวิตอยู่ร่วมกันและมักขลิ
โคสาละเป็นผู้นำาทางความคิดของมหาวีระ ความคิด
เรื่องการแบ่งประเภทต่าง ๆ ของสรรพสิ่งของมักขลิ
โคสาละก็น่าจะมีอิทธิพลต่อมหาวีระอยู่ไม่น้อย มหา
วี ร ะไม่ ไ ด้ ม องสรรพสิ่ ง มี มู ล จากองค์ ป ระกอบอะไร
แต่มองไปว่าชีวะมีอยู่เป็นจำานวนมากเช่นเดียวกับสิ่ง
มีชีวิตทั้งหลาย ที่ไหนมีชีวิตที่นั่นก็มีชีวะ ชีวะมีอยู่
ทุ ก หนแห่ ง ไม่ เ พี ย งแต่ ใ นสั ต ว์ เ ท่ า นั้ น มี อ ยู่ แ ม้ ใ น
พืชและผงธุลี
6
        นักวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบันก็ให้การรับ รองใน
เรื่ อ งนี้ ว่ า ทุ ก อย่ า งมี ชี วิ ต เช่ น ตั ว เบิ ม และอมี บ า
ชีวิตมีอยู่ในธุลีและสิ่งที่ไร้ชีวิต ทุกชีวะมิได้มีความ
รู้สึกเหมือนกัน หมด ชีว ะบางพวก เช่น พวกที่อยู่
ในพื ช หรื อ อยู่ ใ นผงธุ ลี มี ค วามรู้ สึ ก โดยอาศั ย ผั ส สะ
หรือประสาทสัมผัสอย่างเดียว สัตว์ชั้นตำ่าบางจำาพวก
มีความรู้สึกสองทางคือ ทางผัสสะและทางรส เช่น
หนอน บางจำา พวกมี ค วามรู้ สึ ก ได้ ๔ ทางคื อ ทาง
ผัสสะ ทางรส ทางกลิ่นและทางตา เช่น ผึ้ง สั ต ว์
ชั้ น สู ง มี ค วามรู้ สึ ก ๕ ทาง คื อ ทางผั ส สะ ทางรส
ทางกลิ่น ทางตาและทางหู เช่น มนุษย์ มนุษย์มี
ความรู้ สึ ก ได้ ๕ ทาง จึ ง ทำา ให้ ม นุ ษ ย์ มี ค วามรู้ ไ ด้
มากกว่าสัตว์และ แม้ ว่ า ความรู้ สึ ก เหล่ า นี้ จ ะมี ก าร
พัฒนาขึ้นด้วยประการใด ๆ ก็ต าม ชีว ะที่อาศั ย อยู่
ในร่างกาย ย่อมมีภาวะจำา กัดทั้งในด้านความรู้และ
พลังงานต้องตกอยู่ในความทุกข์ จนกว่าจะหลุดพ้น
และทุ ก ๆ ชี ว ะสามารถบรรลุ ค วามเป็ น สั พ พั ญ ญู
        คุ ณ สมบั ติ ทั้ ง สามนี้ เ ป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ แ ท้ จ ริ ง ของ
ชีวะ แต่ ก รรมได้ เ ข้ า มาบั่ น ทอนและกำา จั ด คุ ณ สมบั ติ
ที่ แ ท้ จ ริ ง ของชี ว ะออกไป ดุ จ อาทิ ต ย์ ถู ก เมฆบดบั ง
กรรมหรือพลังงานของตัณหาในชีวะได้ดึงดูดเอาชิ้น
ของวัตถุเข้ามาใส่ตัวเอง วัตถุแทรกซึมอยู่ในชีวะ
ดุ จ ดั ง ชิ้ น ของผงธุ ลี แ ทรกซึ ม อยู่ ใ นแสงไฟหรื อ ดวง
อาทิตย์ กรรมใดนำา ชี ว ะไปผู ก พั น กั บ วั ต ถุ การ
กำา จั ด กรรมออกไปให้ สิ้ น เชิ ง นั้ น ชีว ะจะต้ อ งกำา จั ด
บ่วงที่ผูกพันตนเองให้หมดสิ้นไปโดยสิ้นเชิง ต่อจาก
นั้นชีวะจะลุถึงความสมบูรณ์อันเป็นธรรมชาติแท้จริง
ของตนเอง
7
       อภิปรัชญาเชนนี้ได้ทำา ให้เกิดอหิงสธรรมที่สอน
ให้ระมัด ระวังไม่ป ระทุษ ร้ายชีวิต แม้จะไม่อ าจเห็น
ได้ ด้ ว ยตาเปล่ า ซึ่ ง แตกต่ า งจากอหิ ง สธรรมของ
ศาสนาต่าง ๆ ในโลก
       ชี ว ะ ใ น ท ร ร ศ น ะ ข อ ง ม ห า วี ร ะ ก็ คื อ จิ ต ใ น
ทรรศนะของพระพุทธเจ้า แต่พระพุทธเจ้ามิได้ทรง
ถือว่า จิตเป็นนิรันดร์ มีธรรมชาติดั้งเดิมบริสุทธิ์ แม้
จะมีคำา ว่า ปภัสสรใช้กับจิตก็หมายถึงภวังคจิต ซึ่ง
ยังมีกิเลสตัณหาประกอบอยู่ แต่ไม่มีประเภทอุปกิเลส
จรเข้ามาสู่จิต จึงเรียกว่าปภัส สร จิตมิได้เป็นนิรัน
ดร์ เกิดขึ้นเพราะมีเหตุปัจจัยและจะดับไปเพราะเหตุ
ปัจจัยดับ ข้ออธิบายเรื่องของพระพุทธเจ้ามีหลักปฏิ
จจสมุปบาทหลักฐาน
       เรื่ อ งกรรมในทรรศนะของพระพุ ท ธเจ้ า เป็ น
ปฏิกิริยาของจิตกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งแสดงออกได้เป้น
๓ ทาง คื อ กายกรรม วจี ก รรมและมโนกรรม
มโนกรรมเป็นตัวที่สำาคัญที่สุดของจริยธรรมทั้งหลาย
กรรมของพระพุ ท ธเจ้ า มี ลั ก ษณะคล้ า ยพลั ง งาน
การกระทำากรรมทุกครั้ง จิตเป็นผู้เก็บสั่งสมพลังงาน
นั้ น ไว้ ดี บ้ า ง ชั่ ว บ้ า ง และจะส่ ง ผลที่ เ รี ย กว่ า วิ บ าก
ทำา ให้ไปเกิดในสุคติบ้าง ทุคติบ้าง ตามสมควรแก่
กรรมของตน มิได้มีลักษณะเป็นดั่งยางเหนียวดึงดูด
ชิ้นของวัตถุเข้ามาอยู่ในจิตอย่างที่มหาวีระกล่าวไว้
แต่ประการใด
       เกี่ยวกับเรื่องตัณหา พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า มิ ไ ด้ ท ร ง
ถือว่าเป็นตัวกรรม แต่ถือว่าเป็นเหตุให้ทำากรรมเป็น
องค์ ป ระกอบของชี วิ ต ปุ ถุ ช น ตามหลั ก ปฏิ จ จสมุ
ปบาท อั น ได้ แ ก่ ว งจรแห่ ง ชี วิ ต ของปุ ถุ ช น ๓ คื อ
กิ เ ลส กรรม วิ บ าก กิ เ ลสเป็ น เหตุ ใ ห้ ทำา กรรม
8
กรรมส่ ง ผลเป็ น วิ บ าก วิ บ ากก็ ส ร้ า งสมกิ เ ลสต่ อ ไป
นี่ คื อ ความทุ ก ข์        ความหลุ ด พ้ น จากทุ ก ข์ ก็ คื อ
กำา จัด กิเ ลสไม่ ให้ เกิ ด อี กต่ อไป นี่คือความหลุด พ้ น
ไม่ต้องมาเกิดอีก มิใช่เป็นการทำาให้ชีวะบริสุทธิ์ดังที่
มหาวีระได้กล่าวไว้

 ความเชื่อ เรือ งวิญ ญาณและการเวีย นว่า ยตาย
                    ่
                      เกิด (วิญ ญาณนิย ม)
      ทุกสรรพสิ่งในพื้นพิภพล้วนแต่มีวิญญาณ ดวง
วิญ ญาณทุ ก ๆ ดวงสามารถบรรลุ ถึ ง โมกษะสู่ ค วาม
เป็นสัพพัญญู และหลุดพ้นได้หากสามารถสลัดได้ซึ่ง
พั น ธนาการที่ เ หนี่ ย วรั้ ง ดวงวิ ญ ญาณให้ ชี วิ ต พบกั บ
การเกิ ด การเจริ ญ เติ บ โต การแก่ ช รา จนจบ
กระบวนการภพนั้นคือตาย และเริ่มต้นสู่การเวียนมา
เกิดใหม่ หรือเรียกว่า การเวียนว่ายตายเกิด ไม่มีที่
สิ้นสุดอยู่ภายใต้อำานาจแห่งกฎของจักรวาล หรือกฎ
แห่งกรรม หากยึดติดอยู่กับสิ่งที่เป็นรูปธรรมซึ่งเป็น
ศัตรูกับจิตอ้นถือเป็นนามธรรม
      กรรมและกิเลสเป็นตัวเหนี่ยวรั้งให้วิญ ญาณถูก
คุมขังและจำา กัด ไร้ค วามสุข และอิส รภาพ มีค วาม
มัวหมองและอวิชชา ดุจแสงอาทิตย์ที่มีผงธุลีบดบัง
ไม่สามารถส่องแสงสว่างได้อย่างเต็มที่ ความรู้เป็น
ปั จ จั ย อั น สำา คั ญ ของวิ ญ ญาณทุ ก ๆ ดวง ดั ง นั้ น
ความรู้กับวิญญาณจึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้
คื อ ความรู้ เ ป็ น ปั จ จั ย หรื อ ธาตุ แ ท้ ข องวิ ญ ญาณ
ไม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งคุ ณ สมบั ติ ที่ บั ง เกิ ด ขึ้ น โดยบั ง เอิ ญ
และไม่ ใ ช่ ผ ลพลอยได้ หากเกิ ด ขึ้ น มาโดยอาศั ย
ปัจจัยหลาย ๆ อย่างผสมกัน ถือว่าความรู้เป็นดุจดัง
แสงอาทิตย์ ซึ่งสามารถทำาให้ตนเองสว่าง และผู้อื่น
9
ยั ง พลอยได้ รั บ แสงสว่ า งนั้ น ด้ ว ย นอกจากจะมี
อุปสรรคบางอย่างกั้นแสงนั้นไว้ไ ม่ให้ส่องเข้าไปถึง
วัตถุได้เท่านั้น เช่นเดียวกับวิญญาณ                ถ้าหากไม่มี
สิ่งใดมาปิดบังหรือมีอุปสรรคใด ๆ แล้ว วิญญาณก็
จะกลายมาเป็ น สั พ พั ญ ญู รู้ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง เพราะ
สั พ พั ญ ญู เป็ น ธรรมชาติ แ ฝงอั น หนึ่ ง ที่ แ ฝงอยู่ ใ น
วิญญาณทุก ๆ ดวง เช่นเดียวกับความร้อนที่แฝงอยู่
ในนำ้า ฉะนั้น สิ่งหนึ่งที่มีอยู่ในวิญญาณทุก ๆ ดวง
นั้น คือ ความรู้แจ้งแทงตลอด

     ฐานะแห่ง ความเชื่อ ในเชน (อเทวนิย ม)
      เชน ได้ ป ฏิ เ สธพระเจ้ า ผู้ ส ร้ า ง ไม่ มี ค วามเชื่ อ
พระเจ้ า ผู้ ส ร้ า งแต่ อ ย่ า งใด ทุ ก คนสามารถบรรลุ สู่
ไกลวัล หรือโมกษะได้ จะต้องใช้ค วามอดทนและ
วิริยะด้วยตัวของตัวเอง มีความเพียรอันสูงส่งในการ
ปฏิบั ติ ศี ล โดยเคร่ ง ครั ด จนรู้ แ จ้ ง ด้ ว ยตนเอง หรื อ
ตรัสรู้
      ปรั ช ญาเชน มี ห ลั ก การยึ ด ถื อ ความประพฤติ
แบบอหิงสา คือการงดเว้นจากการเบีย ดเบีย นชีวิต
สั ต ว์ ทั้ ง ม ว ล ด้ ว ย ค ว า ม คิ ด คื อ อ เ น กั น ต ะ
(anekanta) และด้ ว ยการพู ด คื อ                       อปริ ค รหะ
(aparigraha)                ส่ ว นทั้ ง สามนี้ เ ป็ น หลั ก การที่
สำาคัญเหมือนส่วนยอดสุดของลัทธิเชน
      ปรัชญาเชน ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ย่ อ ย อ อ ก เ ป็ น ๗
กลุ่ม คือ ชีวะ อชีวะ อสารวะ พัทธะ
สัมวระ นิรชรา โมกษะ แต่ในบางครั้งได้รวมเอา
บาปและปั ญ ญาเพิ่ ม เข้ า ไปด้ ว ยอี ก ๒ อย่ า ง การ
แบ่งกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ ผู้ที่ปรารถนาความหลุดพ้น
ควรจะรู้ตามทรรศนะของเชน โดยเหตุที่เนื้อสารซึ่ง
10
มีจำานวนมากมาย มีการเกิดขึ้น ดำารงอยู่ และสลาย
ไปในเอกภพทั้งปวงขึ้นอยู่กับชีวะกับอชีวะ
      ชี ว ะในลั ท ธิ เ ชน เป็ น วิ ญ ญาณที่ มี ค วามรู้ ซึ่ ง
ตรงกับปุรุษะ ในปรัชญาสางขยะและอาตมันของไว
เศษิกะ เวทานตะ ลั ก ษ ณ ะ สำา คั ญ ข อ ง ชี ว ะ คื อ มี
จำานวนไม่จำากัด เพราะว่าถึงชีวะมีจำานวนจำากัดแล้ว
เมื่อชีวะบรรลุโมกษะแล้ว โลกของเราก็จะว่างเปล่า
หรือมิฉะนั้นชีวะที่หลุดพ้นไปแล้วจะต้องกลับมาสู่โลก
มนุษย์อีกซึ่งเป็นไปไม่ได้ ฉะนั้นชีวะจึงมีจำานวนนับ
ไม่ถ้วน
      ชี ว ะจึ ง มี ลั ก ษณะเหมื อ นกั บ ร่ า งกาย เป็ น ส่ ว น
เดียวกับร่างกาย เมื่อใดที่ร่างกายเจ็บปวด ชีวะก็จะ
เจ็บปวดด้วย แต่จะแตกต่างในแง่ที่ว่า ชีวะไม่ได้ถูก
ทำา ล า ย ไ ป ด้ ว ย แ ม้ ร่ า ง ก า ย จ ะ แ ต ก ส ล า ย ไ ป
นอกจากนั้ น การรั บ รู้ ยั ง เป็ น ลั ก ษณะสำา คั ญ ของชี ว ะ
ส่วนคุณสมบัติอื่นของชีว ะก็จะมีความรู้เป็นสารัต ถะ
(substance) โดยความรู้นี้จะมีอยู่ภายในชีวะเสมอ
แม้ว่าลักษณะและขอบเขตของความรู้จะแตกต่างกัน
ออกไป ชีวะเป็นกระแสสืบต่อกันไปอย่างไม่หยุดยั้ง
ชีวะเป็นทั้งผู้รู้ ผู้เสวยอารมณ์
      ลั ก ษณะของชี ว ะแบ่ ง ออกเป็ น ๒ ลั ก ษณะคื อ
ประเภทที่มีจิต และประเภทไม่มีจิต หรื อ ประเภทที่
เคลื่อนไหวได้ กับประเภทที่เคลื่อนไหวไม่ได้
      ชีวะเคลื่อนไหวได้ ห มายถึ ง ชี ว ะที่ ส ามารถเลื่ อ น
ไหวจากที่ ห นึ่ ง ไปสู่ อี ก ที่ ห นึ่ ง เช่ น โลก นำ้า พื ช
ถือว่าเป็นสิ่งที่เคลื่อนไหวไม่ได้ ส่วนไฟและอากาศ
เป็นสิ่งที่เคลื่อนไหวได้ เหตุ ที่ ค วามรู้ เ ป็ น สาระสำา คั ญ
ของชีวะทุกชีวะ ตั้งแต่ระดับตำ่าสุดถึงระดับสูงสุด ดัง
11
นั้น ความรู้ในชีวะต่าง ๆ จึงมีระดับต่าง ๆ กันด้วย
ความรู้มีระดับต่างกันก็เนื่องมาจากกรรม
สำาหรับกรรมตามทรรศนะของเชนถือเป็นเนื้อปรมาณู
       ถึงแม้ว่าชีวะในระดับตำ่าสุดจนถึงชีวะระดับสูงสุด
มีความรู้ในระดับต่างกัน แต่มีข้อสังเกตประการหนึ่ง
คื อ ชีว ะในระดั บ ตำ่า สุ ด ในเนื้ อ ปรมาณู ห รื อ วั ต ถุ มี
สภาพเหมื อ นกั บ ไร้ ชี ว ะและปราศจากความรู้ แต่
ความจริ ง แล้ ว ชี ว ะและความรู้ ใ นระดั บ นี้ จ ะมี อ ยู่ ใ น
ฐานะที่ไม่มีกัมมันตภาพ ส่วนชีวะที่มนุษย์จะหลุดพ้น
จากกรรมทั้ ง ปวง มี ค วามรู้ ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ และได้ บ รรลุ
โมกษะเป็นสัพพัญญู
       สาเหตุ ที่มี กรรมติด ข้อ งอยู่เ พราะว่ า ทุ ก ๆ ขณะ
เราจะทำา กรรมอยู่ ต ลอดเวลา โดยกิ จ กรรมทั้ ง กาย
วาจา ใจ โดยมี ค วามทะยานอยากเป็ น ตั ว กระตุ้ น
ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราทำา จะเกิดเป็นการกระทำา ของเรา
ทั้งดีและชั่ว และสิ่งนั้นก็จะติดอยู่กับชีวะ สิ่งนี้เรียก
ว่า อาสรวะ                     ส่ ว นกระแสกรรมที่ ผู ก พั น กั บ ชี ว ะ
เรียกว่า พัน ธะ เป็นสภาพที่กรรมไหลเข้ามาสู่ชีวะ
จากผลิตผลของการกระทำา ทั้ ง กาย วาจา ใจ ซึ่ง
เรียกการะกระทำาเหล่านี้ว่า โยคะ พั น ธะซึ่ ง ทำา ให้
เกิดการติดข้องนี้มี ๒ อย่าง คือ ภาวพันธะ เริ่ม
อุ บั ติ ขึ้ น ทั้ ง ที่ วิ ญ ญาณมี อ ารมณ์ ไ ม่ ดี อี ก อย่ า งหนึ่ ง
เรียกว่า ทรัพยพันธะ เริ่มต้นด้วยการเข้าไปในชีวะ
พันธะหรือการติดข้องนี้ วัตถุกรรมจะรวมกับชีวะ
       โดยเหตุที่ชีวะนั้นมีลักษณะตามธรรมชาติดั้งเดิม
คื อ ความบริ สุ ท ธิ์ ปั ญ หาก็ คื อ ชี ว ะนั้ น ติ ด ข้ อ งได้
อย่างไร จะเห็นวาในปรัชญาอินเดียเกือบทุกระบบ
ทฤษฎี เ รื่ อ งการติ ด ข้ อ งของปรั ช ญาเชนมี ลั ก ษณะ
แตกต่างจากระบบอื่น ป รั ช ญ า เ ช น มี ท ร ร ศ น ะ ว่ า
12
ชีวะนั้นติดข้องอยู่กับกรรมที่ตนเองกระทำาขึ้น การก
ระทำาทุกอย่างไม่ว่าด้านสมองหรือร่างกายก็ดี กรรม
จะเข้ า ครอบคลุ ม ชี ว ะและเป็ น ผลให้ ชี ว ะติ ด ข้ อ งอยู่
ดังนั้นสาเหตุของการติดข้องของชีวะก็คือกรรม เป็น
สิ่งที่เกิดจากกิเลสของตนเอง
       ตามทรรศนะของเชน ถื อ ว่ า การเปลี่ ย นแปลงที่
เกิดขึ้นกับสภาพของร่างกายของชีวะจะมีผลโดยตรง
ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับในด้านสมอง
ด้วย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละคนจะอยู่ใน
โลกของกรรม ซึ่งเป็นปรมาณูของสิ่งของหรือวัต ถุ
เช่น เมื่อเกิดความคิดชั่วร้ายเกิดขึ้น กระแสกรรมก็
เข้ า ไปติ ด พั น กั บ ชีว ะและปกคลุ ม ชี ว ะไว้ และเมื่ อ
เกิดความคิดที่ดีขึ้น มีการกระทำาที่ดี กระแสกรรมก็
จะหลุดจากชีวะ จึ ง กล่ า วได้ ว่ า ตามทรรศนะของ
เชนนั้น การเปลี่ยนแปลงไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะตัวชีวะ
แต่ล ะดวงเท่ านั้ น         แต่ยังมีการเปลี่ ย นแปลงที่เ กิด
ขึ้ น เป็ น ปรนั ย พร้ อ มกั น ด้ ว ย ในรู ป ของปรมาณู จ ะ
เข้าไปแทรกอยู่ในชีวะ
       ความหมายของกรรมตามทรรศนะของเชน จึงมี
ลักษณะเป็นเนื้อสาร กรรมนั้นไม่ใช่เป็นเรื่องอัตนัย
เช่นเดียวกับทรรศนะของพุทธศาสนาเพียงอย่างเดียว
แต่ยังมีลักษณะเป็นปรนัยอีกด้วย              ค ว า ม คิ ด เ รื่ อ ง
กรรมที่เป็นทั้งอัตนัยและปรนัย จึงเป็นลักษณะพิเศษ
ใ นป รั ช ญ า เ ช น ใน ทุ ก ข ณ ะเ ร า ทำา ก ร ร ม โ ด ย
กิจกรรมของจิต คำาพูดและร่างกายที่ถูกกระตุ้นด้วย
ความปรารถนา                 ความเกลียด ความหลง และ
ความผู ก พั น จะเป็ น กรรมและเข้ า ไปติ ด ที่ ชี ว ะ ดัง
นั้น ตลอดเวลาที่กระทำาสิ่งที่ดีหรือชั่วก็ตาม กระแส
กรรมจะเข้าไปติดชีวะ เหมือนกับนำ้ามาจากลำาคลอง
13
ฉั น ใด กรรมจะมาสู่ ชี ว ะด้ ว ยคลองคื อ โยคะหรื อ
การกระทำาได้ฉันนั้น ฉะนั้นชีวะกับ กรรมจึงมีค วาม
สัมพันธ์ใกล้ชิด โดยที่โยคะเป็นสาเหตุของอาสรวะ
และอาสรวะเป็นสาเหตุของความติดข้อง
      สำาหรับอาสรวะนั้น ยังแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท
คือ ภาวาสรวะ และ ทรัพยาสรวะหรือกรรมาสรวะ
      กล่ า วคื อ กิ จ กรรมทางความคิ ด ของชี ว ะเป้ น
สาเหตุที่เกี่ยวข้องของกรรมกับชีวะ เรียกว่า ภาวาส
รวะ หรือการติด ข้องภายใน การแสดงออกของ
ชีวะนั้นผ่านทางประสาทสัมผัสทั้งห้า ส่วนกรรมซึ่ง
ประสานกั บ ชี ว ะโดยตรง เรี ย กว่ า ทรั พ ยาสรวะ
เป็นการติดข้องภายนอก
      ฉะนั้น พอจะสรุปขบวนการทั้งหมดคือ ภาวา
สรวะ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางความคิด ในขณะที่
ทรั พ ยาสรวะเกี่ ย วกั บ กรรมที่ เ ป็ น เนื้ อ สาร โดยที่
ทรัพยาสรวะเป็นสาเหตุของการเคลื่อนที่กระแสของ
กรรมที่เป็นเนื้อสารเข้าไปที่ชีวะ ซึ่งเรียกว่าทรัพยาส
รวะ ประการที่สำา คัญที่สุด คือขบวนการทั้งสองจะ
เกิ ด ขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น แต่ ก ล่ า วได้ ใ นแง่ ข อง
ตรรกวิ ท ยาว่ า การติ ด ข้ อ งภายใน เกิ ด ขึ้ น ก่ อ น
และเป็นสาเหตุของการติดข้องภายนอก ซึ่งยังแบ่ง
ออกเป็น ๔ ประเภทด้วยกันตามลักษณะธรรมชาติ
ของกรรม กล่ า วคื อ ชนิ ด ของกรรมที่ ไ ปผู ก พั น กั บ
ชีวะ ระยะเวลาของการติด ข้องนั้นถื อว่ า เป็นช่ว ง
เวลาที่กรรมนั้นติดแน่นอยู่กับชีวะ ความเข้มข้นของ
กรรมที่ ติ ด แน่ น อยู่ กั บ ชี ว ะ เป็ น ความเข้ ม ข้ น ของ
กรรมที่ติด อยู่กับ ชีวะ และขอบเขตของชีว ะที่กรรม
ติดอยู่
14
ตามทรรศนะของเชนนั้น มีส าเหตุข องการติด
ข้อ งอยู่ ๓ ประการ คือ
            (1) ทรรศนะที่ไม่ถูกต้อง
            (2) ความรู้ที่ไม่ถูกต้อง
            (3) ความประพฤติที่ยังไม่ถูกต้อง
ด้วยเหตุนี้ การปรับทัศนคติให้ถูกต้องนั้น เป็นขั้น
แรกของความหลุด พ้น ต่อมาความรู้ที่ถูกต้องและ
ความประพฤติที่ถูกต้องจะตามมา                    ท ร ร ศ น ะ ที่ ถู ก
ต้ อ งจะเป็ น เงื่ อ นไขที่ จำา เป็ น ประการแรกของการ
ทำาลายการติดข้อง
      เนื่องจากสาเหตุของการติดข้อง คือการรวมกัน
ของเนื้อสารของกรรมกับชีวะ ดังนั้น การหลุดพ้น
จึงมีองค์ประกอบคือการแยกหรือทำาลายเนื้อสารของ
กรรมเหล่านี้ ดังนั้นสิ่งที่จำาเป็น ผู้แสวงหาความหลุด
พ้น คือการตรวจสอบดูว่า เนื้อสารของกรรมที่ติด
อยู่กับชีวะ ขบวนการเช่นนี้เรียกว่าสัมวระ หมายถึง
ก า ร ค ว บ คุ ม ห รื อ ก า ร ห ยุ ด ยั้ ง อ นุ ภ า ค ข อ ง ก ร ร ม
เป็ น การปฏิ บั ติ เ พื่ อ ที่ จ ะหาทางหยุ ด กระแสกรรมที่
แปลกปลอมไม่ให้เข้ามาเป็นองค์ประกอบของชีวะ
      สำาหรับสัมวระ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ
      (1) การหยุด การคิดสำาหรับกิจกรรมทางความ
          คิดที่ไม่ถูกต้อง
      (2) การหยุดที่แท้จริงของอาสรวะ คือหยุดและ
          ทำาลายเนื้อสารของกรรม
วิถีทางที่จะนำาไปสู่สัมวระ มี ๖ ประการ คือ
      (1) การควบคุ ม โยคะ ซึ่ ง หมายถึ ง ควบคุ ม
          กิจกรรมของจิต คำาพูด และร่างกาย
      (2) สมิติ เ ป็ น ทรรศนะที่ ร ะมั ด ระวั ง ในกิ จ กรรม
          ทุกอย่าง
15
       (3) ยึดถือกฎความประพฤติ ๑๐ ประการ
       (4) ต้ อ งเจริ ญ วิ ปั ส สนาเพื่ อ ตรวจสอบกระแส
           กรรม
       (5) การอดทนต่อความลำาบากที่ต้องได้รับ เพื่อ
           ไม่ให้กระแสกรรมเข้ามาติดข้องกับชีวะ เช่น
           ความหิว ความกระหาย
       (6) ความประพฤติที่ถูกต้อง ๔ ประการ
นอกจากวิ ธี ก ารทั้ ง ๖ ซึ่ ง หยุ ด การเคลื่ อ นที่ ข อง
อนุภาคแห่งกรรมสู่ชีวะแล้ว ต้องมีการทรมานตนเอง
เ พื่ อ ล้ า ง ค ว า ม ผิ ด อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ๒
ประการ ได้แก่ การหยุดอนุภาคของกรรมไม่ให้มา
สู่ชีวะ และการทำาลายอนุภาคของกรรมที่มีอยู่แล้ว
       หลังจากขบวนการดังกล่าวสิ้นสุดลง ก็จะมาถึง
ขบวนการที่เรียกว่า นิรชรา ซึ่งเป็นขั้นสุดท้ายที่จะ
ไปถึงการบรรลุโมกษะ                  ห ลั ง จ า ก ที่ ห ลุ ด พ้ น จ า ก
กรรม ชีวะจะหลุดพ้น ปัญหาสำา คัญคือ เมื่อสิ้นสุด
ขบวนการของนิ รชรา เป็นเพีย งขั้ นก่ อนการบรรลุ
โมกษะในแง่ตรรกวิทยาเท่านั้น แต่ความจริงแล้วก็
จะเกิดขึ้นพร้อมกันและจะเกิดสิ่งอีก ๓ สิ่งขึ้นพร้อม
กัน คือ
       (1) การแยกตัวของชีวะจากร่างกาย
       (2) ชีวะออกจากร่างไป
       (3) ชีวะกลับไปสู่อวกาศยอดสุดของจักรวาล
  วิธ ีเ ข้า สู่โ มกษะอัน เป็น สภาวะความจริง สูง สุด
                         ในศาสนาเชน
       เชนถื อ ว่ า โมกษะเป็ น จุ ด หมายสู ง สุ ด ของ
ชี วิ ต เป็ น โลกุ ต ตรภาวะ สภาวะที่ พ้ น ไปจาก
โลกไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏไม่
ระทมทุกข์อีกต่อไป ส่วนการปฏิบัติเพื่อที่จะให้
16
บรรลุโมกษะได้ก็ด้วยการกำา จัดอวิชชาให้หมด
ไปด้ วยวิ ช ชา เมื่ อ ไม่ มี อ วิ ช ชา ก็ จะไม่ มี กิ เ ลส
เละเมื่อไม่มีกิเลสก็จะไม่มีกรรม ชีวะก็จะหมดจด
ผ่องใสตามเดิม เพราะไม่ถูกกิเลสและกรรมห่อ
หุ้มปกปิด
      การหลุดพ้นจากกรรม เริ่มจากการปฏิบัติตนเพื่อ
ตัด บ่อเกิด แห่งกรรมหรือ ทำา ลายอวิช ชาอัน เป็ นที่ ม า
ของกิเลสและตัณหาที่จะนำามนุษย์สู่ความมืดบอดไม่รู้
แจ้ง การทรมานตนหรือการบำา เพ็ญ ตบะนำา พาให้
สภาวะทางวิญญาณมีระดับของความบริสุทธิ์สูงขึ้น ๆ
      จนถึ ง จุ ด สมบู ร ณ์ แ ห่ ง วิ ญ ญาณ ไม่ แ ปดเปื้ อ น
และหม่นหมองจากกรรมและกิเลส ส่ว นตัณหาเกิด
จากอวิ ช ชา คื อ ความไม่ รู้ เนื่ อ งจากความรู้ เ ป็ น
หนึ่ ง ในสามที่ จ ะทำา ให้ ม นุ ษ ย์ ห ลุ ด พ้ น เรี ย กว่ า
“รัตนตรัย ” สู่อิสรภาพจากพันธนาการ ส่องสว่างดุจ
แสงอาทิ ต ย์ ด้ ว ยหลั ก แห่ ง มรรค ๓ ประการ (ติ
รัตนะ) คือ
      ๑. สัมมาทัสสนะ หรือ สัมมาสัทธา คือ ความ
เห็นชอบมีความเชื่อมั่นในศาสดาและศาสนา
      ๒. สั ม มาญาณ คื อ รู้ ช อบแห่ ง ที่ ม าของทุ ก ข์
และกรรมด้วยหลักอหิงสา ทั้งกาย วาจา ใจ และรู้
ชอบสัจธรรมอันไม่เที่ยง
      ๓. สัมมาจาริตตะ คือ ประพฤติชอบตามหลัก
ปฏิบัติ ๗ ขั้น คือ
      ขั้ น ที่ ๑ หลั ก ปฏิ บั ติ พื้ น ฐานแห่ ง อนุ พ รตและ
มหาพรตทั้ง ๕ คือ
             1. อหิงสา ยึดมั่นเป็นอุดมการณ์แห่งชีวิต
                ในเรื่องความรักและเมตตาต่อสิ่งมีชีวิตทั้ง
                ปวง ทั้งทางตรงและทางอ้อม
17
          2. สัตยะ ก ล่ า ว แ ต่ สั ต ย์ จ ริ ง อั น
             สอดคล้องกับอหิงสา
          3. อัสเตยะ ยึ ด หลั ก ศี ล ธรรม ยุ ติ ธ รรม
             และไม่คตโกง
          4. พรหมจริยะ ไ ม่ ห ล ง มั ว เ ม า ใ น
             กามารมณ์
          5. อปริครหะ            ละทิ้งความโลภไม่ยึด ติด
             ในวัตถุ
     ขั้นที่ ๒          มีความสำารวมทุกอิริยาบถ
     ขั้นที่ ๓          ควบคุ ม กาย วาจา และใจให้
     เรียบร้อย
     ขั้นที่ ๔          ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ๑ ๐
     ป ร ะ ก า ร คื อ สุ ภ า พ อ่ อ น โ ย น , เ ที่ ย ง
     ตรง,ซื่ อ สั ต ย์ , สะอาด, อดทน, บำา เพ็ ญ ตบะ,
     เสียสละ, ไม่หลงในกิเลส, ไม่เสพเมถุน และให้
     อภัย
     ข้นที่ ๕           ต้องหมั่นเข้าญาณสมาบัติ
     ขั้นที่ ๖          อดทนต่ อ ความหิ ว กระหาย และ
ความร้อนหนาว
     ขั้นที่ ๗          มีความบริสุทธิ์ปราศจากความโลภ
ทั้งปวง
     ก า ร บำา เ พ็ ญ ญ า ณ ป ฏิ บั ติ ห รื อ ป ร ะ พ ฤ ติ
พรหมจรรย์อย่างเคร่งครัดมีกำาหนดเวลา ๑๒ ปี จึง
จะเข้าเขตของการหลุดพ้น ห ลั ง จ า ก นั้ น ห า ก ไ ม่
ต้องการจะมีชีวิตอยู่ นักบวชเชนจะอดอาหารจนจบ
ชีวิตลง

                        บทสรุป
18
      ห ลัก ป รัช ญ า ก า ร ดำา เ นิน ชีว ิต ข อ ง เ ช น นับ
เป็นปรัชญาที่เด่นชัดในเรื่องของการช่วยตนเองให้
พ้นจากความอวิชชาโดยยึดหลักการทรมานตนเอง
ไม่พึ่งสิ่งใด ๆ แม้แต่พระเจ้าผู้สมบูรณ์ชั่วการนิรันดร์
      ด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ส มบูรณ์โ ดยไม่เคยเป็นผู้ไม่
สมบูรณ์มาก่อนนั้น ย่อมไม่น่าเชื่อถือ                     แ ต่ ก็ ไ ม่
สามารถตั ด สิ น ได้ ว่ า การไม่ พึ่ ง หรื อ ไม่ ศ รั ท ธาใน
พระเจ้าเป็นสิ่งที่ผิดหรือถูก แต่เชนจะแสดงออกถึง
ความไม่งมงายในหลาย ๆ หลักธรรม                                เพราะถื อ
เป็นหลักธรรมสากลที่ลัทธิอื่นก็รับรอง                     มี ค ว า ม
เคร่งครัดในเรื่องของกรรม ทำา ให้ ห ลั ก อหิ ง ส าที่ จะ
ต้องมีเมตตาธรรมต่อสรรพชีวิต ค่อนข้างจะมีความ
หมายต่อมนุษยชาติในยุคโลกาภิวัตน์                             แต่ จ ะขั ด
แย้งกับการปฏิบัติในการทรมานตนเอง ซึ่งเท่ากับไม่
เมตตาต่อชีวิตตนเอง หากจะห้ามทรมานชีวิต อื่น ๆ
ก็ต้องห้ามทรมานชีวิตเองตนด้วยจึงจะถูก แ ม้ จ ะ มี
การกราบไหว้ วิ ญ ญาณศาสดาเจ้ า ลั ท ธิ เ ที ย บเท่ า
พระเจ้า แต่ก็มิใช่เพื่อความกรุณาหรือยกโทษใด ๆ
เพราะกรรมไม่มีการปราณี
      เส้ น ทางของการต่ อ สู้ กิ เ ลสตามแนวของเชนมี
ความชั ด เจน ที่ จ ะตั ด ไฟแต่ ต้ น ลม ตั ด ต้ น เหตุ ที่
ทำา ให้ เ กิ ด กรรม หากแต่ ไ ม่ มี ก ารยื ด หยุ่ น เป็ น หลั ก
การที่ ดี ต่ อ ผู้ ถื อ พรตที่ ตั ด ได้ ทุ ก สิ่ ง ซึ่ ง ค่ อ นข้ า งจะ
รุนแรงและเคร่งครัด                   สำา หรั บ ปุ ถุ ช นธรรมดาผู้
ทำา หน้าที่สืบเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติเพื่อการดำา รงอยู่
ของชีวิต ใหม่ ไม่เหมาะสมที่ จ ะประพฤติ ห ลั กธรรม
พรหมจรรย์แบบสุดขั้ว แต่เหมาะสมที่จะเดินทางสาย
กลาง เพราะความสุดโต่งของหลักการจะบั่นทอน
ความสอดประสานสู่ความเป็นสากลของศาสนามวล
19
มนุษยชาติ โดยรวมแล้วสัจธรรมคำาสอนที่แทรกอยู่
ในทุกศาสนาคือสิ่งเดียวกัน แม้แต่หลักธรรมทั้งหลาย
ของเชนที่สนับสนุนหลักพรตทั้งห้า แตกต่างก็เฉพาะ
มุมมองและความเคร่งครัด ที่มีกาลเวลาและยุคสมัย
มาเกี่ยวข้อง ความเหมาะสมจึงอยู่ที่เหตุผลของผู้เดิน
ตาม ฉะนั้น จึงยังไม่มีสัจธรรมในศาสนาใดที่มนุษย์
เห็นว่าสมบูรณ์ที่สุด ตราบเท่าที่มนุษย์มองกันคนละ
ด้านหากแม้จะยึดทางสายกลางระหว่างศาสนาไม่ได้
แต่ระหว่างนิกายทิคัมพร และเศวตามพรนั้น ค ว ร
ต้องปรับลดความสุดโต่งลงมาบ้าง เพราะปัจจุบันมีผู้
นับถือเชนอยู่ ๑,๕๐๐,๐๐๐ คน โดยประมาณ การ
ปรั บ ตั ว เป็ น คุ ณ สมบั ติ สำา คั ญ ในการดำา รงอยู่ ข อง
ศาสนา ความสอดประสานจะทำาให้มนุษย์อยู่ร่วมกัน
ได้อย่างสันติและมีชัยชนะต่อกรรมกิเลสที่สั่งสมเป็น
อคติภายในใจ
     ปรัชญาเชน สอนบุ ค คลให้ พิ ชิ ต หรื อ ชนะต่ อ
กิเลสและตัณหาให้ได้อย่างสิ้นเชิง เพื่อหลุดพ้นจาก
ความยึดติด ทั้งปวง ทำา ให้เกิดความรู้แจ้งในตนเอง
ขึ้นมา ตามที่องค์ศาสดาได้ประพฤติปฏิบัติ จึงต้อง
เคารพและบู ช าศาสดา แต่ ไ ม่ ยึ ด ถื อ ในพระเจ้ า
ศาสดาคือผู้มีดวงวิญญาณซึ่งบริสุทธิ์ เป็นผู้ตั้งลัทธิ
และนำา พาให้ เ กิ ด กำา ลั ง ใจที่ จ ะต่ อ สู้ เ อาชนะต่ อ กิ เ ลส
ตัณหาทั้งปวง หลุดพ้นจากบ่วงมารทั้งปวง ซึ่งครั้ง
หนึ่งดวงวิญญาณเคยผูกมัดอยู่ในบ่วงมาร แต่กลับ
กลายมาเป็ น ผู้ ห ลุ ด พ้ น เป็ น สั พ พั ญ ญู ทั้ ง นี้ ก็ โ ดย
อาศั ย ความวิ ริ ย ะด้ ว ยตนเอง โดยมิ ไ ด้ พึ่ ง พาอาศั ย
พระเจ้าแต่อย่างใด และถือว่า ชีวะหรือวิญญาณทุก
ๆ ดวง ซึ่ ง ถู ก ผู ก พั น อยู่ กั บ ปั จ จุ บั น และกิ เ ลสตั ณ หา
ถ้าได้เดินตามทางที่พวกศาสดาได้สั่งสอน ก็จะกลับ
20
กลายเป็นสัพพัญญู มีพ ลังอำา นาจและความสุขเช่น
เดียวกับที่ศาสดาทั้งหลายได้รับมา และนี่ คื อ ปลาย
ทางแห่งความหวังของเชน
       การที่ จ ะบรรลุ โ พธิ ญ าณต้ อ งอาศั ย กำา ลั ง ใจที่
มั่ น คงจากภายในจิ ต ใจของตน โดยการพยายาม
บำาเพ็ญตบะ ประพฤติพรหมจรรย์ มีเมตตาต่อสรรพ
สัตว์ ด้วยอหิงสา สละทุกสิ่งแม้แต่อาภรณ์ตามแนว
“ติรัตนะ ” แก้วสามดวง แห่งมรรคาทั้งสาม อันจะ
นำาไปสู่ความสมบูรณ์แห่งวิญญาณ หลุดพ้นพันธนา
การวั ฏ ฏสงสาร หรื อ การเวี ย นว่ า ยตายเกิ ด ด้ ว ย
หลักธรรม ๗ ขัน ที่ถือว่า “เป็นความดีสูงสุด”
                   ้

                          นิร วาณ (นิพ พาน)
       นิรวาณ ในปรัช ญาเชนไม่ได้ห มายถึง ความ
ดับวิญญาณโดยสิ้นเชิง แต่เป็นการนำา วิญญาณให้
บรรลุสันติสุขตลอดไป ภาวะหลุดพ้นที่เรียกว่าโมก
ษะก็คือ การหลีกเว้นกรรม ไม่ห่วงใยในชิวิต หรือ
วั ต ถุ อื่ น ใดทั้ ง สิ้ น ภาวะสิ ท ธิ คือ ผู้ สำา เร็ จ แล้ ว จะไม่
เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งสังสารวัฏอีก หมดสิ้นเงื่อนไข
อย่ า งสมบู ร ณ์ จะรู้ แ ต่ เ พี ย งว่ า สั ม ยั ค ทั ศ นะ หรื อ
สั ม ยั ค ศรั ท ธา สั ม ยั ค ชญาณ และสั ม ยั ค จริ ต เป็ น
หนทางแห่งความหลุดพ้น จะไม่สามารถกล่าวได้ว่า
การที่วิญญาณเป็นอิสระจะมีอะไรปรากฏบ้าง และก็
ไม่สามารถกล่าวให้แหน่ชัดลงไปว่า มีผู้รู้วิญญาณ
เป็นอิสระมากมาย สภาวะที่สมบูรณ์อาจจะอธิบายได้
เพราะวิ ญ ญาณเป็ น อิ ส ระจากกรมและกิ เ ลสตั ณ หา
เป็นสภาวะที่มั่นคงสุข สันติอ ย่า งแท้จ ริง อดีต กรรม
หมดพลังแล้ว วิญญาณแม้จะยังคงมีพฤติกรรมอยู่ก็
จะไม่สร้างภพสร้างชาติขึ้นมาอีก จะเป็นวิญญาณที่
21
อิสระพ้น พัน ธะใด ๆ เป็นอยู่นิ รัน ดร มีสัม มาญาณ
มี เ สรี ภ าพสมบู ร ณ์ แ ละอนั น ตสุ ข ซึ่ ง สามารถจะรั บ
อารมณ์ แ ละสิ่ ง ใด ๆ ได้ แต่ ก ารรั บ รู้ อ ารมณ์ แ ละ
ความรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น หน้ า ที่ ข องวิ ญ ญาณ ไม่ ใ ช่
อินทรีย์ต่าง ๆ โมกษะ เคลื่อนที่ขึ้นเบื้องบนโดยไม่
หยุ ด ยั้ ง ในภาวะนิ พ พานวิ ญ ญาณจะพุ่ ง สู่ เ บื้ อ งบน
เนื่องจากกรรมในอดีต หมดพลังให้ ผ ลแล้ ว เชื้อสืบ
ต่อให้เกิดอีกต่อไปสิ้นสุดลง ความผูกพันต่าง ๆ ได้
พั ง ทลายไปมี แ ต่ จ ะมุ่ ง ตรงไปสู่ เ บื้ อ งบนเท่ า นั้ น ที่
เรีย กว่า “สิทธวิญญาณ จุด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง สู ง สุด ข อ ง
ศาสนาเชน

                            จุดหมายปลายทางสูงสุด
ข     อ      ง     ศ      า ส น า เ ช น
ศาสนาเชนมี จุ ด หมายปลายทางสู ง สุ ด ของชี วิ ต อัน
เป็นความสุขที่แท้จริงและนิรันดร คือ นิรวารณะ หรือ
โมกษะ (ความหลุดพ้น ) ผู้หลุดพันจากเครื่องผูก คือ
กรรม ได้ ชื่ อ ว่ า สิ ท ธะ หรื อ ผู้ สำา เร็ จ เป็ น ผู้ ไ ม่ มี ชั้ น
วรรณะ ไม่ รู้สึ กกระทบกระเทื อนต่ อกลิ่ น ปราศจาก
ความรู้ สึ ก เรื่ อ งรส ไม่ มี ค วามรู้ สึ ก ที่ เ รี ย กว่ า เวทนา
ไม่มีความหิว ความเจ็บปวด ความเสียใจ ความดีใจ
ไม่ เ กิ ด แก่ ตาย ไม่ มี รู ป ไม่ มี ร่ า งกาย ไม่ มี ก รรม
เสวยความสงบอันหาที่สุดมิได้ วิธีที่จะบรรลุจุดหมาย
ปลายทางนั้ น จะต้ อ งปฏิ บั ติ โ ดยเคร่ ง ครั ด ตามข้ อ
ปฏิบัติพื้นฐานที่เรียกว่า อนุพ รต 5 จนถึงอย่างสูงที่
เป็นข้อปฏิบัติอันยิ่งใหญ่และสำาคัญคือ มหาพรต 3


                        เอกสารอ้างอิง
22

นวนิ ต ประถมบู ร ณ์ . ทรรศนะเรื่ อ งความหลุ ด พ้ น ในปรั ช ญา
อินเดีย. บัณฑิตวิทยาลัย.
      จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ๒๕๒๐
ฟื้น ดอกบัว. รศ. ปวงปรัชญาอินเดีย . กรุงเทพฯ :สำา นักพิมพ์
สยาม.๒๕๔๕
สถิต วงศ์สวรรค์ . รศ. ปรัชญาตะวันออก.กรุงเทพฯ : อมรการ
พิมพ์. ๒๕๔๗
สนั่ น ไชยานุ กู ล . ปรั ช ญาอิ น เดี ย . มหาจุ ฬ าลงกรณราช
วิทยาลัย. ๒๕๑๙
เสถี ย ร พั น ธรั ง ษี . ศาสดามหาวี ร ะ. มหาจุ ฬ าลงกรณราช
วิทยาลัย. ๒๔๙๕



หลัก คำา สอนสำา คัญ บางประการของศาสนาเชน

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับniralai
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์Proud N. Boonrak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 

What's hot (19)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-4page
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 

Similar to แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุniralai
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดPadvee Academy
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นGawewat Dechaapinun
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนาfreelance
 

Similar to แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน (20)

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
ลัทธิเชน
ลัทธิเชนลัทธิเชน
ลัทธิเชน
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
สังคหวัตถุ
สังคหวัตถุสังคหวัตถุ
สังคหวัตถุ
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๓
 
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้นบทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
บทที่ 1 ศึกษาความหมายและความเป็นมาของวิชาเทววิทยาเบื้องต้น
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11ภาษาไทย จ้า11
ภาษาไทย จ้า11
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนากลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
กลุ่มตนเป็นที่พึ่งแห่งตน --นิเวศวิทยากับศาสนา
 

More from Tongsamut vorasan

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒Tongsamut vorasan
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์Tongsamut vorasan
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติTongsamut vorasan
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตTongsamut vorasan
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมTongsamut vorasan
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔Tongsamut vorasan
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)Tongsamut vorasan
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯTongsamut vorasan
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018Tongsamut vorasan
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖Tongsamut vorasan
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกาTongsamut vorasan
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจTongsamut vorasan
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นTongsamut vorasan
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทTongsamut vorasan
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2Tongsamut vorasan
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษTongsamut vorasan
 

More from Tongsamut vorasan (20)

หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
หนังสืออนุสรณ์"งานพระราชทานเพลิงศพ" หลวงพ่อคูณ ปริสุทฺโธ ๒๙ มกราคม ๒๕๖๒
 
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษFood reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
Food reflectionบทพิจารณาอาหารภาษาอังกฤษ
 
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบ รายนามวัด พระธรรมทูตจำพรรษาสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
คติธรรมแห่งชีวิต . โดย..พระพรหมคุณาภรณ์
 
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
เชื่อกรรม รู้กรรม แก้กรรม โดย.พระพรหมคุณาภรณ์
 
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติเจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
เจอวิกฤตจะเลือกเอาวิวัฒน์ รหือจะเอาวิบัติ
 
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโตเจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
เจอวิกฤต จิตไม่วิบัติ โดย..พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตโต
 
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรมเพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
เพื่อความเจริญงอกงามแห่งธรรม
 
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
พุทธศาสตร์บัณฑิต รุ่นที่ ๔๔
 
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
ทำเนียบวัดไทยในสังกัดสมัชชาสหรัฐอเมริกา 2018 2561 (4)
 
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริการะเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
ระเบียบการขอพระไปปฏิบัติศาสนกิจชั่วคราวของสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกา
 
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
ระเบียบวาระการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐฯ
 
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
ใบตอบรับเข้าร่วมประชุมครั้ง42 2018
 
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
ทะเบียนประวัติพระมาร่วมประชุมสมัชชาฯ๒๕๖
 
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกากำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
กำหนดการการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในนสหรัฐอเมริกา
 
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
154517 บทพิธีกรงานฌาปนกิจ
 
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้นหลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
หลักสูตรผู้บวชระยะสั้น
 
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาทหนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
หนังสือสอนพระบวชใหม่ นวโกวาท
 
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
เพลงชาติไทย แปลภาษาอังกฤษ2
 
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
ภพภูมิทั้ง 31ภูมิ ภาษาอังกฤษ
 

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน

  • 1. 1 แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของ ศาสนาเชน *************************** ศาสนาเชนเป็นศาสนาประเภทอเทวนิยมเหมือน พระพุทธศาสนา คือไม่เชื่อว่ามีพระเจ้าสร้างโลกและ กำาหนดชะตากรรมของสัตว์ ศาสนาเชนถึงแม้จะเป็นอ เทวนิยมเหมือนพระพุทธศาสนาที่ถือว่าทุกอย่างเป็น ไปตามกรรมของตน แต่ ก็ แ ตกต่ า งจากพระพุ ท ธ ศ า ส น า ต ร ง ที่ ศ า ส น า เ ช น เ น้ น ที่ อ ดี ต ก ร ร ม แ ล ะ กายกรรม แต่พระพุทธศาสนาเน้นที่ปัจจุบันกรรม และมโนกรรม นอกจากนี้ก็แตกต่างตรงที่ศาสนาเชนเชื่อเรื่ อง อาตมั น แบบยื น โรงคงที่ เ ป็ น อมตะอย่ า งศาสนา พราหมณ์ แต่ ศ าสนาพุ ท ธถื อ ว่ า อาตมั น ไม่ ยื น โรง คงทนเป็นอมตะ แต่เป็นแบบสันตติ คือรับช่วงสืบต่อ กันไป ส่วนวิธีปฏิบัติเพื่อดำาเนินไปสู่โมกษะ ศาสนา เชนเน้ น เรื่ อ งอั ต ตกิ ล มถานุ โ ยคซึ่ ง เป็ น ทางสุ ด โต่ ง แต่ พ ระพุ ท ธศาสนาเป็ น ทางสายกลาง หรื อ มัชฌิมาปฏิปทา เ ช น มาจากคำา ว่ า ชิ น ะ โดยวิ ก ารอิ เ ป็ น เอ แปลว่า ชนะ แต่ ช นะในที่ นี้ ไ ม่ ไ ด้ ห มายถึ ง การ ชนะภายนอก คือเอาชนะคนอื่นหรือข้าศึก หากแต่ หมายถึ งเอาชนะภายในคื อกิ เลสของตน พวกเชน ถื อ ว่ า กิ เ ล สเป็ น ศั ต รู ที่ ร้ า ยกาจที่ สุ ด ข องตนแล ะ มนุษยชาติ กิเลสนี่แหละที่จะทำาลายตนเอง ทำาลาย ผู้อื่น ทำา ลายสังคม ตลอดถึงทำา ลายโลก ความชั่ว ร้ า ยทั้ ง หลายและความพิ น าศทั้ ง หลายที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน โลกล้ ว นแต่ ม าจากรากเหง้ า คื อ กิ เ ลสทั้ ง สิ้ น ดั ง นั้ น แต่ละคนจึงควรเห็นกิเลสเป็นศัตรู พยายามกำาจัดให้
  • 2. 2 หมดไปจากจิตใจ ใครก็สามารถกำาจัดกิเลสได้อย่าง เด็ดขาดสิ้นเชิง ขึ้นชื่อว่าพระชินะ ผู้ ที่ ส า ม า ร ถ เอาชนะกิเลสได้กลายเป็นบุคคลผู้ประสบความสำาเร็จ สู ง สุ ด ของชี วิ ต พวกเชนถื อ ว่ า พระศาสดาทั้ ง ๒๔ องค์ ข องศาสนาเชน ล้ ว นแต่ เ ป็ น พระชิ น ะทั้ ง สิ้ น และยังมีอีกชื่อ หนึ่ งว่ า ตีร ถัง ก ร หรือ ติต ถัง ก ร แปลว่า ผู้กระทำา ซึ่งท่า คือสร้างท่าพาคนข้ามฟาก ไปสู่นิพพานอีกด้วย ปรั ช ญาเชนมี อ ยู่ ม าก หากแบ่ ง ออกเป็ น หั ว ข้ อ ใหญ่ ๆ ๓ อย่าง คือ ญาณวิทยา ภววิทยา และคุณวิทยา ศาสนาแห่ง อเทวนิย ม ศาสนาเชนเป็นศาสนาอเทวนิยมเหมือนศาสนา พุทธ ทุ ก อย่ า งเกิ ด มาจากเหตุ ปั จ จั ย เป็ น ไปตาม เหตุปัจจัย ไม่ใช่เกิดมาจากพระเจ้า พวกเชนได้ให้ เหตุผลถึงการไม่มีพระเจ้ าว่ า การเชื่อพระเจ้ ามี แต่ ความขัดแย้งกันในตัว กล่าวคือพระเจ้าไม่เคยมีใคร เห็ น แล้ ว จะเชื่ อ ได้ อ ย่ า งไรว่ า มี พ ระเจ้ า ถ้ า จะว่ า พระเจ้ า รู้ ไ ด้ ด้ ว ยการอนุ ม าน อย่ า งสิ่ ง ต่ า ง ๆ เช่ น โต๊ะ เก้าอี้ บ้านเรือน เป็นต้น เกิดขึ้นมาได้ก็เพราะ มีคนสร้าง โลกก็เช่นกัน จะต้องมีผู้สร้างขึ้นมานั้นก็ คือพระเจ้า แต่ข้ออ้างนี้ยังไม่ส มเหตุสมผล จะเชื่อ มั่นได้อย่างไรว่าข้ออ้างนี้ถูก ในเมื่อไม่มีใครเคยเห็น พระเจ้ า แล้วจะมั่ นใจได้อ ย่า งไรว่ า พระเจ้า สร้ า ง โลก ผิดกับโต๊ะ เก้าอี้ บ้านเรือน เป็นต้น ซึ่งใคร ก็ เ ห็ น ว่ า ช่ า งสร้ า งขึ้ น มา อนึ่ ง พระเจ้ า มี อ งค์ ห รื อ หลายองค์ ถ้ามีองค์เดียวกัน แล้วทำาไมศาสนิกของ ศาสนาต่ า ง ๆ จะต้ อ งมาทะเลาะกั น ในเรื่ อ งพระเจ้ า หรือศาสนสถานของบางศาสนาทำาไมจึงห้ามคนต่าง
  • 3. 3 ศาสนาเข้ า ในเมื่ อ คนต่ า งศาสนาก็ นั บ ถื อ พระเจ้ า องค์เดียวกัน ถ้าพระเจ้ามีหลายองค์ ดังที่นับถือกัน ตามศาสนาต่าง ๆ ก็เป็นธรรมดาว่าแต่ละองค์ก็ต่าง จิตต่างใจกัน และทุกศาสนาต่างก็ว่า พระเจ้าของ ตนสร้างโลกนี้ขึ้นมา ก็ในเมื่อโลกมนุษย์มีโลกเดียว และถูกสร้างขึ้นมาโดยพระเจ้าองค์เดียว ก็แสดงว่ามี พระเจ้าจริงและพระเจ้าเก๊กันบ้าง หรือว่าทุกองค์ร่วม มือกันสร้าง ก็ค งจะประสบความขัด แย้งกันไม่น้อย ในเมื่อต่างองค์ต่างจิตต่างใจกัน พ ร ะ เ จ้ า ส ร้ า ง มนุ ษ ย์ แ ต่ ล ะคนให้ เ ป็ น ไปตามความดี ห รื อ ชั่ ว ของ แต่ ล ะคนใช่ ไ หม ถ้ า ใช่ ก็ แ สดงว่ า พระเจ้ า ไม่ ไ ด้ ยิ่ ง ใหญ่จริง ยังต้องอาศัยบุญหรือบาปของแต่ละคนเป็น เครื่ องมื อ ในการสร้ า ง เมื่อ เป็ น อย่ า งนั้ น จะใช้ ก ฎ แห่งกรรมแทนพระเจ้าก็ได้ กฎแห่งกรรมนี่แหละที่ สร้างความเป็นไปของมนุษ ย์ หรือถ้าพระเจ้าไม่ได้ สร้างมนุษย์แต่ละคนไปตามความดีและความชั่วของ เขา ก็แล้วทำา ไม่พระองค์สร้างบางคนให้มีความสุข และบางคนให้มีความทุกข์ หรือมีความกรุณาต่อบาง คน แต่โหดร้ายต่ออีกบางคน ไม่ยุติธรรมในเมื่อเชื่อ กันว่า พระเจ้าทรงมีเมตตามากที่สุดเหล่านี้เป็นต้น พวกเชนถึงแม้จ ะไม่เชื่ อพระเจ้ า แต่พ วกเขาก็ เชื่ อ เรื่ อ งเทวดาที่ ไ ปจากคนเมื่ อ ตายไปแล้ ว คนที่ ทำา บุญกุศลไว้จะไปเป็นเทวดา ก็ทำา นองเดียวกับใน พระพุทธศาสนา พวกเชนเคารพบูชาพระชินะ หรือ ตีรถังกร ซึ่งเป็นศาสดาทั้งหลายของศาสนาเชนแล้ว ยังเคารพบูชาพระสิทธะ อาจารยะ อุปธยายะ (อุปั ชฌาย์) และสาธุอีกด้ว ย ซึ่งพระทั้ง ๕ ประเภทนี้ เรี ย กว่ า ปั ญ จ ป ร เ ม ษ ฎิ ว่ า เป็ น บุ ค คลตั ว อย่ า งที่
  • 4. 4 พั ฒ นาจิ ต ใจไปจนถึ ง ให้ สู ง ขึ้ น ไปตามลำา ดั บ จนถึ ง โมกษะ คำา สอนและนิก ายของปรัช ญาเชน หลักคำา สอนของปรัชญาเชนหรือไชนะในระยะ เริ่มแรก ไม่สอนให้ทำาการทรมานกายเหมือนในสมัย พระมหาวีระ แต่สอนให้มีการรักษาศีลเพียง ๔ ข้อ คือ 1. ไม่เบียดเบียนคิดร้ายต่อผู้อื่น 2. ละเว้นการลักขโมย 3. ยึดมั่นอยู่ในสัจจะ 4. ละเว้ น การผู ก พั น ทั้ ง ปวง (ไม่ ส ะสมทรั พ ย์ สมบัติทางโลก) ในกาลต่อมา สาวกของศาสนาเชนแบ่งลัทธิออกมา เป็น ๒ นิกายใหญ่ ๆ คือ นิกายเสวตามพร และ นิ ก ายทิ คั ม พร อั น เป็ น ที่ รู้ จั ก กั น โดยทั่ ว ๆ ไปใน ปัจจุบัน การยอมรับและนับถือในศาสดาของเชนนั้น ทั้งสองนิกายจะมี อยู่เหมือน ๆ กัน หากจะแตกต่าง ในเรื่องของหลักและกฎปฏิบัติที่มีความเคร่งครัดต่าง กัน นิกายทิคัมพรจะเป็ น ผู้ ที่ มี ค วามเคร่ ง ครั ด ในกฎ ระเบียบและจะทรมานตนเองเพื่อต้องการที่จะปราบ ปรามความเพลิดเพลินในกามารมณ์ และถือว่าพวก สาธุ ห รื อ พระทั้ ง หลายนั้ น ควรจะเลิ ก ในความเป็ น เจ้าของทรัพย์สมบัติ ควรจะละความเป็นเจ้าของใน สิ่งใดสิ่งหนึ่งเสียโดยสิ้นเชิง แม้แต่ผ้านุ่งและผ้าห่มก็ ไม่ควรจะมี และนิกายนี้ยังถือว่า สตรีนั้นไม่สามารถ ที่จะบรรลุถึงโมกษะได้
  • 5. 5 นิกายเสวตามพร การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ใ ห้ สามารถร่วมอยู่ในสังคมได้เป็นสิ่งสำาคัญ โดยการนุ่ง ผ้าขาวสะอาด การที่จะให้สละแม้แต่ผ้าคลุมกายนั้น จะทำา ให้ไม่สามารถอยู่ได้ในสังคมของมนุษ ย์ และ ยังถือว่าสตรีก็สามารถบรรลุถึงโมกษะได้เช่นเดียวกับ บุรุษทั่วไป เพื่อไม่เป็นการตัดสิทธิและเสรีภาพของ สตรี แนวคิด เรือ งกรรม ่ เนื่ อ งจากกิ ริ ย วาทะของเชนมี นั ย กว้ า งขวาง ครอบคลุ มทั้ งในด้ านอภิ ป รั ช ญา จริย ศาสตร์ และ ญาณวิ ท ยา เช่ น เดี ย วกั บ เรื่ อ งกรรมของพระพุ ท ธ ศาสนา ในการกล่ า วถึ ง หลั ก ปรั ช ญาของหองมหา วีระ ต่อไปนี้ จะให้ความสนใจอยู่ใน ๓ ประเด็นนี้ ๑) กิริยวาทะในแง่อภิปรัชญา มหาวีระยอมรับความมีอยู่ของชีว ะเช่นเดียวกับ มักขลิโคสาละ เชนแบ่งมูลของสรรพสิ่งออกเป็น ๒ คือ ชีวะและอชีวะ และในแต่ละอย่างยังมีการแบ่ง ย่อยออกไปอีก ถ้าหากยอมรับข้อเท็จจริงว่า มักขลิ โคสาละ กับมหาวีระ เคยมีชีวิตอยู่ร่วมกันและมักขลิ โคสาละเป็นผู้นำาทางความคิดของมหาวีระ ความคิด เรื่องการแบ่งประเภทต่าง ๆ ของสรรพสิ่งของมักขลิ โคสาละก็น่าจะมีอิทธิพลต่อมหาวีระอยู่ไม่น้อย มหา วี ร ะไม่ ไ ด้ ม องสรรพสิ่ ง มี มู ล จากองค์ ป ระกอบอะไร แต่มองไปว่าชีวะมีอยู่เป็นจำานวนมากเช่นเดียวกับสิ่ง มีชีวิตทั้งหลาย ที่ไหนมีชีวิตที่นั่นก็มีชีวะ ชีวะมีอยู่ ทุ ก หนแห่ ง ไม่ เ พี ย งแต่ ใ นสั ต ว์ เ ท่ า นั้ น มี อ ยู่ แ ม้ ใ น พืชและผงธุลี
  • 6. 6 นักวิทยาศาสตร์สมัยปัจจุบันก็ให้การรับ รองใน เรื่ อ งนี้ ว่ า ทุ ก อย่ า งมี ชี วิ ต เช่ น ตั ว เบิ ม และอมี บ า ชีวิตมีอยู่ในธุลีและสิ่งที่ไร้ชีวิต ทุกชีวะมิได้มีความ รู้สึกเหมือนกัน หมด ชีว ะบางพวก เช่น พวกที่อยู่ ในพื ช หรื อ อยู่ ใ นผงธุ ลี มี ค วามรู้ สึ ก โดยอาศั ย ผั ส สะ หรือประสาทสัมผัสอย่างเดียว สัตว์ชั้นตำ่าบางจำาพวก มีความรู้สึกสองทางคือ ทางผัสสะและทางรส เช่น หนอน บางจำา พวกมี ค วามรู้ สึ ก ได้ ๔ ทางคื อ ทาง ผัสสะ ทางรส ทางกลิ่นและทางตา เช่น ผึ้ง สั ต ว์ ชั้ น สู ง มี ค วามรู้ สึ ก ๕ ทาง คื อ ทางผั ส สะ ทางรส ทางกลิ่น ทางตาและทางหู เช่น มนุษย์ มนุษย์มี ความรู้ สึ ก ได้ ๕ ทาง จึ ง ทำา ให้ ม นุ ษ ย์ มี ค วามรู้ ไ ด้ มากกว่าสัตว์และ แม้ ว่ า ความรู้ สึ ก เหล่ า นี้ จ ะมี ก าร พัฒนาขึ้นด้วยประการใด ๆ ก็ต าม ชีว ะที่อาศั ย อยู่ ในร่างกาย ย่อมมีภาวะจำา กัดทั้งในด้านความรู้และ พลังงานต้องตกอยู่ในความทุกข์ จนกว่าจะหลุดพ้น และทุ ก ๆ ชี ว ะสามารถบรรลุ ค วามเป็ น สั พ พั ญ ญู คุ ณ สมบั ติ ทั้ ง สามนี้ เ ป็ น คุ ณ สมบั ติ ที่ แ ท้ จ ริ ง ของ ชีวะ แต่ ก รรมได้ เ ข้ า มาบั่ น ทอนและกำา จั ด คุ ณ สมบั ติ ที่ แ ท้ จ ริ ง ของชี ว ะออกไป ดุ จ อาทิ ต ย์ ถู ก เมฆบดบั ง กรรมหรือพลังงานของตัณหาในชีวะได้ดึงดูดเอาชิ้น ของวัตถุเข้ามาใส่ตัวเอง วัตถุแทรกซึมอยู่ในชีวะ ดุ จ ดั ง ชิ้ น ของผงธุ ลี แ ทรกซึ ม อยู่ ใ นแสงไฟหรื อ ดวง อาทิตย์ กรรมใดนำา ชี ว ะไปผู ก พั น กั บ วั ต ถุ การ กำา จั ด กรรมออกไปให้ สิ้ น เชิ ง นั้ น ชีว ะจะต้ อ งกำา จั ด บ่วงที่ผูกพันตนเองให้หมดสิ้นไปโดยสิ้นเชิง ต่อจาก นั้นชีวะจะลุถึงความสมบูรณ์อันเป็นธรรมชาติแท้จริง ของตนเอง
  • 7. 7 อภิปรัชญาเชนนี้ได้ทำา ให้เกิดอหิงสธรรมที่สอน ให้ระมัด ระวังไม่ป ระทุษ ร้ายชีวิต แม้จะไม่อ าจเห็น ได้ ด้ ว ยตาเปล่ า ซึ่ ง แตกต่ า งจากอหิ ง สธรรมของ ศาสนาต่าง ๆ ในโลก ชี ว ะ ใ น ท ร ร ศ น ะ ข อ ง ม ห า วี ร ะ ก็ คื อ จิ ต ใ น ทรรศนะของพระพุทธเจ้า แต่พระพุทธเจ้ามิได้ทรง ถือว่า จิตเป็นนิรันดร์ มีธรรมชาติดั้งเดิมบริสุทธิ์ แม้ จะมีคำา ว่า ปภัสสรใช้กับจิตก็หมายถึงภวังคจิต ซึ่ง ยังมีกิเลสตัณหาประกอบอยู่ แต่ไม่มีประเภทอุปกิเลส จรเข้ามาสู่จิต จึงเรียกว่าปภัส สร จิตมิได้เป็นนิรัน ดร์ เกิดขึ้นเพราะมีเหตุปัจจัยและจะดับไปเพราะเหตุ ปัจจัยดับ ข้ออธิบายเรื่องของพระพุทธเจ้ามีหลักปฏิ จจสมุปบาทหลักฐาน เรื่ อ งกรรมในทรรศนะของพระพุ ท ธเจ้ า เป็ น ปฏิกิริยาของจิตกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งแสดงออกได้เป้น ๓ ทาง คื อ กายกรรม วจี ก รรมและมโนกรรม มโนกรรมเป็นตัวที่สำาคัญที่สุดของจริยธรรมทั้งหลาย กรรมของพระพุ ท ธเจ้ า มี ลั ก ษณะคล้ า ยพลั ง งาน การกระทำากรรมทุกครั้ง จิตเป็นผู้เก็บสั่งสมพลังงาน นั้ น ไว้ ดี บ้ า ง ชั่ ว บ้ า ง และจะส่ ง ผลที่ เ รี ย กว่ า วิ บ าก ทำา ให้ไปเกิดในสุคติบ้าง ทุคติบ้าง ตามสมควรแก่ กรรมของตน มิได้มีลักษณะเป็นดั่งยางเหนียวดึงดูด ชิ้นของวัตถุเข้ามาอยู่ในจิตอย่างที่มหาวีระกล่าวไว้ แต่ประการใด เกี่ยวกับเรื่องตัณหา พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า มิ ไ ด้ ท ร ง ถือว่าเป็นตัวกรรม แต่ถือว่าเป็นเหตุให้ทำากรรมเป็น องค์ ป ระกอบของชี วิ ต ปุ ถุ ช น ตามหลั ก ปฏิ จ จสมุ ปบาท อั น ได้ แ ก่ ว งจรแห่ ง ชี วิ ต ของปุ ถุ ช น ๓ คื อ กิ เ ลส กรรม วิ บ าก กิ เ ลสเป็ น เหตุ ใ ห้ ทำา กรรม
  • 8. 8 กรรมส่ ง ผลเป็ น วิ บ าก วิ บ ากก็ ส ร้ า งสมกิ เ ลสต่ อ ไป นี่ คื อ ความทุ ก ข์ ความหลุ ด พ้ น จากทุ ก ข์ ก็ คื อ กำา จัด กิเ ลสไม่ ให้ เกิ ด อี กต่ อไป นี่คือความหลุด พ้ น ไม่ต้องมาเกิดอีก มิใช่เป็นการทำาให้ชีวะบริสุทธิ์ดังที่ มหาวีระได้กล่าวไว้ ความเชื่อ เรือ งวิญ ญาณและการเวีย นว่า ยตาย ่ เกิด (วิญ ญาณนิย ม) ทุกสรรพสิ่งในพื้นพิภพล้วนแต่มีวิญญาณ ดวง วิญ ญาณทุ ก ๆ ดวงสามารถบรรลุ ถึ ง โมกษะสู่ ค วาม เป็นสัพพัญญู และหลุดพ้นได้หากสามารถสลัดได้ซึ่ง พั น ธนาการที่ เ หนี่ ย วรั้ ง ดวงวิ ญ ญาณให้ ชี วิ ต พบกั บ การเกิ ด การเจริ ญ เติ บ โต การแก่ ช รา จนจบ กระบวนการภพนั้นคือตาย และเริ่มต้นสู่การเวียนมา เกิดใหม่ หรือเรียกว่า การเวียนว่ายตายเกิด ไม่มีที่ สิ้นสุดอยู่ภายใต้อำานาจแห่งกฎของจักรวาล หรือกฎ แห่งกรรม หากยึดติดอยู่กับสิ่งที่เป็นรูปธรรมซึ่งเป็น ศัตรูกับจิตอ้นถือเป็นนามธรรม กรรมและกิเลสเป็นตัวเหนี่ยวรั้งให้วิญ ญาณถูก คุมขังและจำา กัด ไร้ค วามสุข และอิส รภาพ มีค วาม มัวหมองและอวิชชา ดุจแสงอาทิตย์ที่มีผงธุลีบดบัง ไม่สามารถส่องแสงสว่างได้อย่างเต็มที่ ความรู้เป็น ปั จ จั ย อั น สำา คั ญ ของวิ ญ ญาณทุ ก ๆ ดวง ดั ง นั้ น ความรู้กับวิญญาณจึงไม่สามารถแยกออกจากกันได้ คื อ ความรู้ เ ป็ น ปั จ จั ย หรื อ ธาตุ แ ท้ ข องวิ ญ ญาณ ไม่ ใ ช่ เ ป็ น เพี ย งคุ ณ สมบั ติ ที่ บั ง เกิ ด ขึ้ น โดยบั ง เอิ ญ และไม่ ใ ช่ ผ ลพลอยได้ หากเกิ ด ขึ้ น มาโดยอาศั ย ปัจจัยหลาย ๆ อย่างผสมกัน ถือว่าความรู้เป็นดุจดัง แสงอาทิตย์ ซึ่งสามารถทำาให้ตนเองสว่าง และผู้อื่น
  • 9. 9 ยั ง พลอยได้ รั บ แสงสว่ า งนั้ น ด้ ว ย นอกจากจะมี อุปสรรคบางอย่างกั้นแสงนั้นไว้ไ ม่ให้ส่องเข้าไปถึง วัตถุได้เท่านั้น เช่นเดียวกับวิญญาณ ถ้าหากไม่มี สิ่งใดมาปิดบังหรือมีอุปสรรคใด ๆ แล้ว วิญญาณก็ จะกลายมาเป็ น สั พ พั ญ ญู รู้ ทุ ก สิ่ ง ทุ ก อย่ า ง เพราะ สั พ พั ญ ญู เป็ น ธรรมชาติ แ ฝงอั น หนึ่ ง ที่ แ ฝงอยู่ ใ น วิญญาณทุก ๆ ดวง เช่นเดียวกับความร้อนที่แฝงอยู่ ในนำ้า ฉะนั้น สิ่งหนึ่งที่มีอยู่ในวิญญาณทุก ๆ ดวง นั้น คือ ความรู้แจ้งแทงตลอด ฐานะแห่ง ความเชื่อ ในเชน (อเทวนิย ม) เชน ได้ ป ฏิ เ สธพระเจ้ า ผู้ ส ร้ า ง ไม่ มี ค วามเชื่ อ พระเจ้ า ผู้ ส ร้ า งแต่ อ ย่ า งใด ทุ ก คนสามารถบรรลุ สู่ ไกลวัล หรือโมกษะได้ จะต้องใช้ค วามอดทนและ วิริยะด้วยตัวของตัวเอง มีความเพียรอันสูงส่งในการ ปฏิบั ติ ศี ล โดยเคร่ ง ครั ด จนรู้ แ จ้ ง ด้ ว ยตนเอง หรื อ ตรัสรู้ ปรั ช ญาเชน มี ห ลั ก การยึ ด ถื อ ความประพฤติ แบบอหิงสา คือการงดเว้นจากการเบีย ดเบีย นชีวิต สั ต ว์ ทั้ ง ม ว ล ด้ ว ย ค ว า ม คิ ด คื อ อ เ น กั น ต ะ (anekanta) และด้ ว ยการพู ด คื อ อปริ ค รหะ (aparigraha) ส่ ว นทั้ ง สามนี้ เ ป็ น หลั ก การที่ สำาคัญเหมือนส่วนยอดสุดของลัทธิเชน ปรัชญาเชน ส า ม า ร ถ แ บ่ ง ย่ อ ย อ อ ก เ ป็ น ๗ กลุ่ม คือ ชีวะ อชีวะ อสารวะ พัทธะ สัมวระ นิรชรา โมกษะ แต่ในบางครั้งได้รวมเอา บาปและปั ญ ญาเพิ่ ม เข้ า ไปด้ ว ยอี ก ๒ อย่ า ง การ แบ่งกลุ่มต่าง ๆ เหล่านี้ ผู้ที่ปรารถนาความหลุดพ้น ควรจะรู้ตามทรรศนะของเชน โดยเหตุที่เนื้อสารซึ่ง
  • 10. 10 มีจำานวนมากมาย มีการเกิดขึ้น ดำารงอยู่ และสลาย ไปในเอกภพทั้งปวงขึ้นอยู่กับชีวะกับอชีวะ ชี ว ะในลั ท ธิ เ ชน เป็ น วิ ญ ญาณที่ มี ค วามรู้ ซึ่ ง ตรงกับปุรุษะ ในปรัชญาสางขยะและอาตมันของไว เศษิกะ เวทานตะ ลั ก ษ ณ ะ สำา คั ญ ข อ ง ชี ว ะ คื อ มี จำานวนไม่จำากัด เพราะว่าถึงชีวะมีจำานวนจำากัดแล้ว เมื่อชีวะบรรลุโมกษะแล้ว โลกของเราก็จะว่างเปล่า หรือมิฉะนั้นชีวะที่หลุดพ้นไปแล้วจะต้องกลับมาสู่โลก มนุษย์อีกซึ่งเป็นไปไม่ได้ ฉะนั้นชีวะจึงมีจำานวนนับ ไม่ถ้วน ชี ว ะจึ ง มี ลั ก ษณะเหมื อ นกั บ ร่ า งกาย เป็ น ส่ ว น เดียวกับร่างกาย เมื่อใดที่ร่างกายเจ็บปวด ชีวะก็จะ เจ็บปวดด้วย แต่จะแตกต่างในแง่ที่ว่า ชีวะไม่ได้ถูก ทำา ล า ย ไ ป ด้ ว ย แ ม้ ร่ า ง ก า ย จ ะ แ ต ก ส ล า ย ไ ป นอกจากนั้ น การรั บ รู้ ยั ง เป็ น ลั ก ษณะสำา คั ญ ของชี ว ะ ส่วนคุณสมบัติอื่นของชีว ะก็จะมีความรู้เป็นสารัต ถะ (substance) โดยความรู้นี้จะมีอยู่ภายในชีวะเสมอ แม้ว่าลักษณะและขอบเขตของความรู้จะแตกต่างกัน ออกไป ชีวะเป็นกระแสสืบต่อกันไปอย่างไม่หยุดยั้ง ชีวะเป็นทั้งผู้รู้ ผู้เสวยอารมณ์ ลั ก ษณะของชี ว ะแบ่ ง ออกเป็ น ๒ ลั ก ษณะคื อ ประเภทที่มีจิต และประเภทไม่มีจิต หรื อ ประเภทที่ เคลื่อนไหวได้ กับประเภทที่เคลื่อนไหวไม่ได้ ชีวะเคลื่อนไหวได้ ห มายถึ ง ชี ว ะที่ ส ามารถเลื่ อ น ไหวจากที่ ห นึ่ ง ไปสู่ อี ก ที่ ห นึ่ ง เช่ น โลก นำ้า พื ช ถือว่าเป็นสิ่งที่เคลื่อนไหวไม่ได้ ส่วนไฟและอากาศ เป็นสิ่งที่เคลื่อนไหวได้ เหตุ ที่ ค วามรู้ เ ป็ น สาระสำา คั ญ ของชีวะทุกชีวะ ตั้งแต่ระดับตำ่าสุดถึงระดับสูงสุด ดัง
  • 11. 11 นั้น ความรู้ในชีวะต่าง ๆ จึงมีระดับต่าง ๆ กันด้วย ความรู้มีระดับต่างกันก็เนื่องมาจากกรรม สำาหรับกรรมตามทรรศนะของเชนถือเป็นเนื้อปรมาณู ถึงแม้ว่าชีวะในระดับตำ่าสุดจนถึงชีวะระดับสูงสุด มีความรู้ในระดับต่างกัน แต่มีข้อสังเกตประการหนึ่ง คื อ ชีว ะในระดั บ ตำ่า สุ ด ในเนื้ อ ปรมาณู ห รื อ วั ต ถุ มี สภาพเหมื อ นกั บ ไร้ ชี ว ะและปราศจากความรู้ แต่ ความจริ ง แล้ ว ชี ว ะและความรู้ ใ นระดั บ นี้ จ ะมี อ ยู่ ใ น ฐานะที่ไม่มีกัมมันตภาพ ส่วนชีวะที่มนุษย์จะหลุดพ้น จากกรรมทั้ ง ปวง มี ค วามรู้ ที่ บ ริ สุ ท ธิ์ และได้ บ รรลุ โมกษะเป็นสัพพัญญู สาเหตุ ที่มี กรรมติด ข้อ งอยู่เ พราะว่ า ทุ ก ๆ ขณะ เราจะทำา กรรมอยู่ ต ลอดเวลา โดยกิ จ กรรมทั้ ง กาย วาจา ใจ โดยมี ค วามทะยานอยากเป็ น ตั ว กระตุ้ น ทุกสิ่งทุกอย่างที่เราทำา จะเกิดเป็นการกระทำา ของเรา ทั้งดีและชั่ว และสิ่งนั้นก็จะติดอยู่กับชีวะ สิ่งนี้เรียก ว่า อาสรวะ ส่ ว นกระแสกรรมที่ ผู ก พั น กั บ ชี ว ะ เรียกว่า พัน ธะ เป็นสภาพที่กรรมไหลเข้ามาสู่ชีวะ จากผลิตผลของการกระทำา ทั้ ง กาย วาจา ใจ ซึ่ง เรียกการะกระทำาเหล่านี้ว่า โยคะ พั น ธะซึ่ ง ทำา ให้ เกิดการติดข้องนี้มี ๒ อย่าง คือ ภาวพันธะ เริ่ม อุ บั ติ ขึ้ น ทั้ ง ที่ วิ ญ ญาณมี อ ารมณ์ ไ ม่ ดี อี ก อย่ า งหนึ่ ง เรียกว่า ทรัพยพันธะ เริ่มต้นด้วยการเข้าไปในชีวะ พันธะหรือการติดข้องนี้ วัตถุกรรมจะรวมกับชีวะ โดยเหตุที่ชีวะนั้นมีลักษณะตามธรรมชาติดั้งเดิม คื อ ความบริ สุ ท ธิ์ ปั ญ หาก็ คื อ ชี ว ะนั้ น ติ ด ข้ อ งได้ อย่างไร จะเห็นวาในปรัชญาอินเดียเกือบทุกระบบ ทฤษฎี เ รื่ อ งการติ ด ข้ อ งของปรั ช ญาเชนมี ลั ก ษณะ แตกต่างจากระบบอื่น ป รั ช ญ า เ ช น มี ท ร ร ศ น ะ ว่ า
  • 12. 12 ชีวะนั้นติดข้องอยู่กับกรรมที่ตนเองกระทำาขึ้น การก ระทำาทุกอย่างไม่ว่าด้านสมองหรือร่างกายก็ดี กรรม จะเข้ า ครอบคลุ ม ชี ว ะและเป็ น ผลให้ ชี ว ะติ ด ข้ อ งอยู่ ดังนั้นสาเหตุของการติดข้องของชีวะก็คือกรรม เป็น สิ่งที่เกิดจากกิเลสของตนเอง ตามทรรศนะของเชน ถื อ ว่ า การเปลี่ ย นแปลงที่ เกิดขึ้นกับสภาพของร่างกายของชีวะจะมีผลโดยตรง ซึ่งจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไปพร้อมกับในด้านสมอง ด้วย การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละคนจะอยู่ใน โลกของกรรม ซึ่งเป็นปรมาณูของสิ่งของหรือวัต ถุ เช่น เมื่อเกิดความคิดชั่วร้ายเกิดขึ้น กระแสกรรมก็ เข้ า ไปติ ด พั น กั บ ชีว ะและปกคลุ ม ชี ว ะไว้ และเมื่ อ เกิดความคิดที่ดีขึ้น มีการกระทำาที่ดี กระแสกรรมก็ จะหลุดจากชีวะ จึ ง กล่ า วได้ ว่ า ตามทรรศนะของ เชนนั้น การเปลี่ยนแปลงไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะตัวชีวะ แต่ล ะดวงเท่ านั้ น แต่ยังมีการเปลี่ ย นแปลงที่เ กิด ขึ้ น เป็ น ปรนั ย พร้ อ มกั น ด้ ว ย ในรู ป ของปรมาณู จ ะ เข้าไปแทรกอยู่ในชีวะ ความหมายของกรรมตามทรรศนะของเชน จึงมี ลักษณะเป็นเนื้อสาร กรรมนั้นไม่ใช่เป็นเรื่องอัตนัย เช่นเดียวกับทรรศนะของพุทธศาสนาเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีลักษณะเป็นปรนัยอีกด้วย ค ว า ม คิ ด เ รื่ อ ง กรรมที่เป็นทั้งอัตนัยและปรนัย จึงเป็นลักษณะพิเศษ ใ นป รั ช ญ า เ ช น ใน ทุ ก ข ณ ะเ ร า ทำา ก ร ร ม โ ด ย กิจกรรมของจิต คำาพูดและร่างกายที่ถูกกระตุ้นด้วย ความปรารถนา ความเกลียด ความหลง และ ความผู ก พั น จะเป็ น กรรมและเข้ า ไปติ ด ที่ ชี ว ะ ดัง นั้น ตลอดเวลาที่กระทำาสิ่งที่ดีหรือชั่วก็ตาม กระแส กรรมจะเข้าไปติดชีวะ เหมือนกับนำ้ามาจากลำาคลอง
  • 13. 13 ฉั น ใด กรรมจะมาสู่ ชี ว ะด้ ว ยคลองคื อ โยคะหรื อ การกระทำาได้ฉันนั้น ฉะนั้นชีวะกับ กรรมจึงมีค วาม สัมพันธ์ใกล้ชิด โดยที่โยคะเป็นสาเหตุของอาสรวะ และอาสรวะเป็นสาเหตุของความติดข้อง สำาหรับอาสรวะนั้น ยังแบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ ภาวาสรวะ และ ทรัพยาสรวะหรือกรรมาสรวะ กล่ า วคื อ กิ จ กรรมทางความคิ ด ของชี ว ะเป้ น สาเหตุที่เกี่ยวข้องของกรรมกับชีวะ เรียกว่า ภาวาส รวะ หรือการติด ข้องภายใน การแสดงออกของ ชีวะนั้นผ่านทางประสาทสัมผัสทั้งห้า ส่วนกรรมซึ่ง ประสานกั บ ชี ว ะโดยตรง เรี ย กว่ า ทรั พ ยาสรวะ เป็นการติดข้องภายนอก ฉะนั้น พอจะสรุปขบวนการทั้งหมดคือ ภาวา สรวะ เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางความคิด ในขณะที่ ทรั พ ยาสรวะเกี่ ย วกั บ กรรมที่ เ ป็ น เนื้ อ สาร โดยที่ ทรัพยาสรวะเป็นสาเหตุของการเคลื่อนที่กระแสของ กรรมที่เป็นเนื้อสารเข้าไปที่ชีวะ ซึ่งเรียกว่าทรัพยาส รวะ ประการที่สำา คัญที่สุด คือขบวนการทั้งสองจะ เกิ ด ขึ้ น ในขณะเดี ย วกั น แต่ ก ล่ า วได้ ใ นแง่ ข อง ตรรกวิ ท ยาว่ า การติ ด ข้ อ งภายใน เกิ ด ขึ้ น ก่ อ น และเป็นสาเหตุของการติดข้องภายนอก ซึ่งยังแบ่ง ออกเป็น ๔ ประเภทด้วยกันตามลักษณะธรรมชาติ ของกรรม กล่ า วคื อ ชนิ ด ของกรรมที่ ไ ปผู ก พั น กั บ ชีวะ ระยะเวลาของการติด ข้องนั้นถื อว่ า เป็นช่ว ง เวลาที่กรรมนั้นติดแน่นอยู่กับชีวะ ความเข้มข้นของ กรรมที่ ติ ด แน่ น อยู่ กั บ ชี ว ะ เป็ น ความเข้ ม ข้ น ของ กรรมที่ติด อยู่กับ ชีวะ และขอบเขตของชีว ะที่กรรม ติดอยู่
  • 14. 14 ตามทรรศนะของเชนนั้น มีส าเหตุข องการติด ข้อ งอยู่ ๓ ประการ คือ (1) ทรรศนะที่ไม่ถูกต้อง (2) ความรู้ที่ไม่ถูกต้อง (3) ความประพฤติที่ยังไม่ถูกต้อง ด้วยเหตุนี้ การปรับทัศนคติให้ถูกต้องนั้น เป็นขั้น แรกของความหลุด พ้น ต่อมาความรู้ที่ถูกต้องและ ความประพฤติที่ถูกต้องจะตามมา ท ร ร ศ น ะ ที่ ถู ก ต้ อ งจะเป็ น เงื่ อ นไขที่ จำา เป็ น ประการแรกของการ ทำาลายการติดข้อง เนื่องจากสาเหตุของการติดข้อง คือการรวมกัน ของเนื้อสารของกรรมกับชีวะ ดังนั้น การหลุดพ้น จึงมีองค์ประกอบคือการแยกหรือทำาลายเนื้อสารของ กรรมเหล่านี้ ดังนั้นสิ่งที่จำาเป็น ผู้แสวงหาความหลุด พ้น คือการตรวจสอบดูว่า เนื้อสารของกรรมที่ติด อยู่กับชีวะ ขบวนการเช่นนี้เรียกว่าสัมวระ หมายถึง ก า ร ค ว บ คุ ม ห รื อ ก า ร ห ยุ ด ยั้ ง อ นุ ภ า ค ข อ ง ก ร ร ม เป็ น การปฏิ บั ติ เ พื่ อ ที่ จ ะหาทางหยุ ด กระแสกรรมที่ แปลกปลอมไม่ให้เข้ามาเป็นองค์ประกอบของชีวะ สำาหรับสัมวระ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท คือ (1) การหยุด การคิดสำาหรับกิจกรรมทางความ คิดที่ไม่ถูกต้อง (2) การหยุดที่แท้จริงของอาสรวะ คือหยุดและ ทำาลายเนื้อสารของกรรม วิถีทางที่จะนำาไปสู่สัมวระ มี ๖ ประการ คือ (1) การควบคุ ม โยคะ ซึ่ ง หมายถึ ง ควบคุ ม กิจกรรมของจิต คำาพูด และร่างกาย (2) สมิติ เ ป็ น ทรรศนะที่ ร ะมั ด ระวั ง ในกิ จ กรรม ทุกอย่าง
  • 15. 15 (3) ยึดถือกฎความประพฤติ ๑๐ ประการ (4) ต้ อ งเจริ ญ วิ ปั ส สนาเพื่ อ ตรวจสอบกระแส กรรม (5) การอดทนต่อความลำาบากที่ต้องได้รับ เพื่อ ไม่ให้กระแสกรรมเข้ามาติดข้องกับชีวะ เช่น ความหิว ความกระหาย (6) ความประพฤติที่ถูกต้อง ๔ ประการ นอกจากวิ ธี ก ารทั้ ง ๖ ซึ่ ง หยุ ด การเคลื่ อ นที่ ข อง อนุภาคแห่งกรรมสู่ชีวะแล้ว ต้องมีการทรมานตนเอง เ พื่ อ ล้ า ง ค ว า ม ผิ ด อี ก ด้ ว ย ซึ่ ง มี ป ร ะ โ ย ช น์ ๒ ประการ ได้แก่ การหยุดอนุภาคของกรรมไม่ให้มา สู่ชีวะ และการทำาลายอนุภาคของกรรมที่มีอยู่แล้ว หลังจากขบวนการดังกล่าวสิ้นสุดลง ก็จะมาถึง ขบวนการที่เรียกว่า นิรชรา ซึ่งเป็นขั้นสุดท้ายที่จะ ไปถึงการบรรลุโมกษะ ห ลั ง จ า ก ที่ ห ลุ ด พ้ น จ า ก กรรม ชีวะจะหลุดพ้น ปัญหาสำา คัญคือ เมื่อสิ้นสุด ขบวนการของนิ รชรา เป็นเพีย งขั้ นก่ อนการบรรลุ โมกษะในแง่ตรรกวิทยาเท่านั้น แต่ความจริงแล้วก็ จะเกิดขึ้นพร้อมกันและจะเกิดสิ่งอีก ๓ สิ่งขึ้นพร้อม กัน คือ (1) การแยกตัวของชีวะจากร่างกาย (2) ชีวะออกจากร่างไป (3) ชีวะกลับไปสู่อวกาศยอดสุดของจักรวาล วิธ ีเ ข้า สู่โ มกษะอัน เป็น สภาวะความจริง สูง สุด ในศาสนาเชน เชนถื อ ว่ า โมกษะเป็ น จุ ด หมายสู ง สุ ด ของ ชี วิ ต เป็ น โลกุ ต ตรภาวะ สภาวะที่ พ้ น ไปจาก โลกไม่ต้องมาเวียนว่ายตายเกิดในสังสารวัฏไม่ ระทมทุกข์อีกต่อไป ส่วนการปฏิบัติเพื่อที่จะให้
  • 16. 16 บรรลุโมกษะได้ก็ด้วยการกำา จัดอวิชชาให้หมด ไปด้ วยวิ ช ชา เมื่ อ ไม่ มี อ วิ ช ชา ก็ จะไม่ มี กิ เ ลส เละเมื่อไม่มีกิเลสก็จะไม่มีกรรม ชีวะก็จะหมดจด ผ่องใสตามเดิม เพราะไม่ถูกกิเลสและกรรมห่อ หุ้มปกปิด การหลุดพ้นจากกรรม เริ่มจากการปฏิบัติตนเพื่อ ตัด บ่อเกิด แห่งกรรมหรือ ทำา ลายอวิช ชาอัน เป็ นที่ ม า ของกิเลสและตัณหาที่จะนำามนุษย์สู่ความมืดบอดไม่รู้ แจ้ง การทรมานตนหรือการบำา เพ็ญ ตบะนำา พาให้ สภาวะทางวิญญาณมีระดับของความบริสุทธิ์สูงขึ้น ๆ จนถึ ง จุ ด สมบู ร ณ์ แ ห่ ง วิ ญ ญาณ ไม่ แ ปดเปื้ อ น และหม่นหมองจากกรรมและกิเลส ส่ว นตัณหาเกิด จากอวิ ช ชา คื อ ความไม่ รู้ เนื่ อ งจากความรู้ เ ป็ น หนึ่ ง ในสามที่ จ ะทำา ให้ ม นุ ษ ย์ ห ลุ ด พ้ น เรี ย กว่ า “รัตนตรัย ” สู่อิสรภาพจากพันธนาการ ส่องสว่างดุจ แสงอาทิ ต ย์ ด้ ว ยหลั ก แห่ ง มรรค ๓ ประการ (ติ รัตนะ) คือ ๑. สัมมาทัสสนะ หรือ สัมมาสัทธา คือ ความ เห็นชอบมีความเชื่อมั่นในศาสดาและศาสนา ๒. สั ม มาญาณ คื อ รู้ ช อบแห่ ง ที่ ม าของทุ ก ข์ และกรรมด้วยหลักอหิงสา ทั้งกาย วาจา ใจ และรู้ ชอบสัจธรรมอันไม่เที่ยง ๓. สัมมาจาริตตะ คือ ประพฤติชอบตามหลัก ปฏิบัติ ๗ ขั้น คือ ขั้ น ที่ ๑ หลั ก ปฏิ บั ติ พื้ น ฐานแห่ ง อนุ พ รตและ มหาพรตทั้ง ๕ คือ 1. อหิงสา ยึดมั่นเป็นอุดมการณ์แห่งชีวิต ในเรื่องความรักและเมตตาต่อสิ่งมีชีวิตทั้ง ปวง ทั้งทางตรงและทางอ้อม
  • 17. 17 2. สัตยะ ก ล่ า ว แ ต่ สั ต ย์ จ ริ ง อั น สอดคล้องกับอหิงสา 3. อัสเตยะ ยึ ด หลั ก ศี ล ธรรม ยุ ติ ธ รรม และไม่คตโกง 4. พรหมจริยะ ไ ม่ ห ล ง มั ว เ ม า ใ น กามารมณ์ 5. อปริครหะ ละทิ้งความโลภไม่ยึด ติด ในวัตถุ ขั้นที่ ๒ มีความสำารวมทุกอิริยาบถ ขั้นที่ ๓ ควบคุ ม กาย วาจา และใจให้ เรียบร้อย ขั้นที่ ๔ ป ร ะ พ ฤ ติ ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม ๑ ๐ ป ร ะ ก า ร คื อ สุ ภ า พ อ่ อ น โ ย น , เ ที่ ย ง ตรง,ซื่ อ สั ต ย์ , สะอาด, อดทน, บำา เพ็ ญ ตบะ, เสียสละ, ไม่หลงในกิเลส, ไม่เสพเมถุน และให้ อภัย ข้นที่ ๕ ต้องหมั่นเข้าญาณสมาบัติ ขั้นที่ ๖ อดทนต่ อ ความหิ ว กระหาย และ ความร้อนหนาว ขั้นที่ ๗ มีความบริสุทธิ์ปราศจากความโลภ ทั้งปวง ก า ร บำา เ พ็ ญ ญ า ณ ป ฏิ บั ติ ห รื อ ป ร ะ พ ฤ ติ พรหมจรรย์อย่างเคร่งครัดมีกำาหนดเวลา ๑๒ ปี จึง จะเข้าเขตของการหลุดพ้น ห ลั ง จ า ก นั้ น ห า ก ไ ม่ ต้องการจะมีชีวิตอยู่ นักบวชเชนจะอดอาหารจนจบ ชีวิตลง บทสรุป
  • 18. 18 ห ลัก ป รัช ญ า ก า ร ดำา เ นิน ชีว ิต ข อ ง เ ช น นับ เป็นปรัชญาที่เด่นชัดในเรื่องของการช่วยตนเองให้ พ้นจากความอวิชชาโดยยึดหลักการทรมานตนเอง ไม่พึ่งสิ่งใด ๆ แม้แต่พระเจ้าผู้สมบูรณ์ชั่วการนิรันดร์ ด้วยเหตุผลที่ว่า ผู้ส มบูรณ์โ ดยไม่เคยเป็นผู้ไม่ สมบูรณ์มาก่อนนั้น ย่อมไม่น่าเชื่อถือ แ ต่ ก็ ไ ม่ สามารถตั ด สิ น ได้ ว่ า การไม่ พึ่ ง หรื อ ไม่ ศ รั ท ธาใน พระเจ้าเป็นสิ่งที่ผิดหรือถูก แต่เชนจะแสดงออกถึง ความไม่งมงายในหลาย ๆ หลักธรรม เพราะถื อ เป็นหลักธรรมสากลที่ลัทธิอื่นก็รับรอง มี ค ว า ม เคร่งครัดในเรื่องของกรรม ทำา ให้ ห ลั ก อหิ ง ส าที่ จะ ต้องมีเมตตาธรรมต่อสรรพชีวิต ค่อนข้างจะมีความ หมายต่อมนุษยชาติในยุคโลกาภิวัตน์ แต่ จ ะขั ด แย้งกับการปฏิบัติในการทรมานตนเอง ซึ่งเท่ากับไม่ เมตตาต่อชีวิตตนเอง หากจะห้ามทรมานชีวิต อื่น ๆ ก็ต้องห้ามทรมานชีวิตเองตนด้วยจึงจะถูก แ ม้ จ ะ มี การกราบไหว้ วิ ญ ญาณศาสดาเจ้ า ลั ท ธิ เ ที ย บเท่ า พระเจ้า แต่ก็มิใช่เพื่อความกรุณาหรือยกโทษใด ๆ เพราะกรรมไม่มีการปราณี เส้ น ทางของการต่ อ สู้ กิ เ ลสตามแนวของเชนมี ความชั ด เจน ที่ จ ะตั ด ไฟแต่ ต้ น ลม ตั ด ต้ น เหตุ ที่ ทำา ให้ เ กิ ด กรรม หากแต่ ไ ม่ มี ก ารยื ด หยุ่ น เป็ น หลั ก การที่ ดี ต่ อ ผู้ ถื อ พรตที่ ตั ด ได้ ทุ ก สิ่ ง ซึ่ ง ค่ อ นข้ า งจะ รุนแรงและเคร่งครัด สำา หรั บ ปุ ถุ ช นธรรมดาผู้ ทำา หน้าที่สืบเผ่าพันธุ์ตามธรรมชาติเพื่อการดำา รงอยู่ ของชีวิต ใหม่ ไม่เหมาะสมที่ จ ะประพฤติ ห ลั กธรรม พรหมจรรย์แบบสุดขั้ว แต่เหมาะสมที่จะเดินทางสาย กลาง เพราะความสุดโต่งของหลักการจะบั่นทอน ความสอดประสานสู่ความเป็นสากลของศาสนามวล
  • 19. 19 มนุษยชาติ โดยรวมแล้วสัจธรรมคำาสอนที่แทรกอยู่ ในทุกศาสนาคือสิ่งเดียวกัน แม้แต่หลักธรรมทั้งหลาย ของเชนที่สนับสนุนหลักพรตทั้งห้า แตกต่างก็เฉพาะ มุมมองและความเคร่งครัด ที่มีกาลเวลาและยุคสมัย มาเกี่ยวข้อง ความเหมาะสมจึงอยู่ที่เหตุผลของผู้เดิน ตาม ฉะนั้น จึงยังไม่มีสัจธรรมในศาสนาใดที่มนุษย์ เห็นว่าสมบูรณ์ที่สุด ตราบเท่าที่มนุษย์มองกันคนละ ด้านหากแม้จะยึดทางสายกลางระหว่างศาสนาไม่ได้ แต่ระหว่างนิกายทิคัมพร และเศวตามพรนั้น ค ว ร ต้องปรับลดความสุดโต่งลงมาบ้าง เพราะปัจจุบันมีผู้ นับถือเชนอยู่ ๑,๕๐๐,๐๐๐ คน โดยประมาณ การ ปรั บ ตั ว เป็ น คุ ณ สมบั ติ สำา คั ญ ในการดำา รงอยู่ ข อง ศาสนา ความสอดประสานจะทำาให้มนุษย์อยู่ร่วมกัน ได้อย่างสันติและมีชัยชนะต่อกรรมกิเลสที่สั่งสมเป็น อคติภายในใจ ปรัชญาเชน สอนบุ ค คลให้ พิ ชิ ต หรื อ ชนะต่ อ กิเลสและตัณหาให้ได้อย่างสิ้นเชิง เพื่อหลุดพ้นจาก ความยึดติด ทั้งปวง ทำา ให้เกิดความรู้แจ้งในตนเอง ขึ้นมา ตามที่องค์ศาสดาได้ประพฤติปฏิบัติ จึงต้อง เคารพและบู ช าศาสดา แต่ ไ ม่ ยึ ด ถื อ ในพระเจ้ า ศาสดาคือผู้มีดวงวิญญาณซึ่งบริสุทธิ์ เป็นผู้ตั้งลัทธิ และนำา พาให้ เ กิ ด กำา ลั ง ใจที่ จ ะต่ อ สู้ เ อาชนะต่ อ กิ เ ลส ตัณหาทั้งปวง หลุดพ้นจากบ่วงมารทั้งปวง ซึ่งครั้ง หนึ่งดวงวิญญาณเคยผูกมัดอยู่ในบ่วงมาร แต่กลับ กลายมาเป็ น ผู้ ห ลุ ด พ้ น เป็ น สั พ พั ญ ญู ทั้ ง นี้ ก็ โ ดย อาศั ย ความวิ ริ ย ะด้ ว ยตนเอง โดยมิ ไ ด้ พึ่ ง พาอาศั ย พระเจ้าแต่อย่างใด และถือว่า ชีวะหรือวิญญาณทุก ๆ ดวง ซึ่ ง ถู ก ผู ก พั น อยู่ กั บ ปั จ จุ บั น และกิ เ ลสตั ณ หา ถ้าได้เดินตามทางที่พวกศาสดาได้สั่งสอน ก็จะกลับ
  • 20. 20 กลายเป็นสัพพัญญู มีพ ลังอำา นาจและความสุขเช่น เดียวกับที่ศาสดาทั้งหลายได้รับมา และนี่ คื อ ปลาย ทางแห่งความหวังของเชน การที่ จ ะบรรลุ โ พธิ ญ าณต้ อ งอาศั ย กำา ลั ง ใจที่ มั่ น คงจากภายในจิ ต ใจของตน โดยการพยายาม บำาเพ็ญตบะ ประพฤติพรหมจรรย์ มีเมตตาต่อสรรพ สัตว์ ด้วยอหิงสา สละทุกสิ่งแม้แต่อาภรณ์ตามแนว “ติรัตนะ ” แก้วสามดวง แห่งมรรคาทั้งสาม อันจะ นำาไปสู่ความสมบูรณ์แห่งวิญญาณ หลุดพ้นพันธนา การวั ฏ ฏสงสาร หรื อ การเวี ย นว่ า ยตายเกิ ด ด้ ว ย หลักธรรม ๗ ขัน ที่ถือว่า “เป็นความดีสูงสุด” ้ นิร วาณ (นิพ พาน) นิรวาณ ในปรัช ญาเชนไม่ได้ห มายถึง ความ ดับวิญญาณโดยสิ้นเชิง แต่เป็นการนำา วิญญาณให้ บรรลุสันติสุขตลอดไป ภาวะหลุดพ้นที่เรียกว่าโมก ษะก็คือ การหลีกเว้นกรรม ไม่ห่วงใยในชิวิต หรือ วั ต ถุ อื่ น ใดทั้ ง สิ้ น ภาวะสิ ท ธิ คือ ผู้ สำา เร็ จ แล้ ว จะไม่ เป็นเหตุเป็นปัจจัยแห่งสังสารวัฏอีก หมดสิ้นเงื่อนไข อย่ า งสมบู ร ณ์ จะรู้ แ ต่ เ พี ย งว่ า สั ม ยั ค ทั ศ นะ หรื อ สั ม ยั ค ศรั ท ธา สั ม ยั ค ชญาณ และสั ม ยั ค จริ ต เป็ น หนทางแห่งความหลุดพ้น จะไม่สามารถกล่าวได้ว่า การที่วิญญาณเป็นอิสระจะมีอะไรปรากฏบ้าง และก็ ไม่สามารถกล่าวให้แหน่ชัดลงไปว่า มีผู้รู้วิญญาณ เป็นอิสระมากมาย สภาวะที่สมบูรณ์อาจจะอธิบายได้ เพราะวิ ญ ญาณเป็ น อิ ส ระจากกรมและกิ เ ลสตั ณ หา เป็นสภาวะที่มั่นคงสุข สันติอ ย่า งแท้จ ริง อดีต กรรม หมดพลังแล้ว วิญญาณแม้จะยังคงมีพฤติกรรมอยู่ก็ จะไม่สร้างภพสร้างชาติขึ้นมาอีก จะเป็นวิญญาณที่
  • 21. 21 อิสระพ้น พัน ธะใด ๆ เป็นอยู่นิ รัน ดร มีสัม มาญาณ มี เ สรี ภ าพสมบู ร ณ์ แ ละอนั น ตสุ ข ซึ่ ง สามารถจะรั บ อารมณ์ แ ละสิ่ ง ใด ๆ ได้ แต่ ก ารรั บ รู้ อ ารมณ์ แ ละ ความรู้ ที่ เ กิ ด ขึ้ น เป็ น หน้ า ที่ ข องวิ ญ ญาณ ไม่ ใ ช่ อินทรีย์ต่าง ๆ โมกษะ เคลื่อนที่ขึ้นเบื้องบนโดยไม่ หยุ ด ยั้ ง ในภาวะนิ พ พานวิ ญ ญาณจะพุ่ ง สู่ เ บื้ อ งบน เนื่องจากกรรมในอดีต หมดพลังให้ ผ ลแล้ ว เชื้อสืบ ต่อให้เกิดอีกต่อไปสิ้นสุดลง ความผูกพันต่าง ๆ ได้ พั ง ทลายไปมี แ ต่ จ ะมุ่ ง ตรงไปสู่ เ บื้ อ งบนเท่ า นั้ น ที่ เรีย กว่า “สิทธวิญญาณ จุด ห ม า ย ป ล า ย ท า ง สู ง สุด ข อ ง ศาสนาเชน จุดหมายปลายทางสูงสุด ข อ ง ศ า ส น า เ ช น ศาสนาเชนมี จุ ด หมายปลายทางสู ง สุ ด ของชี วิ ต อัน เป็นความสุขที่แท้จริงและนิรันดร คือ นิรวารณะ หรือ โมกษะ (ความหลุดพ้น ) ผู้หลุดพันจากเครื่องผูก คือ กรรม ได้ ชื่ อ ว่ า สิ ท ธะ หรื อ ผู้ สำา เร็ จ เป็ น ผู้ ไ ม่ มี ชั้ น วรรณะ ไม่ รู้สึ กกระทบกระเทื อนต่ อกลิ่ น ปราศจาก ความรู้ สึ ก เรื่ อ งรส ไม่ มี ค วามรู้ สึ ก ที่ เ รี ย กว่ า เวทนา ไม่มีความหิว ความเจ็บปวด ความเสียใจ ความดีใจ ไม่ เ กิ ด แก่ ตาย ไม่ มี รู ป ไม่ มี ร่ า งกาย ไม่ มี ก รรม เสวยความสงบอันหาที่สุดมิได้ วิธีที่จะบรรลุจุดหมาย ปลายทางนั้ น จะต้ อ งปฏิ บั ติ โ ดยเคร่ ง ครั ด ตามข้ อ ปฏิบัติพื้นฐานที่เรียกว่า อนุพ รต 5 จนถึงอย่างสูงที่ เป็นข้อปฏิบัติอันยิ่งใหญ่และสำาคัญคือ มหาพรต 3 เอกสารอ้างอิง
  • 22. 22 นวนิ ต ประถมบู ร ณ์ . ทรรศนะเรื่ อ งความหลุ ด พ้ น ในปรั ช ญา อินเดีย. บัณฑิตวิทยาลัย. จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ๒๕๒๐ ฟื้น ดอกบัว. รศ. ปวงปรัชญาอินเดีย . กรุงเทพฯ :สำา นักพิมพ์ สยาม.๒๕๔๕ สถิต วงศ์สวรรค์ . รศ. ปรัชญาตะวันออก.กรุงเทพฯ : อมรการ พิมพ์. ๒๕๔๗ สนั่ น ไชยานุ กู ล . ปรั ช ญาอิ น เดี ย . มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย. ๒๕๑๙ เสถี ย ร พั น ธรั ง ษี . ศาสดามหาวี ร ะ. มหาจุ ฬ าลงกรณราช วิทยาลัย. ๒๔๙๕ หลัก คำา สอนสำา คัญ บางประการของศาสนาเชน