SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
Download to read offline
ความหมาย
ความสาคัญ
องค์ประกอบ
กระบวนการ
กระบวนการพัฒนา
ผู้รู้สารสนเทศ
• การรู้สารสนเทศเป็นเครื่องมือทางปัญญาในการเรียนรู้
• ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ตลอดชีวิต
• ผู้เรียนสามารถเข้าถึง ประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ และนาเสนอสารสนเทศได้
• จัดการสารสนเทศในสิ่งแวดล้อมที่หลากหลาย และมีคุณธรรม
จริยธรรมในการใช้สารสนเทศ
• อันเป็นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของบัณฑิตในสังคมยุคเศรษฐกิจ
ฐานความรู้
การรู้สารสนเทศช่วยให้นักศึกษากลายเป็นผู้เรียนที่
มีความเป็นอิสระทางปัญญา
ผู้รู้สารสนเทศ คือ ผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต
(เป็นบุคคลที่รู้ว่าจะเรียนรู้ได้อย่างไร)
ความหมาย
• มาจากภาษาอังกฤษว่า Information Literacy
• บางตารา เรียก ทักษะสารสนเทศ (Information Skills)
ความหมาย
• The Presidential Committee on Information Literacy
defined information literacy as a set of skills, which
require an individual to:
“recognize when information is needed and have
the ability to locate, evaluate, and use
effectively the needed information.”
(The Board of Trustees of the Leland Stanford Junior
University, 2013, para. 2)
ความหมาย
• The Association of College & Research Libraries
(ACRL) defines information literacy as:
“the set of skills needed to find, retrieve,
analyze, and use information.”
Information literacy is “knowing
when and why you need information,
where to find it,
how to evaluate,
use and communicate it in an ethical
manner.”
(CILIP, 2012, para. 2)
ความหมาย
“This definition implies several skills. We believe that the
skills (or competencies) that are required to be
information literate require an understanding of:
• A need for information
• The resources available
• How to find information
• The need to evaluate results
• How to work with or exploit results
• Ethics and responsibility of use
• How to communicate or share your findings
• How to manage your findings”
(CILIP, 2012, para. 3)
ความหมาย
การรู้สารสนเทศ หมายถึง
“ความสามารถของบุคคล ที่เกี่ยวกับสารสนเทศ ในเรื่องต่อไปนี้ คือ
การรู้ถึงความต้องการสารสนเทศ
การวิเคราะห์และรู้แหล่งสารสนเทศที่เหมาะสม
การรู้ถึงวิธีการที่จะเข้าถึงตัวสารสนเทศที่อยู่ในแหล่งสารสนเทศต่างๆ
การประเมินคุณภาพของสารสนเทศที่ได้รับ
การจัดการสารสนเทศ และ
การใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ”
(มหาวิทยาลัยขอนแก่น,2551, น. 8)
ความหมาย
ความหมาย
การรู้สารสนเทศ หมายถึง
“ความสามารถของบุคคลในการระบุความต้องการสารสนเทศของ
ตนเอง
รู้จักใช้เครื่องมือและกระบวนการค้นหาเพื่อระบุแหล่งสารสนเทศ
สามารถประเมิน วิเคราะห์ สังเคราะห์ และใช้สารสนเทศได้
อย่างมีประสิทธิภาพ”
(นฤมลรักษาสุข, ม.ป.ป.)
ความหมาย
• การรู้สารสนเทศ (Information literacy) หมายถึง
“ความรู้ ความสามารถ และทักษะของบุคคล ในการเข้าถึงสารสนเทศ
ประเมินสารสนเทศที่ค้นมาได้ และใช้สารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพทุกรูปแบบ
ผู้รู้สารสนเทศจะต้องมีทักษะในด้านต่างๆ เช่น
ทักษะการคิดวิเคราะห์ และ / หรือการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะการใช้ภาษา
ทักษะการใช้ห้องสมุด
ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ เป็นต้น”
(Pop of Blog, 2550, ย่อหน้า1)
ความหมาย
„ หมายถึง “การรู้ถึงความจาเป็นของสารสนเทศ (ข้อมูลข่าวสาร)
การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
การพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การวิเคราะห์และประเมินสารสนเทศ
การจัดระบบประมวลสารสนเทศ
การประยุกต์ใช้สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจที่มีประสิทธิผลและ
สร้างสรรค์
การสรุปอ้างอิง และ
สื่อสารข่าวสารอย่างมีประสิทธิภาพ
ความเข้าใจและยอมรับในจริยธรรมของข้อมูลข่าวสาร
การพัฒนาเจตคตินาไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต”
(อาชัญญา รัตนอุบล, ม.ป.ป., น. 1)
ความหมาย
ความรู้ ความสามารถของบุคคล ในการ
- ระบุความต้องการสารสนเทศของตนได้
- รู้แหล่งสารสนเทศ และทรัพยากรสารสนเทศ ที่คาดว่าจะให้คาตอบ
- รู้วิธีการค้นหาสารสนเทศจากแหล่งต่างๆ
- รู้วิธีการประเมินคุณค่า และความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ
- จัดการสารสนเทศ และนาเสนอได้ (นาเสนอ: การพูด การเขียน)
- ใช้ประโยชน์สารสนเทศอย่างมีจรรยาบรรณและถูกต้องตามกฎหมาย
ทาให้บุคคลที่รู้สารสนเทศเป็นผู้มีศักยภาพสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองได้ตลอด
ชีวิต
ความสาคัญ
1. การศึกษา
2. การดารงชีวิตประจาวัน
3. การประกอบอาชีพ
4. สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
5. ทาให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
6. เป็นเครื่องมือสาคัญในการเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
(Pop of Blog, 2550)
ความสาคัญ
1. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการศึกษาของบุคคลทุกระดับ
1.1 สนับสนุนการเรียนรู้ของการศึกษาทุกระดับ
โดยเฉพาะที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เพราะผู้เรียนสามารถระบุความความต้องการในการใช้สารสนเทศได้
เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ ประเมิน ‟วิเคราะห์- เรียบเรียง ‟นาเสนอ
สารสนเทศได้ ใช้สารสนเทศอย่างมีจรรยาบรรณและถูกกฎหมาย
ผู้เรียนสามารถใช้สารสนเทศในการแก้ปัญหาการเรียน--ส่วนตัว ตัดสินใจ และ
ดารงชีวิตได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ความสาคัญ
1. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการศึกษาของบุคคลทุกระดับ (ต่อ)
1.2 เป็นแกนการเรียนรู้ของศาสตร์ต่างๆ
เพราะหากเราเป็นผู้รู้สารสนเทศ เราจะรู้ความต้องการสารสนเทศของตนเอง
เข้าถึงแหล่งสารสนเทศ วิเคราะห์ และประเมินสารสนเทศที่มีคุณค่า
เรียบเรียง และนาเสนอสารสนเทศได้อย่างเป็นระบบ
ความสาคัญ
2. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตประจาวัน
เพราะหากเป็นผู้รู้สารสนเทศจะช่วยในการตัดสินใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งอย่างมี
ประสิทธิภาพ เพราะได้อาศัยกระบวนการการรู้สารสนเทศช่วยใน
การวิเคราะห์ และประเมินข้อเท็จจริงต่างๆได้
เช่น กรณีซื้อเครื่องปรับอากาศก็ต้องพิจารณาคุณภาพ มาตรฐาน ราคา และ
บริการหลังการขาย จากนั้นจึงค่อยตัดสินใจซื้อ เป็นต้น
ความสาคัญ
3. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อการประกอบอาชีพ
เพราะบุคคลนั้นสามารถแสวงหาสารสนเทศที่มีความจาเป็นต่อการประกอบ
อาชีพของตนเองได้
เช่น เกษตรกร เมื่อประสบปัญหาโรคระบาดกับพืชผลทางการเกษตรของตน
ก็สามารถหาตัวยาหรือสารเคมีเพื่อมากาจัดโรคระบาดดังกล่าวได้ เป็นต้น
รวมถึงพัฒนาอาชีพของตนให้ก้าวหน้ามั่นคง โดยอาศัยกระบวนการการรู้
สารสนเทศในการติดตามข่าวสารความรู้ใหม่ๆ ได้อีกด้วย
ความสาคัญ
4. การรู้สารสนเทศมีความสาคัญต่อสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
การรู้สารสนเทศเป็นสิ่งสาคัญโดยเฉพาะสังคมฐานความรู้ (Knowledge Base Society)
บุคคลจาเป็นต้องรู้สารสนเทศ และมีความรู้เพื่อสามารถปรับตนเองให้เข้ากับสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองได้
เช่น การอยู่ร่วมกันในสังคม การบริหารจัดการ การดาเนินธุรกิจและ
การแข่งขัน การบริหารบ้านเมือง ฯลฯ
กล่าวได้ว่าผู้รู้สารสนเทศ คือ ผู้ที่มีอานาจสามารถชี้วัดความสามารถขององค์กร
หรือประเทศชาติได้
ประเทศที่พัฒนาแล้วก็วัดจากจานวนประชากรที่รู้สารสนเทศนั่นเอง
ประชากรที่เป็นผู้รู้สารสนเทศจึงถือว่าเป็นทรัพยากรที่มีค่ามากที่สุดของประเทศ
ความสาคัญ
5. ทาให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต
เนื่องจากทักษะต่าง ๆ ของการรู้สารสนเทศสอดคล้องกับทักษะความสามารถ
สาหรับผู้เรียนที่ต้องการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต
ความสาคัญ
5. ทาให้ผู้เรียนเป็นผู้มีศักยภาพในการเรียนรู้ตลอดชีวิต(ต่อ)
ทักษะความสามารถสาหรับผู้เรียนที่ต้องการเป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต มีทักษะ 8 กลุ่ม
1) ทักษะด้านการคิด (คิดเชิงสร้างสรรค์ คิดเชิงประยุกต์ คิดเชิงวิเคราะห์ คิดเชิงเปรียบเทียบ
คิดเชิงอนาคต และการคิดเชิงบูรณาการ)
2) ทักษะการสื่อสาร(สามารถฟัง-พูด-อ่าน-เขียนได้อย่างถูกต้องชัดเจนกระชับครบถ้วนและสุภาพ)
3) ทักษะภาษาต่างประเทศ(สามารถพูด-ฟัง-อ่าน-เขียนภาษาอังกฤษได้อย่างคล่องแคล่ว)
4) ทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ(เข้าใจและใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ITได้)
5) ทักษะทางสังคม (มนุษยสัมพันธ์ การปรับตัว การทางานร่วมกับผู้อื่น)
6) ทักษะการอาชีพ (ความสามารถและชานาญในการประกอบอาชีพหลักที่ตนถนัด มีเจตคติที่ดีต่อ
อาชีพ มีความสามารถสร้างอาชีพให้ตนเอง)
7) ทักษะทางสุนทรียะ(ด้านดนตรี การกีฬา หรือ ศิลปะอย่างสร้างสรรค์)
8) ทักษะการจัดการ
ความสาคัญ
6. เป็นเครื่องมือสาคัญในการเลือกใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพ
เนื่องจากในยุคเศรษฐกิจฐานความรู้ ทาให้ทุกสังคมมีการผลิตสารสนเทศ
เพิ่มขึ้น มีการคิดค้นสิ่งประดิษฐ์ต่างๆ กอปรกับความก้าวหน้าของ
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เป็นเครื่องมือในการจัดเก็บค้นหา ถ่ายโอนความรู้
สารสนเทศ และสามารถแพร่กระจายสารสนเทศไปได้อย่างรวดเร็ว ส่งผล
ทาให้มีสารสนเทศมากมาย และสามารถเข้าถึงสารสนเทศได้ง่าย รวดเร็ว
ปัญหาการใช้สารสนเทศจึงไม่ได้อยู่ที่การค้นหา แต่อยู่ที่จะสามารถ
เลือก– ประเมิน--ใช้สารสนเทศที่มีคุณภาพได้อย่างไร ซึ่งการรู้สารสนเทศ
สามารถแก้ไขปัญหาข้างต้นได้
องค์ประกอบ
สมาคมห้องสมุดอเมริกัน(American Library Association, 2005) ได้
กาหนดองค์ประกอบของการรู้สารสนเทศไว้ 4 ประการ คือ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
3. การประเมินสารสนเทศ
4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
องค์ประกอบ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ
กาหนดเรื่องที่จะศึกษาค้นคว้า
กาหนดความต้องการสารสนเทศ
ระบุชนิดและรูปแบบที่หลากหลายของแหล่งสารสนเทศที่จะศึกษา
เช่น ห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ พิพิธภัณฑ์ หอจดหมายเหตุ บุคคล
สถานที่ อินเทอร์เน็ต เป็นต้น
ตระหนักถึงค่าใช้จ่ายและประโยชน์ที่ได้รับ
ทราบขอบเขตของสารสนเทศที่จาเป็น
องค์ประกอบ
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจาเป็นต้องใช้สารสนเทศ
(ต่อ)
สรุป คือ
- รู้ความต้องการสารสนเทศ
- กาหนดขอบเขตเรื่องที่จะศึกษา
- กาหนดแหล่งสารสนเทศที่จะศึกษา
- ตระหนักค่าใช้จ่าย และประโยชน์ที่ได้รับ
องค์ประกอบ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ
สามารถเลือกวิธีการสืบค้นสารสนเทศที่เหมาะสม
กาหนดกลยุทธ์การสืบค้นอย่างมีประสิทธิภาพ
สืบค้นสารสนเทศออนไลน์หรือสารสนเทศจากบุคคลโดยใช้วิธีการที่
หลากหลาย
ปรับกลยุทธ์การสืบค้นที่เหมาะสมตามความจาเป็น
การตัดตอน บันทึก และการจัดการสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ
องค์ประกอบ
2. การเข้าถึงสารสนเทศ (ต่อ)
สรุป คือ
- รู้วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น Tools ต่างๆ
- ปรับกลยุทธ์การสืบค้นได้
- รู้การดาวน์โหลดไฟล์ Save และ การจัดการสารสนเทศต่างๆ
องค์ประกอบ
3. การประเมินสารสนเทศ
สามารถสรุปแนวคิดสาคัญจากสารสนเทศที่รวบรวม
โดยใช้เกณฑ์การประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศ ได้แก่
ความน่าเชื่อถือ ความเที่ยงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย
สามารถสังเคราะห์แนวคิดหลักเพื่อสร้างแนวคิดใหม่
เปรียบเทียบความรู้ใหม่กับความรู้เดิมเพื่อพิจารณาว่าอะไรคือสิ่งที่เพิ่มขึ้น
อะไรคือสิ่งที่ขัดแย้งกัน และอะไรคือสิ่งที่คล้อยตามกัน
องค์ประกอบ
3. การประเมินสารสนเทศ (ต่อ)
สรุปคือ
- รู้วิธีการประเมินสารสนเทศ และแหล่งสารสนเทศ
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิดหลัก เพื่อสร้างแนวคิดใหม่
ได้
องค์ประกอบ
4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
สามารถใช้สารสนเทศใหม่ผนวกกับสารสนเทศที่มีอยู่ ในการ
-วางแผนและสร้างผลงาน
-การกระทาตามหัวข้อที่กาหนด
-ทบทวนกระบวนการ
-พัฒนาการผลิตผลงานของตนเอง
-สื่อสารหรือเผยแพร่ผลงานของตนเองต่อบุคคลอื่นได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
องค์ประกอบ
4. ความสามารถในการใช้สารสนเทศที่ต้องการอย่างมีประสิทธิภาพ
(ต่อ)
สรุป คือ
- สามารถใช้สารสนเทศได้ตรงตามวัตถุประสงค์ของตน
(วางแผน สร้างผลงาน พัฒนาผลงาน)
- สามารถสื่อสาร หรือเผยแพร่ผลงานของตนเองต่อบุคคลอื่นได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ (อย่างมีจริยธรรมและถูกต้องตามกฎหมาย)
องค์ประกอบ
ปิยะวรรณ ประทุมรัตน์ (ม.ป.ป.) กล่าวต่อไปว่านอกจากความสามารถ4ข้อข้างต้นแล้ว
ผู้เรียนควรมีคุณสมบัติในด้านอื่นๆ ประกอบอีก ได้แก่
1. การรู้ห้องสมุด(Libraryliteracy)
2. การรู้คอมพิวเตอร์(ComputerLiteracy)
3. การรู้เครือข่าย(NetworkLiteracy)
4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น(VisualLiteracy)
5. การรู้สื่อ(MediaLiteracy)
6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล(DigitalLiteracy)
7. การมีความรู้ด้านภาษา(LanguageLiteracy)
8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ(CriticalThinking)
9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ(InformationEthic)
องค์ประกอบ
1. การรู้ห้องสมุด (Libraryliteracy)
ได้แก่ รู้เกี่ยวกับห้องสมุดของตน ในด้าน
- ทรัพยากรสารสนเทศ และแหล่งจัดเก็บ
- วิธีการจัดเก็บ
- วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น Tools ต่างๆ ของ
ห้องสมุด
- บริการต่างๆ
ฯลฯ
รู้แหล่งสารสนเทศอื่นๆ
องค์ประกอบ
2. การรู้คอมพิวเตอร์ (ComputerLiteracy)
รู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เบื้องต้น ในการ
พิมพ์เอกสาร
การส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การใช้อินเทอร์เน็ตในการติดต่อสื่อสาร
รวมถึงการรู้ที่ตั้งของแหล่งสารสนเทศ
องค์ประกอบ
3. การรู้เครือข่าย (NetworkLiteracy)
รู้ขอบเขตและมีความสามารถในการใช้สารสนเทศทางเครือข่ายที่
เชื่อมโยงถึงกันทั่วโลก
สามารถใช้กลยุทธ์การสืบค้นสารสนเทศจากเครือข่าย และ
การบูรณาการสารสนเทศจากเครือข่ายกับสารสนเทศจากแหล่งอื่น ๆ
องค์ประกอบ
4. การรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (VisualLiteracy)
สามารถเข้าใจและแปลความหมายสิ่งที่เห็นได้
รวมถึงความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การเรียนรู้
การแสดงความคิดเห็น
สามารถใช้สิ่งที่เห็นนั้นในการทางาน และการดารงชีวิตประจาวันของ
ตนเองได้
เช่น สัญลักษณ์รายการโทรทัศน์ เป็นต้น
องค์ประกอบ
5. การรู้สื่อ (MediaLiteracy)
สามารถเข้าถึง วิเคราะห์และผลิตสารสนเทศจากสื่อต่างๆ
เช่น โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วิทยุ ดนตรี หนังสือพิมพ์ นิตยสาร เป็นต้น
รู้จักเลือกรับสารสนเทศจากสื่อที่แตกต่างกัน
รู้ขอบเขตและการเผยแพร่สารสนเทศของสื่อ
เข้าใจถึงอิทธิพลของสื่อ และ
สามารถพิจารณาตัดสินได้ว่าสื่อนั้นๆมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงไร
องค์ประกอบ
6. การรู้สารสนเทศดิจิทัล (DigitalLiteracy)
สามารถเข้าใจและใช้สารสนเทศในรูปดิจิทัลผ่านเครื่องคอมพิวเตอร์ได้
ตัวอย่างการรู้สารสนเทศดิจิทัล เช่น
- สามารถดาวน์โหลดไฟล์ข้อมูลจากแหล่งทรัพยากรสารสนเทศที่เข้าถึงใน
ระยะไกลมาใช้ได้
- รู้ว่าคุณภาพสารสนเทศที่มาจากเว็บไซต์ต่างๆแตกต่างกัน
- รู้จักโปรแกรมการค้นหา สามารถสืบค้นโดยใช้การสืบค้นขั้นสูง
- รู้เรื่องของกฎหมายลิขสิทธิ์ที่คุ้มครองทรัพยากรสารสนเทศบนเว็บไซต์
- การอ้างอิงสารสนเทศจากเว็บไชต์ เป็นต้น
องค์ประกอบ
7. การมีความรู้ด้านภาษา(LanguageLiteracy)
สามารถกาหนดคาสาคัญ (Keywords) สาหรับการสืบค้น และ
การนาเสนอสารสนเทศที่ค้นมาได้
องค์ประกอบ
8. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (CriticalThinking)
สามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ และตัดสินใจเลือกรับสารสนเทศที่นาเสนอ
ไว้หลากหลาย
โดยการพิจารณาทบทวนหาเหตุผลจากสิ่งที่เคยจดจา คาดการณ์โดยยังไม่เห็น
คล้อยตามสารสนเทศที่นาเสนอเรื่องนั้นๆ
แต่จะต้องพิจารณาใคร่ครวญไตร่ตรองด้วยความรอบคอบ และมีเหตุผลว่าสิ่งใด
สาคัญมีสาระก่อนตัดสินใจเชื่อ
จากนั้นจึงดาเนินการแก้ปัญหา
องค์ประกอบ
9. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ (InformationEthic)
ผู้เรียนรู้จักใช้สารสนเทศโดยชอบธรรมบนพื้นฐานของจริยธรรมทางสารสนเทศ
เช่น
- การนาข้อความหรือแนวคิดของผู้อื่นมาใช้ในงานของตนจาเป็นต้องอ้างอิง
เจ้าของผลงานเดิม
- การไม่นาข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรมและจรรยาบรรณของสังคมไปเผยแพร่
ฯลฯ
กระบวนการ
จากเว็บไซต์ห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศ กล่าวว่า การรู้สารสนเทศ เป็นความสามารถ
ด้านสารสนเทศที่ประกอบด้วยกระบวนการต่าง ๆ เป็นลาดับขั้นตอน สรุปได้ 4
ขั้นตอน ดังนี้
1. การกาหนดขอบเขต ปัญหา ความต้องการสารสนเทศ
2. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
3. การประเมินสารสนเทศ
4. การบูรณาการสารสนเทศ การนาสารสนเทศไปใช้ การสร้างผลงาน และ
การสื่อสารสารสนเทศไปยังผู้อื่น
กระบวนการ
1. การกาหนดขอบเขตปัญหา และความต้องการสารสนเทศ
ประกอบด้วย
- การระบุปัญหา
- การกาหนดขอบเขตสารสนเทศที่ต้องการ
- กาหนดแหล่งสารสนเทศที่คาดว่ามีสารสนเทศที่ต้องการ
- ประเมินแหล่งสารสนเทศที่เหมาะสมกับการใช้งาน หรือสามารถนาไปใช้
แก้ปัญหามากที่สุด และ
- กาหนดวิธีการเข้าถึงสารสนเทศ
กระบวนการ
2. การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
ประกอบด้วย
- การค้นหาสารสนเทศจากแหล่งสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และ
- การรวบรวมสารสนเทศ
ในขั้นตอนนี้ต้องรู้ว่าคาตอบของข้อปัญหาอยู่ที่ไหน จะเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ
นั้นได้อย่างไร
กระบวนการ
3. การประเมินสารสนเทศ
ประกอบด้วย
-การวิเคราะห์สารสนเทศ
- จัดหมวดหมู่สารสนเทศ
- การคัดเลือกสารสนเทศ และ
- การสังเคราะห์สารสนเทศ
ในขั้นตอนนี้ต้องรู้วิธีคัดสรรสารสนเทศที่ตรงกับความต้องการ และทราบวิธีการ
ประเมินความน่าเชื่อถือของสารสนเทศ
กระบวนการ
4. การบูรณาการสารสนเทศ การนาสารสนเทศไปใช้ การสร้างผลงาน
และ การสื่อสารสารสนเทศไปยังผู้อื่น
- เป็นขั้นการใช้สารสนเทศ
- พิจารณาสารสนเทศเพื่อนาเสนอ
- ประเมินผลงานที่จัดทาขึ้น หรือ
- ประเมินกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศดังกล่าว
- สามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหา ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม
คุณธรรม และถูกกฎหมาย
กระบวนการ
จากสานักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น (2551, น. 9) กล่าวถึง
กระบวนการรู้สารสนเทศ ว่ามี 5 ประการดังนี้
1. ความสามารถในการตระหนักว่าเมื่อใดจึงจะต้องการสารสนเทศ
2. ความสามารถในการค้นหาสารสนเทศ
3. ความสามารถในการประเมินสารสนเทศ
4. ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศ
5. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
กระบวนการ
อาจารย์รติรัตน์ มหาทรัพย์ (ม.ป.ป.) อธิบายกระบวนการรู้สารสนเทศไว้ ดังนี้
1. การวิเคราะห์ หรือกาหนดความต้องการสารสนเทศ
2. การพิจารณาลักษณะของสารสนเทศ
3. การค้นหาสารสนเทศ
4. การประเมินสารสนเทศ
5. การใช้และการสื่อสารสารสนเทศ
กระบวนการ
1. การวิเคราะห์ หรือกาหนดความต้องการสารสนเทศ
รู้ว่าต้องการสารสนเทศเรื่องอะไร เพื่อไปทาอะไร
(กาหนดกรอบความต้องการให้ชัดเจน)
เลือก หรือกาหนดหัวข้อที่จะค้น
ใช้แผนผังความคิด (MindMap) ช่วย
2. การพิจารณาลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการ
เช่น เนื้อหากว้างๆ หรือเฉพาะเจาะจง
ปริมาณ (มาก น้อย)
ต้องการหนังสือ บทความ สารสนเทศจากเว็บ ฯลฯ
ความทันสมัย หรือช่วงระยะเวลาของสารสนเทศ
ภาษา (ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ)
กระบวนการ
3. การค้นหาสารสนเทศ
รู้จักเครื่องมือค้นหาสารสนเทศ (เช่น Search Engine WebOPAC)
รู้วิธีการค้นหา (Search Browse)
กาหนดคาสาคัญ (Keywords) ได้
รู้วิธีการเข้าถึง (Access) ตัวเนื้อหา/สารสนเทศ
4. การประเมินสารสนเทศ
รู้เกณฑ์การประเมินทั่วไป และเกณฑ์การประเมินเว็บไซต์
เพื่อได้สารสนเทศที่มีคุณภาพเหมาะสมกับการนาไปใช้
กระบวนการ
5. การใช้และการสื่อสารสารสนเทศ
การนาสารสนเทศไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
เช่น แก้ปัญหา เขียนบทความ/รายงานวิชาการ นาเสนอโดยการพูด
เป็นต้น
ตามแนวคิดของผู้สอน แบ่งกระบวนการรู้สารสนเทศออกเป็น 6 ขั้นตอน ดังนี้
1. กาหนดความต้องการสารสนเทศ
2. เลือกแหล่งสารสนเทศ และ ทรัพยากรสารสนเทศ
3. ค้นหาสารสนเทศ
4. ประเมินสารสนเทศ
5. ประมวลสารสนเทศ
6. การนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด และการสื่อสารสารสนเทศไปยังผู้อื่น
รวมถึง ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม และถูกต้องตามกฎหมาย
กระบวนการ
1. กาหนดความต้องการสารสนเทศ
- ต้องการสารสนเทศเรื่องอะไร
- กาหนดวัตถุประสงค์การใช้ และขอบเขตเนื้อหา
- กาหนดคุณลักษณะของสารสนเทศที่ต้องการ
- เนื้อหากว้าง หรือเฉพาะเจาะจง
- ปริมาณมากหรือน้อย
- เป็นทรัพยากรสารสนเทศประเภทใด (เช่น หนังสือ บทความ)
- ความทันสมัย หรือช่วงเวลาของสารสนเทศที่ต้องการ
- ภาษาที่ต้องการ
- ใช้แผนผังความคิด หรือแผนที่ความคิด (MindMap) ช่วย
(ดูรายละเอียดของเรื่องแผนผังความคิดในภาคผนวก ก)
กระบวนการ
2. เลือกแหล่งสารสนเทศ และ ทรัพยากรสารสนเทศ
- รู้ประเภทและประโยชน์ของแหล่งสารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศ
- เพื่อกาหนดแหล่งสารสนเทศ/ทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการได้
กระบวนการ
3. ค้นหาสารสนเทศ
- รู้จักประเภทของเครื่องมือค้นหาสารสนเทศ (WebOPAC Search Engines)
- ใช้เครื่องมือค้นหาสารสนเทศ ได้
- รู้วิธีการสืบค้น และเทคนิคการสืบค้น (Search Tips) สารสนเทศ
- กาหนดคาสาคัญ (Keywords) ได้
- รู้วิธีการเข้าถึง (Access) ตัวเนื้อหา
4. ประเมินสารสนเทศ
รู้เกณฑ์การประเมินทั่วไป และเกณฑ์การประเมินค่าเว็บไซต์ เพื่อได้สารสนเทศที่มี
คุณภาพ น่าเชื่อถือ เหมาะสมกับการนาไปใช้
(ดูเกณฑ์การประเมินค่าเว็บไซต์ในภาคผนวก ข)
กระบวนการ
5. ประมวลสารสนเทศ
- วิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ
- เรียบเรียงสารสนเทศเพื่อนาเสนอต่อไป
6. การนาไปใช้ตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด และการสื่อสารสารสนเทศไปยัง
ผู้อื่น
รวมถึง
ใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรม และถูกต้องตามกฎหมาย
กระบวนการ
1. วิเคราะห์
ความต้องการ
สารสนเทศ
2. เลือก
แหล่งสารสนเทศ /
ทรัพยากรสารสนเทศ
3. ค้นหา
สารสนเทศ
4. ประเมินค่า
สารสนเทศ
5. วิเคราะห์และ
สังเคราะห์สารสนเทศ
6. เรียบเรียง อ้างอิง
และนาเสนอสารสนเทศ
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ
„ คณะกรรมการด้านการรู้สารสนเทศของสมาคมห้องสมุดอเมริกัน
(American Library Association, 1989) ได้ให้
ความหมายของ“ผู้รู้สารสนเทศ (InformationLiteratePerson)”
คือ บุคคลผู้ซึ่งมีความสามารถตระหนักรู้ว่าเมื่อไรที่สารสนเทศมีความจาเป็น
มีความสามารถในการเข้าถึงแหล่งข้อมูล
ประเมินการใช้สารสนเทศอย่างมีประสิทธิผล
มีความสามารถในการเรียนรู้ว่า จะเรียนรู้ได้อย่างไร
และได้รับการเตรียมเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ(ต่อ)
จากเว็บไซต์การรู้สารสนเทศ(Information Literacy) (Pop of BloG, 2550)
กล่าวว่า ผู้รู้สารสนเทศ หมายถึง “บุคคลที่รู้ว่าจะเรียนรู้ด้วยตนเองได้
อย่างไร(People whohave learned howto learn)” (ย่อหน้า 3)
ซึ่งความสามารถของผู้รู้สารสนเทศมี 6 ด้าน ดังนี้
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ(ต่อ)
1. ตระหนักถึงความสาคัญของสารสนเทศว่าสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ
ช่วยในการเรียนหรือการทางานได้ดีขึ้น
2. รู้ว่าจะได้สารสนเทศที่ตนต้องการได้จากที่ใด และจะสืบค้นสารสนเทศได้อย่างไร
3. สามารถประเมินสารสนเทศและแหล่งสารสนเทศได้อย่างมีวิจารณญาณ
4. สามารถประมวลสารสนเทศได้
5. สามารถใช้สารสนเทศและสื่อสารสารสนเทศให้บรรลุวัตถุประสงค์ของตนเองได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
6. มีความเข้าใจประเด็นต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจการเมือง และสังคมที่เกี่ยวข้องกับ
การใช้สารสนเทศ ตลอดจนเข้าถึงและใช้สารสนเทศอย่างมีจริยธรรมและ
ถูกต้องตามกฎหมาย
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่ถือว่ารู้สารสนเทศนั้น สามารถสรุปได้ดังนี้ คือ
1. รู้ว่าเมื่อใดต้องการสารสนเทศ
2. รู้ว่าตนเองมีความต้องการสารสนเทศใด
3. สามารถตั้งคาถามหรือระบุความต้องการสารสนเทศของตนเองได้
4. สามารถหรือระบุหรือชี้แหล่งสารสนเทศที่จะค้นได้
5. สามารถพัฒนากลวิธีการค้นคืนสารสนเทศได้
6. สามารถเข้าถึงแหล่งสารสนเทศทั้งที่จัดเก็บอยู่ในสื่อคอมพิวเตอร์และ
สื่อรูปแบบอื่นๆ ได้
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่ถือว่ารู้สารสนเทศ (ต่อ)
7. สามารถประเมินคุณค่าสารสนเทศได้
8. ความสามารถในการประมวลผลสารสนเทศ
9. สามารถจัดกลุ่มหรือหมวดหมู่สารสนเทศเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ได้
10. สามารถบูรณาการสารสนเทศใหม่ๆเข้ากับองค์ความรู้ที่มีอยู่เดิมได้
11. สามารถใช้สารสนเทศในการคิดเชิงวิเคราะห์และใช้สารสนเทศใน
การแก้ปัญหาได้
12. ความสามารถในการใช้และการสื่อสารสารสนเทศอย่างมี
ประสิทธิภาพ
ผู้รู้สารสนเทศและลักษณะของผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
ลักษณะของผู้ที่ถือว่ารู้สารสนเทศ (ต่อ)
13. รู้จักใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีต่างๆเพื่อการเข้าถึงและสื่อสาร
สารสนเทศ
14. มีความเป็นอิสระ และมีศักยภาพในการเรียนรู้ด้วยตนเอง
15. ใช้สารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ ถูกต้องและสร้างสรรค์
16. มีทักษะด้านคอมพิวเตอร์และทักษะด้านการใช้ห้องสมุด
17. มีความเข้าใจประเด็นต่างๆ ทั้งด้านเศรษฐกิจการเมืองและสังคมที่
เกี่ยวข้องกับการใช้สารสนเทศ เข้าถึงและใช้สารสนเทศอย่างมี
จริยธรรมและถูกกฎหมาย
จงอธิบายว่าบุคคลผู้รู้สารสนเทศควรมีทักษะใดบ้าง
ทักษะที่พึงมีของบุคคลผู้รู้สารสนเทศ
1. ทักษะการรู้สารสนเทศ
(รู้ความต้องการสารสนเทศ กาหนดแหล่งสารสนเทศ ค้นหาได้
ประเมินสารสนเทศ ประมวล นาไปใช้และสื่อสารต่อไปได้)
2. ทักษะการใช้ห้องสมุด
(ใช้ห้องสมุดได้ +ใช้แหล่งสารสนเทศอื่นๆได้)
3. ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(ใช้ MS Officeได้ ค้นข้อมูลจากเน็ทได้ save/download ไฟล์ได้
ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ได้)
4. ทักษะการรู้เกี่ยวกับสิ่งที่เห็น (VisualLiteracy)
(เข้าใจ & แปลความหมายของสิ่งที่เห็นได้ & ใช้ในการทางาน หรือการดารง
ชีวิตประจาวันได้ เช่น สัญลักษณ์ห้ามสูบบุหรี่)
ทักษะที่พึงมีของบุคคลผู้รู้สารสนเทศ (ต่อ)
5. ทักษะการรู้สื่อ (Media Literacy)
(รู้จักเลือกรับสารสนเทศจากสื่อประเภทต่างๆ เข้าใจอิทธิพลของสื่อ)
6. ทักษะด้านภาษา
(เน้นกาหนดคาสาคัญเพื่อค้นหา & นาเสนอสารสนเทศที่ค้นมาได้)
7. ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
(พิจารณาเลือกรับสารสนเทศด้วยความรอบคอบก่อนตัดสินใจนาไปใช้ใน
การแก้ปัญหา ฯลฯ)
8. การมีจริยธรรมทางสารสนเทศ
(การอ้างอิง +ไม่นาข้อมูลที่ขัดต่อศีลธรรม& จรรยาบรรณของสังคมไป
เผยแพร่)
Pop of BloG. (2550). การรู้สารสนเทศ (Information literacy). สืบค้น
เมื่อ 1 ตุลาคม 2555, จาก http://popofblog.blogspot.com/
ปิยะวรรณ ประทุมรัตน์. (ม.ป.ป.). การรู้สารสนเทศ: ทักษะที่จาเป็นสาหรับการ
เรียนรู้ตลอดชีวิต (Information literacy : Essential skill for
life – long learners). ม.ป.ท.: ม.ป.พ.
รติรัตน์ มหาทรัพย์. (2552). เอกสารประกอบการสอนเรื่อง ทักษะการรู้สารสนเทศ.
กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. (เอกสารอัดสาเนา).
อาชัญญา รัตนอุบล. (2552). การรู้สารสนเทศ Information literacy.
สืบค้นเมื่อ 1 ตุลาคม 2555, จาก http://portal.edu.chula.ac.th/patty_travel
เอกสารประกอบการสอนวิชา 412102 การรู้สารสนเทศ (Information literacy)
(พิมพ์ครั้งที่ 4). (2551). ขอนแก่น: ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศ
ศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
Chartered Institute of Library and Information
Professionals. (2012). Information literacy: Definition.
Retrieved November 22, 2012, from
http://www.cilip.org.uk/get-involved/advocacy/information-
literacy/Pages/definition.aspx
The Board of Trustees of the Leland Stanford Junior
University. (2013). Introduction-what is information
literacy? Retrieved July 22, 2013, from
http://skil.stanford.edu/intro/research.html
Chartered Institute of Library and Information
Professionals. (2012). Information literacy: Definition.
Retrieved November 22, 2012, from
http://www.cilip.org.uk/get-involved/advocacy/information-
literacy/Pages/definition.aspx

More Related Content

What's hot

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2Thanawut Rattanadon
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1พัน พัน
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ Srion Janeprapapong
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินVankaew Ping
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012Kruthai Kidsdee
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03Chay Kung
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558peter dontoom
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนMai Natthida
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 

What's hot (20)

เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 2
 
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1Is2  การสื่อสารและการนำเสนอ  กลุ่ม1
Is2 การสื่อสารและการนำเสนอ กลุ่ม1
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
การวิเคราะห์และสังเคราะห์สารสนเทศ
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดินแผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่02 เรื่องชั้นหน้าตัดดิน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
White classroom project 2012
White classroom project 2012White classroom project 2012
White classroom project 2012
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Astronomy 03
Astronomy 03Astronomy 03
Astronomy 03
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
การกรอง
การกรองการกรอง
การกรอง
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 

Viewers also liked

การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...Srion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference ResourcesSrion Janeprapapong
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWSrion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศSrion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้Srion Janeprapapong
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาSrion Janeprapapong
 

Viewers also liked (20)

การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
Reference resources
Reference resources Reference resources
Reference resources
 
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
ความสัมพันธ์ระหว่างหลักสูตรสาขาวิชาสารสนเทศศึกษากระบวนการการทำงานในห้องสมุด ห...
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืนวิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
วิธีการสืบค้นและเทคนิคการค้นคืน
 
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resourcesการสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
การสำรวจและรวบรวม Internet Reference Resources
 
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศการจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWWการค้นหาสารสนเทศจาก WWW
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW
 
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resourcesเกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
เกณฑ์การประเมินค่า Reference resources
 
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศหน่วยที่ 3  การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศบทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานของการจัดเก็บและค้นคืนสารสนทศ
 
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 3 การจัดเก็บทรัพยากรสารสนเทศ
 
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศหน่วยที่  4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
หน่วยที่ 4 การเลือกแหล่งสารสนเทศและทรัพยากรสารสนเทศ
 
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
ทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงที่ให้คำตอบทันที (Ready-Reference Resources)
 
Dspace
DspaceDspace
Dspace
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
บทที่ 1 สารสนเทศกับการเรียนรู้
 
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษาหน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
หน่วยที่ 1 สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา
 
สารานุกรม
สารานุกรมสารานุกรม
สารานุกรม
 

Similar to หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา

บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศPa'rig Prig
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์keatsunee.b
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04Poo-Chom Siriwut
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศPa'rig Prig
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้สมเกียรติ เพ็ชรมาก
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
Cognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environmentsCognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environmentsJiraporn Talabpet
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6Pari Za
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Mickey Toon Luffy
 

Similar to หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา (20)

บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
แนวทาง Tok
แนวทาง Tokแนวทาง Tok
แนวทาง Tok
 
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
Ca7 ld8 บทที่ 1อาจารย์
 
Information Literacy
Information LiteracyInformation Literacy
Information Literacy
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04สื่อการเรียนรู้ 04
สื่อการเรียนรู้ 04
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศบท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
บท 1 แนวคิดเกี่ยวกับสารสนเทศ
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
การผลิตสื่อและการเลือกสื่อการเรียนรู้
 
Nursing informatics
Nursing informaticsNursing informatics
Nursing informatics
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)201704 open ended-research (pdf)
201704 open ended-research (pdf)
 
Cognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environmentsCognitive tols for open ended learning environments
Cognitive tols for open ended learning environments
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)Technology Of Participation(Top)
Technology Of Participation(Top)
 

More from Srion Janeprapapong

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...Srion Janeprapapong
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บSrion Janeprapapong
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศSrion Janeprapapong
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)Srion Janeprapapong
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)Srion Janeprapapong
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมSrion Janeprapapong
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)Srion Janeprapapong
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตSrion Janeprapapong
 

More from Srion Janeprapapong (12)

การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์   เพื่อให้บริ...
การสำรวจและรวบรวม Reference Resources ที่เป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้บริ...
 
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศเอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
เอกสารประกอบการสอนหน่วยที่ 3 วิเคราะห์ความต้องการสารสนเทศ
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บเกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
เกณฑ์การประเมินค่าสารสนเทศเว็บ
 
พจนานุกรม
พจนานุกรมพจนานุกรม
พจนานุกรม
 
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศเทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
เทคโนโลยีการค้นคืนสารสนเทศ
 
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)บทที่ 1  บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
บทที่ 1 บทนำ (การจัดเก็บและค้นคืนสารสนเทศ)
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
การค้นหาสารสนเทศจาก WWW (ต่อ)
 
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรมบทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
บทที่ 4 สารสนเทศทางบรรณานุกรม
 
พจนานุกรม (Dictionaries)
พจนานุกรม  (Dictionaries)พจนานุกรม  (Dictionaries)
พจนานุกรม (Dictionaries)
 
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ตการประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
การประเมินค่าทรัพยากรสารสนเทศประเภทอ้างอิงบนอินเทอร์เน็ต
 

หน่วยที่ 2 การรู้สารสนเทศกับการศึกษาระดับอุดมศึกษา