SlideShare a Scribd company logo
1 of 294
Download to read offline
โครงการสารวจประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์
ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products)
ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก
(ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง : CATSPA)
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก
ส่วนวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ สานักอุทยานแห่งชาติ
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ. 2559
ที่ปรึกษา
ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง ผู้ตรวจราชการกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติคลองลาน
หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแม่วงก์
หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
คณะทางานภาคสนาม
คมเชษฐา จรุงพันธ์ หัวหน้าคณะทางาน
คมกริช เศรษบุบผา คณะทางาน
หทัยรัตน์ นุกูล คณะทางาน
ศศิพัทน์ สุวรรณมีระ คณะทางาน
บุญส่ง ม่วงศรี คณะทางานและเลขานุการ
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก
นวรัตน์ คงชีพยืน สุวัฒน์ คงชีพยืน
ต้น แรงมาก ทิพย์สุดา จันทะยุทธ
อุทยานแห่งชาติคลองลาน
เจริญ มโนมัย
ปานทิพย์ โพทอง
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
สมทราย ฤาชา
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
อุทัย จันทร์เกตุ
ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก 2559 : โครงการสารวจ
ประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP
(Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก (ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการ
พื้นที่คุ้มครอง : CATSPA)
การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนลักษณะ
รูปแบบ และมูลค่าการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products)
พร้อมประเมินองค์ความรู้และทัศนคติต่อการจัดการป่าแนวกันชนอย่างยั่งยืนของราษฎรในชุมชน
บริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก โดยใช้แบบสารวจเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ของประชาชน ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10
ของจานวนประชากร โดยมีระยะเวลาในการศึกษา ในระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤศจิกายน 2559
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงซึ่งเป็นหัวหน้าครัวเรือน สถานภาพ
สมรส อายุเฉลี่ย 50 ปี มีการศึกษาระดับประถมต้น (ป.1-ป.4) จานวนสมาชิกเฉลี่ย 4 คนต่อครอบครัว
อาศัยอยู่ในชุมชนมากกว่า 25 ปี โดยมาอยู่เพราะต้องการที่ดินทากิน และย้ายตามเพื่อนบ้านและญาติ
พี่น้อง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้างทั่วไป รายได้สุทธิเฉลี่ย 92,388.01 บาทต่อปี
ลักษณะการพึ่งพิง รูปแบบการใช้ประโยชน์ ชนิด และปริมาณ ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของกลุ่มตัวอย่าง พบ 16 รูปแบบ
ซึ่งสามารถประเมินมูลค่าโดยรวมของผลผลิตจากป่าที่ชุมชนใช้ประโยชน์ เพื่อการบริโภคได้เป็นมูลค่า
เท่ากับ 2,061,309 บาท และเพื่อจาหน่าย เป็นมูลค่าเท่ากับ 8,893,904 บาท มูลค่ารวมเท่ากับ
10,955,213 บาท คิดเป็นมูลค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8,538.75 บาท/ครัวเรือน/ปี ผลการประเมินความรู้
โดยเฉลี่ยร้อยละ 95.5 มีความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
คาสาคัญ: อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ การพึ่งพิงทรัพยากร
(1)
สารบัญ
หน้า
สารบัญ (1)
สารบัญตาราง (2)
สารบัญภาพ (10)
คานา 1
วัตถุประสงค์ 2
การตรวจเอกสาร 3
อุปกรณ์และวิธีการ 78
อุปกรณ์ 78
วิธีการ 79
ผลและวิจารณ์ 88
ผล 88
วิจารณ์ 174
สรุปและข้อเสนอแนะ 213
สรุป 213
ข้อเสนอแนะ 220
เอกสารและสิ่งอ้างอิง 221
ภาคผนวก 223
ภาคผนวก ก แบบสารวจ 224
ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรม 245
(2)
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 จานวนครัวเรือนและขนาดกลุ่มตัวอย่างแยกตามหมู่บ้าน ท้องที่
อาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร 85
2 จานวนครัวเรือนและขนาดกลุ่มตัวอย่างแยกตามหมู่บ้าน ท้องที่
อาเภอปางศิลาทอง และอาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร
อาเภอแม่วงก์ และอาเภอแม่เปิน จังหวัดนครสวรรค์ 86
3 จานวนครัวเรือนและขนาดกลุ่มตัวอย่างแยกตามหมู่บ้าน ท้องที่
อาเภอลานสัก อาเภอห้วยคต และอาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี 87
4 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 91
5 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 103
6 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 104
7 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า
ในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน ใน 13 หมู่บ้าน จานวน 325 ครัวเรือน 106
(3)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
8 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 16 หมู่บ้าน จานวน
236 ครัวเรือน 107
9 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 17 หมู่บ้าน
จานวน 167 ครัวเรือน 108
10 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 109
11 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 114
12 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน
จานวน 171 ครัวเรือน 115
(4)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
13 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าสงวนแห่งชาติของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน ใน 2 หมู่บ้าน จานวน 6 ครัวเรือน และ
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 5 หมู่บ้าน จานวน 14 ครัวเรือน 117
14 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 15 หมู่บ้าน จานวน 151 ครัวเรือน 118
15 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน
จานวน 171 ครัวเรือน 119
16 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ
แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน
จานวน 1,283 ครัวเรือน 124
17 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 29 หมู่บ้าน จานวน 184 ครัวเรือน 125
(5)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
18 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน ใน 6 หมู่บ้าน จานวน 14 ครัวเรือน และของราษฎรในชุมชนที่อยู่
ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 10 หมู่บ้าน
จานวน 82 ครัวเรือน 127
19 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 12 หมู่บ้าน จานวน 87 ครัวเรือน 128
20 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 129
21 ผลการประเมินความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 153
22 จานวนข้อที่ตอบถูก ค่าคะแนน และผลการประเมิน ความรู้ด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 155
23 สรุปผลการประเมิน ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการ
พื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน
จานวน 1,283 ครัวเรือน 156
(6)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
24 ความคิดเห็นของประชาชนด้านการจัดตั้งและการดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครอง
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 159
25 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการกาหนดมาตรการในการอนุรักษ์ และ
การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน
จานวน 1,283 ครัวเรือน 163
26 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารจัดการพื้นที่ป่าแบบมีส่วนร่วม
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 168
27 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการจัดการป่าแนวกันชนและป่าชุมชน
ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ
แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน
จานวน 1,283 ครัวเรือน 172
28 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 177
(7)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
29 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ และจานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า
ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และ ป่าชุมชน
ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 181
30 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการบริโภค ของราษฎรในชุมชน ที่อยู่ในรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 188
31 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน
รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 189
32 รวมชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน
รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 190
33 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อการบริโภค ของราษฎรในชุมชน
ที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 193
(8)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
34 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน
รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 194
35 รวมชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 195
36 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน เพื่อการบริโภค ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน
รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 198
37 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน
รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 199
38 รวมชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 38
(9)
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
39 รวมชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎร
ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 203
40 สรุปมูลค่าการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน เพื่อการบริโภค
และจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 205
41 ผลการประเมิน ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการ
พื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 209
(10)
สารบัญภาพ
ภาพที่ หน้า
1 องค์ประกอบของมูลค่าทั้งหมดทางเศรษฐกิจของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม 13
2 จุดที่ตั้งที่ทาการอุทยานแห่งชาติคลองลานและหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ 33
3 เขตการปกครองในพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน และหน่วยพิทักษ์
อุทยานแห่งชาติ 34
4 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน และชุมชนข้างเคียง 35
5 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 36
6 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 37
7 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 38
8 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 39
9 จุดที่ตั้งที่ทาการอุทยานแห่งชาติแม่วงก์และหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ 43
10 เขตการปกครองในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และหน่วยพิทักษ์
อุทยานแห่งชาติ 44
11 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และชุมชนข้างเคียง 45
12 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 46
13 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 47
14 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 48
15 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 49
16 จุดที่ตั้งที่ทาการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งและหน่วยพิทักษ์ป่า 57
17 เขตการปกครองในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และหน่วยพิทักษ์ป่า 58
18 ระดับความสูงของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และชุมชนข้างเคียง 59
19 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 60
20 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 61
21 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 62
22 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 63
(11)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
23 จุดที่ตั้งที่ทาการอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ
และหน่วยพิทักษ์ป่า 64
24 เขตการปกครองในพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ และ
หน่วยพิทักษ์ป่า 65
25 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และชุมชนข้างเคียง 66
26 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 67
27 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 68
28 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 69
29 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 70
30 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติคลองลาน
จานวน 13 หมู่บ้าน 72
31 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์
จานวน 16 หมู่บ้าน 74
32 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง จานวน 17 หมู่บ้าน 76
33 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จานวน 46 หมู่บ้าน 77
(12)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
34 การกระจายของครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างในชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน
จานวน 1,283 ครัวเรือน 97
35 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครองของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ
แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน
จานวน 728 ครัวเรือน 105
36 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 116
37 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 29 หมู่บ้าน จานวน 184 ครัวเรือน 126
38 ปัจจัยด้านทิศด้านลาดในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ
และป่าชุมชน 131
39 ปัจจัยด้านความสูงจากระดับน้าทะเลในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง
ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 132
40 ปัจจัยด้านความลึกดินในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ
และป่าชุมชน 133
41 ปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง
ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 134
(13)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
42 ปัจจัยด้านความลาดเอียงของพื้นที่ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง
ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 135
43 ปัจจัยด้านระห่างจากลาน้าในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ
และป่าชุมชน 136
44 ปัจจัยด้านเนื้อดินในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 137
45 จุดพิกัดการปรากฏของ หน่อไม้ เห็ดโคน ผักหวาน และเห็ดเผาะ ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 138
46 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของหน่อไม้
และค่า AUC = 0.954 139
47 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของเห็ดโคน
และค่า AUC = 0.949 139
48 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของเห็ดเผาะ
และค่า AUC = 0.970 140
49 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของผักหวาน
และค่า AUC = 0.981 140
50 แนวโน้มการกระจายของหน่อไม้ 141
51 แนวโน้มการกระจายของเห็ดโคน 142
52 แนวโน้มการกระจายของเห็ดเผาะ 143
53 แนวโน้มการกระจายของผักหวาน 144
54 จานวน และร้อยละ ของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
(NTFP) ในพื้นที่ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน
ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง
ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ
แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน
1,283 ครัวเรือน 178
(14)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
55 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า
ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 184
56 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า
ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 184
57 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า
ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 29 หมู่บ้าน จานวน 184 ครัวเรือน 185
58 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า
ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และ
ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 185
59 ที่ตั้งของชุมชน 46 หมู่บ้าน ที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรชุมชน
ที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง 186
60 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า
ในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 191
(15)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพที่ หน้า
61 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎร ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน
จานวน 171 ครัวเรือน 196
62 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าชุมชน ของราษฎร ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน
จานวน 183 ครัวเรือน 201
63 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP)
ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎร
ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง
ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 204
64 สรุปมูลค่าการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่
ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน เพื่อการบริโภค
และจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 206
65 ค่าคะแนน และผลการประเมินระดับความรู้ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 210
(16)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพผนวกที่ หน้า
ข1 สารวจรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน โดยการใช้แบบสารวจสภาพ
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ทัศนคติ และประเมินมูลค่า
การพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชนอุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก จากตัวแทนครัวเรือนชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติคลองลาน อาเภอคลองลาน
จังหวัดกาแพงเพชร 13 หมู่บ้าน จานวน 435 ครัวเรือน 246
ข2 สารวจรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน โดยการใช้แบบสารวจ
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ทัศนคติ และประเมินมูลค่า การ
พึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชนอุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก จากตัวแทนครัวเรือนชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 16 หมู่บ้าน
จานวน 428 ครัวเรือน 247
ข3 สารวจรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน โดยการใช้แบบสารวจ
สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ทัศนคติ และประเมินมูลค่า การ
พึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
ของราษฎรในชุมชน บริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชนอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยาน
แห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก จากตัวแทนครัวเรือนชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี
3 กิโลเมตร จากแนวเขตเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 17 หมู่บ้าน
จานวน 420 ครัวเรือน 248
ข4 สภาพทั่วไปของชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
อุทยานแห่งชาติคลองลาน 249
ข5 สภาพทั่วไปของชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ 250
(17)
สารบัญภาพ (ต่อ)
ภาพผนวกที่ หน้า
ข6 สภาพทั่วไปของชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 251
ข7 ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง
ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์
และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน 252
ข8 จับพิกัดการปรากฏของผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ เพื่อจัดทาแผนที่
แนวโน้มการกระจาย 255
ข9 แสดงเส้นทางเข้าถึงการเก็บหาผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ในพื้นที่อุทยาน
แห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง 256
ข10 เส้นทางเข้าถึงการเก็บหาผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 257
1
โครงการสารวจประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์
ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products)
ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน
อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก
(ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง : CATSPA)
คานา
ด้วยอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง
เป็นพื้นที่คุ้มครองนาร่อง ของโครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
(CATSPA) ซึ่งเป็นโครงการที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมกับสานักงานโครงการ
พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) เพื่อศึกษาความ
เป็นไปได้ในการปรับปรุงระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (Protected Area) ของประเทศไทยในอนาคต
สภาพโดยรวมของพื้นที่คุ้มครองทั้งสามแห่งมีระบบนิเวศทางธรรมชาติป่าไม้ และสัตว์ป่าที่
สาคัญ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มป่าตะวันตก ในขณะเดียวกันพบว่าพื้นที่คุ้มครองทั้งสามแห่ง มีชุมชน
ประชิดขอบป่าโดยชุมชนส่วนใหญ่ล้วนมีการพึ่งพิงทรัพยากรจากป่าในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งเป็น
พื้นที่แนวเขตกันชน และบางส่วนเข้าไปใช้ทรัพยากรในพื้นที่คุ้มครอง
โครงการสารวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่
เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่
กลุ่มป่าตะวันตก เป็นการศึกษาข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสารวจประชาชน ที่เป็นตัวแทน
ครัวเรือน ข้อมูลประกอบด้วย เศรษฐสังคม ประเมินมูลค่าการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในพื้นที่ป่าไม้
ความคิดเห็นต่อการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ โดยผสมผสานแนวทางการปลูกจิตสานึกให้ชุมชนมี
สานึกรักษ์ป่า ฐานข้อมูลที่ได้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดการพื้นที่คุ้มครองและสร้างเสริม
พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนต่อไป
2
วัตถุประสงค์
1. เพื่อทราบถึงข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนลักษณะรูปแบบ และมูลค่าการใช้
ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชน
บริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก
2. เพื่อประเมินองค์ความรู้และทัศนคติต่อการจัดการป่าแนวกันชนอย่างยั่งยืนของราษฎร
ในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก
นิยามศัพท์
ชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก หมายถึง หมู่บ้านที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร
ด้านทิศตะวันออก จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง รวมจานวน 46 หมู่บ้าน (จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติคลองลาน
จานวน13 หมู่บ้าน จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จานวน 16 หมู่บ้าน และจากแนวเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จานวน 17 หมู่บ้าน)
ทัศนคติ หมายถึง แนวความคิดที่เห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
ที่บุคคลแสดงออกจากการตอบคาถาม
การพึ่งพิงทรัพยากร หมายถึง การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางตรงและทางอ้อม
รวมทั้งการเก็บหาผลผลิตจากป่า หรือของป่ามาใช้ประโยชน์ เช่น เห็ด ผักหวาน ผลไม้ป่า พืชผักป่า
สมุนไพร หน่อไม้ และผลผลิตจากป่าชนิดอื่นๆ รวมถึงสัตว์ป่าขนาดเล็ก เช่น แย้ กิ้งก่า จิ้งหรีด
แมลงและผลผลิตของแมลง เป็นต้น
3
การตรวจเอกสาร
โครงการสารวจประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่
เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน
อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่
กลุ่มป่าตะวันตก ผู้ศึกษาทาการตรวจเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเด็นต่างๆ ดังนี้
1. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับป่าและการใช้ประโยชน์จากป่า
2. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับประโยชน์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้
3. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
4. แนวความคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
5. พื้นที่ศึกษา
6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับป่าและการใช้ประโยชน์จากป่า
1. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับป่า
ทิพย์ทิวา และคณะ (2555) กล่าวว่า ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ประกอบไปด้วยสังคม
ของต้นไม้และสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ตลอดจนทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในสังคมนั้น ที่มีผลให้ป่านั้นสามารถ
อานวยประโยชน์ในทุกๆ ด้าน ที่จาเป็นแก่สังคมมนุษย์ได้ จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ
สังคมป่านั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ หรือกล่าวได้ว่า คนกับป่ามีความสัมพันธ์และมีความผูกพันกัน
คนต้องพึ่งพิงอาศัยป่าเป็นแหล่งปัจจัยสี่ในการดารงชีวิตของตน จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าป่ามี
ความสาคัญ และเป็นหัวใจหลักของสิ่งแวดล้อมต่างๆ มากมาย ซึ่งป่ามีความเชื่อมโยงกับทรัพยากร
น้า ดิน อากาศ และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ป่าไม้มีคุณค่าและให้ความสาคัญทั้งประโยชน์ทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะประโยชน์
ทางอ้อมนั้น บางท่านอาจจะนึกไม่ถึงผลประโยชน์เหล่านั้น นิวัติ (2546) อ้างโดย ทิพย์ทิวา
และคณะ (2555)
4
2. การใช้ประโยชน์จากป่า
1. ประโยชน์ทางตรงของป่าไม้ ประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับโดยทางตรงจากป่าไม้ มีอยู่มากมาย
หลายอย่างปัจจัยสี่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ล้วนได้จากป่าทั้งสิ้น ประโยชน์ทางตรง
ของป่า มีดังนี้
1.1 ไม้ ไม้เป็นผลผลิตจากป่าที่รู้จักกันดีกว่าผลผลิตชนิดอื่น ๆ และนิยมใช้กันอย่าง
แพร่หลาย ตั้งแต่โบราณกาล เนื่องจากมีราคาถูก น้าหนักเบา และมีคุณสมบัติเหมาะสมสะดวก
ในการใช้สอยกว่าสิ่งอื่น เช่น เหล็กหรือซีเมนต์ ปัจจุบันนี้ราคาไม้ทวีความสูงขึ้นเป็นอันมาก มนุษย์
ได้คิดค้นสิ่งอื่นมาใช้แทนไม้ เช่น พลาสติก เหล็ก อะลูมิเนียม แต่เนื่องจากไม้มีคุณสมบัติเฉพาะตัว
ซึ่งบางครั้งใช้สิ่งอื่นแทนไม่ได้ ไม้จึงยังคงเป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวาง ได้มีการใช้กันมากในการ
สร้างบ้าน ทาเครื่องเรือน และการก่อสร้างอื่นๆ เช่น การทาสะพาน ทารถ ต่อเรือ ทาเครื่องมือ-
การประกอบการเกษตร การประมงและทาเครื่องกีฬาต่างๆ เป็นต้น
1.2 เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ได้จากป่า คือ ฟืนและถ่าน ซึ่งใช้ในการหุงต้ม และใช้ใน
โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ รวมทั้งเชื้อเพลิงชนิด nitrated cellulose ที่ใช้กับจรวด
1.3 วัตถุเคมี วัตถุเคมีที่สาคัญ ได้แก่ เซลลโลสและลิกนิน เซลลูโลสใช้มากในการ
ทากระดาษ ไหมเทียม (rayon) วัตถุระเบิด น้าตาล แอลกอฮอลและยีสต์ และอาจทาเป็นอาหารสัตว์
ก็ได้ ส่วนลิกนินใช้ในการทาวนิลา ทาน้าหอม และเครื่องสาอางต่าง ๆ ยาถนอมอาหารไม่ให้บูดเน่า
และยารักษาโรคผิวหนัง ถ้าเอาไปกลั่นในเตาอบก็จะได้กรดอาซีติค น้ามันดิน และเอ็ดทิล-
แอลกอฮอล์ ซึ่งใช้ในการอุตสาหกรรมต่าง ๆ
1.4 อาหาร มนุษย์ได้อาหารหลายอย่างจากป่า เช่น ดอก ผล ใบ เมล็ด ของพันธุ์ไม้
ต่างๆ หน่อไม้ มันต่างๆ และอาหารที่ได้จากสัตว์ป่า รวมทั้งนก สัตว์เลื้อยคลาน และแมลงต่างๆ
เช่น ผึ้ง เป็นต้น
1.5 ยารักษาโรค ยารักษาโรคที่ได้จากป่าที่สาคัญมี สมุนไพรต่างๆ ยารักษาโรคเรื้อน
จากน้ามันของกระเบา ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงจากรากของต้นระย่อม ยารักษาโรคหัวใจจาก
เมล็ดของต้นแสลงใจ ยากาจัดแมลงและเบื่อปลาจากต้นหางไหล เป็นต้น
5
1.6 เส้นใย เส้นใยที่ได้จากป่ามีหลายชนิด เช่น เส้นใยจากเปลือกไม้ต่างๆ และจาก
เถาวัลย์หลากหลายชนิด เป็นต้น
1.7 ชัน น้ามัน และยางไม้ ชัน (resin) ที่ได้จากป่าสาคัญมี ชันตะเคียนตาแมว
(Dammar) ที่ได้จากต้นตะเคียนชันตาแมว (Balanocarpus heimii King) และชันกระบาก ใช้ทา
น้ามันชักเงา ยางรักใช้ในการทาเครื่องเขิน กายานใช้ในการทาเครื่องหอมและทายา ยางสนใช้ใน
การทายา ทาน้ามันผสมสี ทาสบู่ และยาขัดรองเท้า เป็นต้น น้ามันไม้ (wood - oil) ได้จากน้ามัน
จากต้นยาง เหียง กราด เป็นต้น ซึ่งใช้ในการทาใต้ ชันยาเรือ และทาบ้านเรือน ยางไม้ (gum)
ที่สาคัญคือยางเยลูตง ใช้ในการทาหมากฝรั่ง และยางขนุนนกใช้ในการหุ้มสายเคเบิ้ลใต้น้า เป็นต้น
1.8 ฝาดฟอกหนังและสี พันธุ์ไม้ในป่ามีหลายชนิดที่เปลือก แก่น หรือผลนามาใช้ทา
ฝาด (tannin) ฟอกหนังได้ดี เช่น เปลือกก่อ โกงกาง โปรง คูณ กระถินพิมาน แก่นสีเสียด ผลสมอ
ไทยและสมอพิเภก เป็นต้น ส่วนสีก็อาจได้มาจากแก่น ชัน และผลของพันธุ์ไม้บางชนิด เช่น แก่น
ของไม้แกแล ชันจากต้นรง และผลจากต้นคาปา เป็นต้น
1.9 อาหารสัตว์ มนุษย์ได้ใช้ป่าเป็นที่เลี้ยงสัตว์และเป็นแหล่งอาหารสาหรับเลี้ยงสัตว์
มาช้านาน เพราะในป่ามีหญ้า ใบไม้ เปลือกไม้ ผลและเมล็ดที่สัตว์ชอบกินอยู่มากมายหลายชนิด
1.10 ทาให้มนุษย์มีอาชีพ ป่าไม้และผลผลิตจากป่าสามารถทาให้มนุษย์มีอาชีพ
หลายอย่าง ดังจะเห็นได้ว่ามีคนจานวนถึงร้อยละ 0.5 ของประชากรโลกที่มีอาชีพเกี่ยวกับป่าไม้
อาชีพดังกล่าวนี้ได้แก่ อาชีพตัดไม้ ขนส่งไม้ เก็บของป่า พ่อค้าไม้ โรงงานทากระดาษ
ทาเฟอร์นิเจอร์ เผาถ่าน เป็นต้น อาชีพเหล่านี้ล้วนเกิดจากป่าทั้งสิ้น
1.11 ทารายได้ให้กับประเทศชาติ เนื่องจากไม้และผลผลิตจากป่าล้วนเป็นทรัพยากร
ที่มีคุณค่า และมีราคา สามารถที่จะทารายได้ให้กับประเทศในปีหนึ่งๆ จานวนไม่น้อย เช่นเดียวกับ
ทรัพยากรชนิดอื่นๆ รายได้ที่ได้จากป่านั้นจะทารายได้ให้กับประเทศได้ 2 ทาง คือ ทางตรงได้แก่
เงินตราที่ได้จากการขายไม้และผลผลิตจากไม้ และทางอ้อม คือ รายได้จากภาษีอาการในการค้าไม้
และผลผลิตจากไม้
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP
NTFP

More Related Content

What's hot

ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์Marinshy Marin
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์chakaew4524
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนChittraporn Phalao
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์Wichai Likitponrak
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์Yosiri
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงNew Oil
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานHero Siamza
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)พัน พัน
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้BoomCNC
 

What's hot (20)

ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
หัวข้อที่ ๑ ความหมายของประวัติศาสตร์
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผนแผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
แผนผังความสัมพันธ์ของตัวละครเรื่อง ขุนช้างขุนแผน
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์เทคโนDnaลายพิมพ์
เทคโนDnaลายพิมพ์
 
กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์กฎหมายลิขสิทธิ์
กฎหมายลิขสิทธิ์
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
การแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation)
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
ผลิตภัณฑ์ขัดรองเท้าจากเปลือกผลไม้
 

Similar to NTFP

รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตyah2527
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยUNDP
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ UNDP
 

Similar to NTFP (9)

รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่
 

More from yah2527

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Areayah2527
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...yah2527
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกyah2527
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกyah2527
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลyah2527
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์yah2527
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งานyah2527
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพyah2527
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าyah2527
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวyah2527
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกyah2527
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspayah2527
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีyah2527
 
Pa system plan
Pa system planPa system plan
Pa system planyah2527
 
Prof jeff catspa
Prof jeff catspaProf jeff catspa
Prof jeff catspayah2527
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาyah2527
 

More from yah2527 (20)

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Area
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 
Pa system plan
Pa system planPa system plan
Pa system plan
 
Prof jeff catspa
Prof jeff catspaProf jeff catspa
Prof jeff catspa
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 

NTFP

  • 1. โครงการสารวจประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก (ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง : CATSPA) ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก ส่วนวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ สานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พ.ศ. 2559
  • 2. ที่ปรึกษา ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง ผู้ตรวจราชการกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช หัวหน้าอุทยานแห่งชาติคลองลาน หัวหน้าอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง คณะทางานภาคสนาม คมเชษฐา จรุงพันธ์ หัวหน้าคณะทางาน คมกริช เศรษบุบผา คณะทางาน หทัยรัตน์ นุกูล คณะทางาน ศศิพัทน์ สุวรรณมีระ คณะทางาน บุญส่ง ม่วงศรี คณะทางานและเลขานุการ ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก นวรัตน์ คงชีพยืน สุวัฒน์ คงชีพยืน ต้น แรงมาก ทิพย์สุดา จันทะยุทธ อุทยานแห่งชาติคลองลาน เจริญ มโนมัย ปานทิพย์ โพทอง อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ สมทราย ฤาชา เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง อุทัย จันทร์เกตุ
  • 3. ศูนย์วิจัยและพัฒนานวัตกรรมอุทยานแห่งชาติ จังหวัดพิษณุโลก 2559 : โครงการสารวจ ประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก (ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการ พื้นที่คุ้มครอง : CATSPA) การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนลักษณะ รูปแบบ และมูลค่าการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) พร้อมประเมินองค์ความรู้และทัศนคติต่อการจัดการป่าแนวกันชนอย่างยั่งยืนของราษฎรในชุมชน บริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก โดยใช้แบบสารวจเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ของประชาชน ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างไม่น้อยกว่า ร้อยละ 10 ของจานวนประชากร โดยมีระยะเวลาในการศึกษา ในระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤศจิกายน 2559 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงซึ่งเป็นหัวหน้าครัวเรือน สถานภาพ สมรส อายุเฉลี่ย 50 ปี มีการศึกษาระดับประถมต้น (ป.1-ป.4) จานวนสมาชิกเฉลี่ย 4 คนต่อครอบครัว อาศัยอยู่ในชุมชนมากกว่า 25 ปี โดยมาอยู่เพราะต้องการที่ดินทากิน และย้ายตามเพื่อนบ้านและญาติ พี่น้อง ประกอบอาชีพเกษตรกรรมและรับจ้างทั่วไป รายได้สุทธิเฉลี่ย 92,388.01 บาทต่อปี ลักษณะการพึ่งพิง รูปแบบการใช้ประโยชน์ ชนิด และปริมาณ ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของกลุ่มตัวอย่าง พบ 16 รูปแบบ ซึ่งสามารถประเมินมูลค่าโดยรวมของผลผลิตจากป่าที่ชุมชนใช้ประโยชน์ เพื่อการบริโภคได้เป็นมูลค่า เท่ากับ 2,061,309 บาท และเพื่อจาหน่าย เป็นมูลค่าเท่ากับ 8,893,904 บาท มูลค่ารวมเท่ากับ 10,955,213 บาท คิดเป็นมูลค่าเฉลี่ยเท่ากับ 8,538.75 บาท/ครัวเรือน/ปี ผลการประเมินความรู้ โดยเฉลี่ยร้อยละ 95.5 มีความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง คาสาคัญ: อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ การพึ่งพิงทรัพยากร
  • 4. (1) สารบัญ หน้า สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (10) คานา 1 วัตถุประสงค์ 2 การตรวจเอกสาร 3 อุปกรณ์และวิธีการ 78 อุปกรณ์ 78 วิธีการ 79 ผลและวิจารณ์ 88 ผล 88 วิจารณ์ 174 สรุปและข้อเสนอแนะ 213 สรุป 213 ข้อเสนอแนะ 220 เอกสารและสิ่งอ้างอิง 221 ภาคผนวก 223 ภาคผนวก ก แบบสารวจ 224 ภาคผนวก ข ภาพกิจกรรม 245
  • 5. (2) สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 จานวนครัวเรือนและขนาดกลุ่มตัวอย่างแยกตามหมู่บ้าน ท้องที่ อาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร 85 2 จานวนครัวเรือนและขนาดกลุ่มตัวอย่างแยกตามหมู่บ้าน ท้องที่ อาเภอปางศิลาทอง และอาเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกาแพงเพชร อาเภอแม่วงก์ และอาเภอแม่เปิน จังหวัดนครสวรรค์ 86 3 จานวนครัวเรือนและขนาดกลุ่มตัวอย่างแยกตามหมู่บ้าน ท้องที่ อาเภอลานสัก อาเภอห้วยคต และอาเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี 87 4 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคมของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 91 5 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 103 6 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 104 7 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน ใน 13 หมู่บ้าน จานวน 325 ครัวเรือน 106
  • 6. (3) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 8 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 16 หมู่บ้าน จานวน 236 ครัวเรือน 107 9 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 17 หมู่บ้าน จานวน 167 ครัวเรือน 108 10 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 109 11 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 114 12 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 115
  • 7. (4) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 13 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน ใน 2 หมู่บ้าน จานวน 6 ครัวเรือน และ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่ อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 5 หมู่บ้าน จานวน 14 ครัวเรือน 117 14 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 15 หมู่บ้าน จานวน 151 ครัวเรือน 118 15 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 119 16 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 124 17 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 29 หมู่บ้าน จานวน 184 ครัวเรือน 125
  • 8. (5) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 18 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติ คลองลาน ใน 6 หมู่บ้าน จานวน 14 ครัวเรือน และของราษฎรในชุมชนที่อยู่ ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 10 หมู่บ้าน จานวน 82 ครัวเรือน 127 19 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 12 หมู่บ้าน จานวน 87 ครัวเรือน 128 20 ปริมาณการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 129 21 ผลการประเมินความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 153 22 จานวนข้อที่ตอบถูก ค่าคะแนน และผลการประเมิน ความรู้ด้านการอนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 155 23 สรุปผลการประเมิน ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการ พื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 156
  • 9. (6) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 24 ความคิดเห็นของประชาชนด้านการจัดตั้งและการดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 159 25 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการกาหนดมาตรการในการอนุรักษ์ และ การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 163 26 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการบริหารจัดการพื้นที่ป่าแบบมีส่วนร่วม ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 168 27 ความคิดเห็นของประชาชนต่อการจัดการป่าแนวกันชนและป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 172 28 จานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 177
  • 10. (7) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 29 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ และจานวนครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และ ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 181 30 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการบริโภค ของราษฎรในชุมชน ที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 188 31 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 189 32 รวมชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 190 33 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อการบริโภค ของราษฎรในชุมชน ที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 193
  • 11. (8) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 34 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 194 35 รวมชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 195 36 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน เพื่อการบริโภค ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 198 37 ชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ใน รัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 199 38 รวมชนิด ปริมาณ และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 38
  • 12. (9) สารบัญตาราง (ต่อ) ตารางที่ หน้า 39 รวมชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎร ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 203 40 สรุปมูลค่าการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน เพื่อการบริโภค และจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 205 41 ผลการประเมิน ความรู้ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้และการจัดการ พื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 209
  • 13. (10) สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 องค์ประกอบของมูลค่าทั้งหมดทางเศรษฐกิจของทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 13 2 จุดที่ตั้งที่ทาการอุทยานแห่งชาติคลองลานและหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ 33 3 เขตการปกครองในพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน และหน่วยพิทักษ์ อุทยานแห่งชาติ 34 4 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน และชุมชนข้างเคียง 35 5 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 36 6 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 37 7 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 38 8 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 39 9 จุดที่ตั้งที่ทาการอุทยานแห่งชาติแม่วงก์และหน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ 43 10 เขตการปกครองในพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และหน่วยพิทักษ์ อุทยานแห่งชาติ 44 11 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และชุมชนข้างเคียง 45 12 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 46 13 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 47 14 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 48 15 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน 49 16 จุดที่ตั้งที่ทาการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งและหน่วยพิทักษ์ป่า 57 17 เขตการปกครองในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และหน่วยพิทักษ์ป่า 58 18 ระดับความสูงของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และชุมชนข้างเคียง 59 19 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 60 20 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 61 21 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 62 22 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 63
  • 14. (11) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 23 จุดที่ตั้งที่ทาการอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ และหน่วยพิทักษ์ป่า 64 24 เขตการปกครองในพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ และ หน่วยพิทักษ์ป่า 65 25 ระดับความสูงของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง และชุมชนข้างเคียง 66 26 ลักษณะทางธรณีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 67 27 ลักษณะทางปฐพีวิทยาของพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 68 28 ชั้นคุณภาพลุ่มน้าบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 69 29 สังคมพืชและการใช้ประโยชน์ที่ดินบริเวณพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 70 30 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติคลองลาน จานวน 13 หมู่บ้าน 72 31 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จานวน 16 หมู่บ้าน 74 32 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง จานวน 17 หมู่บ้าน 76 33 ชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครองทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จานวน 46 หมู่บ้าน 77
  • 15. (12) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 34 การกระจายของครัวเรือนกลุ่มตัวอย่างในชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 97 35 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครองของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 105 36 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 116 37 ลักษณะรูปแบบการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 29 หมู่บ้าน จานวน 184 ครัวเรือน 126 38 ปัจจัยด้านทิศด้านลาดในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 131 39 ปัจจัยด้านความสูงจากระดับน้าทะเลในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 132 40 ปัจจัยด้านความลึกดินในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 133 41 ปัจจัยด้านการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 134
  • 16. (13) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 42 ปัจจัยด้านความลาดเอียงของพื้นที่ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 135 43 ปัจจัยด้านระห่างจากลาน้าในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 136 44 ปัจจัยด้านเนื้อดินในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 137 45 จุดพิกัดการปรากฏของ หน่อไม้ เห็ดโคน ผักหวาน และเห็ดเผาะ ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน 138 46 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของหน่อไม้ และค่า AUC = 0.954 139 47 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของเห็ดโคน และค่า AUC = 0.949 139 48 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของเห็ดเผาะ และค่า AUC = 0.970 140 49 ค่า Receiver operating characteristic (ROC) ของผักหวาน และค่า AUC = 0.981 140 50 แนวโน้มการกระจายของหน่อไม้ 141 51 แนวโน้มการกระจายของเห็ดโคน 142 52 แนวโน้มการกระจายของเห็ดเผาะ 143 53 แนวโน้มการกระจายของผักหวาน 144 54 จานวน และร้อยละ ของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติ แม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 178
  • 17. (14) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 55 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 184 56 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 184 57 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 29 หมู่บ้าน จานวน 184 ครัวเรือน 185 58 ลักษณะรูปแบบ และจานวนของครัวเรือนที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่า ที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และ ป่าชุมชน ของราษฎรชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 185 59 ที่ตั้งของชุมชน 46 หมู่บ้าน ที่ใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรชุมชน ที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง 186 60 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 728 ครัวเรือน 191
  • 18. (15) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ หน้า 61 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าสงวนแห่งชาติ ของราษฎร ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 22 หมู่บ้าน จานวน 171 ครัวเรือน 196 62 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าชุมชน ของราษฎร ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วยพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 28 หมู่บ้าน จานวน 183 ครัวเรือน 201 63 ชนิด และมูลค่า การใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎร ในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 204 64 สรุปมูลค่าการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ ป่าในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน เพื่อการบริโภค และจาหน่าย ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต พื้นที่คุ้มครอง ทั้ง 3 แห่ง ประกอบด้วย พื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 206 65 ค่าคะแนน และผลการประเมินระดับความรู้ ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่ อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน จานวน 1,283 ครัวเรือน 210
  • 19. (16) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพผนวกที่ หน้า ข1 สารวจรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน โดยการใช้แบบสารวจสภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ทัศนคติ และประเมินมูลค่า การพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชนอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก จากตัวแทนครัวเรือนชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติคลองลาน อาเภอคลองลาน จังหวัดกาแพงเพชร 13 หมู่บ้าน จานวน 435 ครัวเรือน 246 ข2 สารวจรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน โดยการใช้แบบสารวจ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ทัศนคติ และประเมินมูลค่า การ พึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชนอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก จากตัวแทนครัวเรือนชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ ใน 16 หมู่บ้าน จานวน 428 ครัวเรือน 247 ข3 สารวจรวบรวมข้อมูลความคิดเห็นของประชาชน โดยการใช้แบบสารวจ สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การมีส่วนร่วม ทัศนคติ และประเมินมูลค่า การ พึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ของราษฎรในชุมชน บริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชนอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยาน แห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก จากตัวแทนครัวเรือนชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 17 หมู่บ้าน จานวน 420 ครัวเรือน 248 ข4 สภาพทั่วไปของชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต อุทยานแห่งชาติคลองลาน 249 ข5 สภาพทั่วไปของชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ 250
  • 20. (17) สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพผนวกที่ หน้า ข6 สภาพทั่วไปของชุมชนที่อยู่ในระยะรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขต เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 251 ข7 ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ (NTFP) ในพื้นที่ป่า ในพื้นที่คุ้มครอง ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าชุมชน ของราษฎรในชุมชนที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ใน 46 หมู่บ้าน 252 ข8 จับพิกัดการปรากฏของผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ เพื่อจัดทาแผนที่ แนวโน้มการกระจาย 255 ข9 แสดงเส้นทางเข้าถึงการเก็บหาผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ในพื้นที่อุทยาน แห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง 256 ข10 เส้นทางเข้าถึงการเก็บหาผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ คลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง 257
  • 21. 1 โครงการสารวจประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก (ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง : CATSPA) คานา ด้วยอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง เป็นพื้นที่คุ้มครองนาร่อง ของโครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (CATSPA) ซึ่งเป็นโครงการที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ร่วมกับสานักงานโครงการ พัฒนาแห่งสหประชาชาติ (United Nations Development Program : UNDP) เพื่อศึกษาความ เป็นไปได้ในการปรับปรุงระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (Protected Area) ของประเทศไทยในอนาคต สภาพโดยรวมของพื้นที่คุ้มครองทั้งสามแห่งมีระบบนิเวศทางธรรมชาติป่าไม้ และสัตว์ป่าที่ สาคัญ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มป่าตะวันตก ในขณะเดียวกันพบว่าพื้นที่คุ้มครองทั้งสามแห่ง มีชุมชน ประชิดขอบป่าโดยชุมชนส่วนใหญ่ล้วนมีการพึ่งพิงทรัพยากรจากป่าในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ซึ่งเป็น พื้นที่แนวเขตกันชน และบางส่วนเข้าไปใช้ทรัพยากรในพื้นที่คุ้มครอง โครงการสารวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่ เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่ กลุ่มป่าตะวันตก เป็นการศึกษาข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสารวจประชาชน ที่เป็นตัวแทน ครัวเรือน ข้อมูลประกอบด้วย เศรษฐสังคม ประเมินมูลค่าการใช้ประโยชน์ทรัพยากรในพื้นที่ป่าไม้ ความคิดเห็นต่อการดาเนินงานของเจ้าหน้าที่ โดยผสมผสานแนวทางการปลูกจิตสานึกให้ชุมชนมี สานึกรักษ์ป่า ฐานข้อมูลที่ได้ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในการจัดการพื้นที่คุ้มครองและสร้างเสริม พัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชน ในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนต่อไป
  • 22. 2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทราบถึงข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม ตลอดจนลักษณะรูปแบบ และมูลค่าการใช้ ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชน บริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก 2. เพื่อประเมินองค์ความรู้และทัศนคติต่อการจัดการป่าแนวกันชนอย่างยั่งยืนของราษฎร ในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก นิยามศัพท์ ชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันตก หมายถึง หมู่บ้านที่อยู่ในรัศมี 3 กิโลเมตร ด้านทิศตะวันออก จากแนวเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง รวมจานวน 46 หมู่บ้าน (จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติคลองลาน จานวน13 หมู่บ้าน จากแนวเขตอุทยานแห่งชาติแม่วงก์ จานวน 16 หมู่บ้าน และจากแนวเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จานวน 17 หมู่บ้าน) ทัศนคติ หมายถึง แนวความคิดที่เห็นด้วย หรือไม่เห็นด้วยต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ที่บุคคลแสดงออกจากการตอบคาถาม การพึ่งพิงทรัพยากร หมายถึง การใช้ประโยชน์ทรัพยากรธรรมชาติทั้งทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งการเก็บหาผลผลิตจากป่า หรือของป่ามาใช้ประโยชน์ เช่น เห็ด ผักหวาน ผลไม้ป่า พืชผักป่า สมุนไพร หน่อไม้ และผลผลิตจากป่าชนิดอื่นๆ รวมถึงสัตว์ป่าขนาดเล็ก เช่น แย้ กิ้งก่า จิ้งหรีด แมลงและผลผลิตของแมลง เป็นต้น
  • 23. 3 การตรวจเอกสาร โครงการสารวจประเมินมูลค่าการพึ่งพิงทรัพยากร และการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่ เนื้อไม้ NTFP (Non Timber Forest Products) ของราษฎรในชุมชนบริเวณพื้นที่ป่าแนวกันชน อุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในพื้นที่ กลุ่มป่าตะวันตก ผู้ศึกษาทาการตรวจเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในประเด็นต่างๆ ดังนี้ 1. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับป่าและการใช้ประโยชน์จากป่า 2. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับประโยชน์จากป่าที่ไม่ใช่เนื้อไม้ 3. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับการประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์ 4. แนวความคิดเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 5. พื้นที่ศึกษา 6. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับป่าและการใช้ประโยชน์จากป่า 1. แนวคิดทางทฤษฎีเกี่ยวกับป่า ทิพย์ทิวา และคณะ (2555) กล่าวว่า ป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ประกอบไปด้วยสังคม ของต้นไม้และสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย ตลอดจนทุกสิ่งทุกอย่างที่อยู่ในสังคมนั้น ที่มีผลให้ป่านั้นสามารถ อานวยประโยชน์ในทุกๆ ด้าน ที่จาเป็นแก่สังคมมนุษย์ได้ จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์ของมนุษย์กับ สังคมป่านั้นไม่สามารถแยกออกจากกันได้ หรือกล่าวได้ว่า คนกับป่ามีความสัมพันธ์และมีความผูกพันกัน คนต้องพึ่งพิงอาศัยป่าเป็นแหล่งปัจจัยสี่ในการดารงชีวิตของตน จากที่กล่าวมาจะเห็นได้ว่าป่ามี ความสาคัญ และเป็นหัวใจหลักของสิ่งแวดล้อมต่างๆ มากมาย ซึ่งป่ามีความเชื่อมโยงกับทรัพยากร น้า ดิน อากาศ และสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ป่าไม้มีคุณค่าและให้ความสาคัญทั้งประโยชน์ทางตรงและทางอ้อม โดยเฉพาะประโยชน์ ทางอ้อมนั้น บางท่านอาจจะนึกไม่ถึงผลประโยชน์เหล่านั้น นิวัติ (2546) อ้างโดย ทิพย์ทิวา และคณะ (2555)
  • 24. 4 2. การใช้ประโยชน์จากป่า 1. ประโยชน์ทางตรงของป่าไม้ ประโยชน์ที่มนุษย์ได้รับโดยทางตรงจากป่าไม้ มีอยู่มากมาย หลายอย่างปัจจัยสี่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ล้วนได้จากป่าทั้งสิ้น ประโยชน์ทางตรง ของป่า มีดังนี้ 1.1 ไม้ ไม้เป็นผลผลิตจากป่าที่รู้จักกันดีกว่าผลผลิตชนิดอื่น ๆ และนิยมใช้กันอย่าง แพร่หลาย ตั้งแต่โบราณกาล เนื่องจากมีราคาถูก น้าหนักเบา และมีคุณสมบัติเหมาะสมสะดวก ในการใช้สอยกว่าสิ่งอื่น เช่น เหล็กหรือซีเมนต์ ปัจจุบันนี้ราคาไม้ทวีความสูงขึ้นเป็นอันมาก มนุษย์ ได้คิดค้นสิ่งอื่นมาใช้แทนไม้ เช่น พลาสติก เหล็ก อะลูมิเนียม แต่เนื่องจากไม้มีคุณสมบัติเฉพาะตัว ซึ่งบางครั้งใช้สิ่งอื่นแทนไม่ได้ ไม้จึงยังคงเป็นที่นิยมกันอย่างกว้างขวาง ได้มีการใช้กันมากในการ สร้างบ้าน ทาเครื่องเรือน และการก่อสร้างอื่นๆ เช่น การทาสะพาน ทารถ ต่อเรือ ทาเครื่องมือ- การประกอบการเกษตร การประมงและทาเครื่องกีฬาต่างๆ เป็นต้น 1.2 เชื้อเพลิง เชื้อเพลิงที่ได้จากป่า คือ ฟืนและถ่าน ซึ่งใช้ในการหุงต้ม และใช้ใน โรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ รวมทั้งเชื้อเพลิงชนิด nitrated cellulose ที่ใช้กับจรวด 1.3 วัตถุเคมี วัตถุเคมีที่สาคัญ ได้แก่ เซลลโลสและลิกนิน เซลลูโลสใช้มากในการ ทากระดาษ ไหมเทียม (rayon) วัตถุระเบิด น้าตาล แอลกอฮอลและยีสต์ และอาจทาเป็นอาหารสัตว์ ก็ได้ ส่วนลิกนินใช้ในการทาวนิลา ทาน้าหอม และเครื่องสาอางต่าง ๆ ยาถนอมอาหารไม่ให้บูดเน่า และยารักษาโรคผิวหนัง ถ้าเอาไปกลั่นในเตาอบก็จะได้กรดอาซีติค น้ามันดิน และเอ็ดทิล- แอลกอฮอล์ ซึ่งใช้ในการอุตสาหกรรมต่าง ๆ 1.4 อาหาร มนุษย์ได้อาหารหลายอย่างจากป่า เช่น ดอก ผล ใบ เมล็ด ของพันธุ์ไม้ ต่างๆ หน่อไม้ มันต่างๆ และอาหารที่ได้จากสัตว์ป่า รวมทั้งนก สัตว์เลื้อยคลาน และแมลงต่างๆ เช่น ผึ้ง เป็นต้น 1.5 ยารักษาโรค ยารักษาโรคที่ได้จากป่าที่สาคัญมี สมุนไพรต่างๆ ยารักษาโรคเรื้อน จากน้ามันของกระเบา ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงจากรากของต้นระย่อม ยารักษาโรคหัวใจจาก เมล็ดของต้นแสลงใจ ยากาจัดแมลงและเบื่อปลาจากต้นหางไหล เป็นต้น
  • 25. 5 1.6 เส้นใย เส้นใยที่ได้จากป่ามีหลายชนิด เช่น เส้นใยจากเปลือกไม้ต่างๆ และจาก เถาวัลย์หลากหลายชนิด เป็นต้น 1.7 ชัน น้ามัน และยางไม้ ชัน (resin) ที่ได้จากป่าสาคัญมี ชันตะเคียนตาแมว (Dammar) ที่ได้จากต้นตะเคียนชันตาแมว (Balanocarpus heimii King) และชันกระบาก ใช้ทา น้ามันชักเงา ยางรักใช้ในการทาเครื่องเขิน กายานใช้ในการทาเครื่องหอมและทายา ยางสนใช้ใน การทายา ทาน้ามันผสมสี ทาสบู่ และยาขัดรองเท้า เป็นต้น น้ามันไม้ (wood - oil) ได้จากน้ามัน จากต้นยาง เหียง กราด เป็นต้น ซึ่งใช้ในการทาใต้ ชันยาเรือ และทาบ้านเรือน ยางไม้ (gum) ที่สาคัญคือยางเยลูตง ใช้ในการทาหมากฝรั่ง และยางขนุนนกใช้ในการหุ้มสายเคเบิ้ลใต้น้า เป็นต้น 1.8 ฝาดฟอกหนังและสี พันธุ์ไม้ในป่ามีหลายชนิดที่เปลือก แก่น หรือผลนามาใช้ทา ฝาด (tannin) ฟอกหนังได้ดี เช่น เปลือกก่อ โกงกาง โปรง คูณ กระถินพิมาน แก่นสีเสียด ผลสมอ ไทยและสมอพิเภก เป็นต้น ส่วนสีก็อาจได้มาจากแก่น ชัน และผลของพันธุ์ไม้บางชนิด เช่น แก่น ของไม้แกแล ชันจากต้นรง และผลจากต้นคาปา เป็นต้น 1.9 อาหารสัตว์ มนุษย์ได้ใช้ป่าเป็นที่เลี้ยงสัตว์และเป็นแหล่งอาหารสาหรับเลี้ยงสัตว์ มาช้านาน เพราะในป่ามีหญ้า ใบไม้ เปลือกไม้ ผลและเมล็ดที่สัตว์ชอบกินอยู่มากมายหลายชนิด 1.10 ทาให้มนุษย์มีอาชีพ ป่าไม้และผลผลิตจากป่าสามารถทาให้มนุษย์มีอาชีพ หลายอย่าง ดังจะเห็นได้ว่ามีคนจานวนถึงร้อยละ 0.5 ของประชากรโลกที่มีอาชีพเกี่ยวกับป่าไม้ อาชีพดังกล่าวนี้ได้แก่ อาชีพตัดไม้ ขนส่งไม้ เก็บของป่า พ่อค้าไม้ โรงงานทากระดาษ ทาเฟอร์นิเจอร์ เผาถ่าน เป็นต้น อาชีพเหล่านี้ล้วนเกิดจากป่าทั้งสิ้น 1.11 ทารายได้ให้กับประเทศชาติ เนื่องจากไม้และผลผลิตจากป่าล้วนเป็นทรัพยากร ที่มีคุณค่า และมีราคา สามารถที่จะทารายได้ให้กับประเทศในปีหนึ่งๆ จานวนไม่น้อย เช่นเดียวกับ ทรัพยากรชนิดอื่นๆ รายได้ที่ได้จากป่านั้นจะทารายได้ให้กับประเทศได้ 2 ทาง คือ ทางตรงได้แก่ เงินตราที่ได้จากการขายไม้และผลผลิตจากไม้ และทางอ้อม คือ รายได้จากภาษีอาการในการค้าไม้ และผลผลิตจากไม้