SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments: Theoretical and Implementation Perspectives 
เครื่องมือที่ช่วยจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเปิด: มุมมองเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย 
•เพื่อศึกษารูปแบบและผลกระทบของการใช้เครื่องมือทาง ปัญญาในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ชนิดสื่อหลายมิติแบบ เปิด
กลุ่มผู้เข้าร่วมทดสอบงานวิจัยเป็นนักศึกษาของสถาบัน Athens Area Technical Institute จานวน 7 คน ช่วงอายุตั้งแต่ 19 ถึง 50 ปี โดยผู้เข้าร่วมแต่ละคนจะมีความรู้พื้นฐานแตกต่างกันไปโดยวัดได้ จากการทดสอบก่อนเรียน 
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ชนิดสื่อหลายมิติแบบเปิดที่นามาใช้คือ ซีดีรอมสื่อประสมแบบโต้ตอบ เรื่อง The Human Body ที่รวมเอาทั้งภาพนิ่ง, วิดีทัศน์, เสียง และข้อความ มาสร้างสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบคอนสตรัคติวิสต์ 
จะมีการจัดการเรียนรู้ขึ้นทั้งหมด 5 ชุด โดยแต่ละชุดจะจัดขึ้นคนละวัน และในแต่ละชุดนั้น ผู้เข้าร่วมแต่ละคนจะได้รับภารกิจการเรียนรู้หลายอย่าง ความยากและซับซ้อนของภารกิจจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อการเรียนได้ดาเนินต่อไป ภารกิจจะมีทั้งหมด 5 กลุ่มที่แตกต่างกันไปตามความซับซ้อน 
เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มี 3 ประเภท คือ การทดสอบก่อนเรียนแบบหลายตัวเลือก, แบบสอบถามความเข้าใจถึงการใช้เครื่องมือ และ แบบสอบถามกระบวนการเรียนรู้แบบภารกิจ นอกจากนี้ยัง มีการใช้เทคนิคการรวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลอีก 5 แบบ คือ การลงมือทา, การคิดเสียงดัง, การศึกษา ทบทวน, การสัมภาษณ์ภาพรวม และการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 
2. วิธีการดาเนินการวิจัย
3. ผลการวิจัย 
หน้าที่ของเครื่องมือและประเภทของกระบวนการทางปัญญาที่เครื่องมือนั้น สนับสนุน ได้ถูกนามาทาดัชนีความเชื่อมโยง เพื่อตรวจสอบว่าเครื่องมือนั้นๆได้ ถูกใช้เพื่อรองรับกระบวนการทางการเรียนรู้ที่ได้วางแผนไว้สาหรับเครื่องมือ นั้นๆหรือไม่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลบ่งชี้ว่าเครื่องมือส่วนใหญ่ (จานวน 13 จาก 16 ประเภท) ได้ถูกใช้ตามที่วางแผนไว้ แม้ว่าจานวนความถี่ในการใช้จะ แตกต่างกันมาก ผู้เรียนรายงานผลว่าพวกเขารับรู้ถึงประโยชน์ของเครื่องมือ เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นไปในทางบวก
ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 4 อย่างที่มีผลต่อการเลือกใช้เครื่องมือของผู้เข้าร่วมวิจัย มีดังนี้ 
•ความรู้ทั่วไปดั้งเดิม มีผลต่อผู้เรียนในการใช้เครื่องมือเพื่อค้นหาสารสนเทศ และการนาเสนอสารสนเทศ 
•ความรู้เฉพาะเกี่ยวกับงาน มีผลต่อการเลือกใช้เครื่องมือของผู้เรียนในขั้นตอนการจัดระเบียบข้อมูล, การ รวมข้อมูลเข้าด้วยกัน และการสร้างองค์ความรู้ 
•ความซับซ้อนของงาน มีผลต่อผู้เรียนในการใช้เครื่องมือเพื่อค้นหาสารสนเทศ, เพื่อจัดระเบียบความรู้, เพื่อขมวดความรู้เข้าด้วยกัน และเพื่อสร้างองค์ความรู้ขึ้นมา ภารกิจทั่วไปผู้เรียนจะเลือกใช้เครื่องมืออย่าง ง่ายเช่น ดัชนีทั่วไป และสื่อหลายมิติ แต่เมื่องานมีความซับซ้อนมากขึ้น พวกเขาก็จะเลือกเครื่องมือที่ช่วย จัดระเบียบความรู้ได้อย่างเป็นระบบ เช่น แผนที่โครงสร้าง 
•ความคุ้นเคยกับเครื่องมือ มักจะส่งผลกระทบต่อการเลือกและการใช้เครื่องมืออย่างเหมาะสมสาหรับ กระบวนการเรียนรู้ทางปัญญาแบบเฉพาะเจาะจง ในระยะแรกของการเรียนรู้ การไม่คุ้นเคยกับเครื่องมือ เป็นอุปสรรคสาคัญที่จะทาให้การเรียนประสบผลสาเร็จ แต่เมื่อการเรียนดาเนินไป ผู้เรียนก็จะคุ้นชินและ สามารถใช้งานเครื่องมือได้อย่างแม่นยาและมีประสิทธิภาพ 
3. ผลการวิจัย
4. การนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ 
•การศึกษานี้เป็นการศึกษารูปแบบและผลกระทบขององค์ความรู้ 
•การใช้เครื่องมือในระหว่างการเรียนรู้กับสื่อสิ่งพิมพ์ปลายเปิด 
•การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ นักเรียนเกิดวิธีการคิดการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ กายวิภาคและสรีรวิทยา โดยใช้16 เครื่องมือการเรียนรู้ที่ฝังอยู่ในระบบสื่อ สิ่งพิมพ์และรูปแบบการใช้เครื่องมือและกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ความรู้ความเข้าใจที่มี การสารวจและวิเคราะห์
ข้อค้นพบที่เกี่ยวข้องกับ Educational Emerging Technology 
กรอบการทางานทางด้านจิตใจและผลการศึกษานี้จะให้ปฏิบัติ 
•แนวคิดในการออกแบบการใช้งานและการประเมินผลของเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้องค์ความรู้ ปลายเปิด •สภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตามการศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่เครื่องมือสาหรับผู้เรียนแต่ละคน มากกว่า 
•ชุมชนของผู้เรียน ในฐานะที่เป็นความสนใจในสายระบบการเรียนรู้เช่นโลก •ไวด์เว็บเติบโตความต้องการของ "สังคม" เครื่องมือการเรียนรู้ที่สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันของ นักเรียนเป็นสาคัญมากขึ้น นอกจากไม่ จากัด และมักจะ •ทรัพยากรที่ไม่มีโครงสร้างในเหล่านี้ "เปิดอย่างแท้จริง" สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่จะวางมากขึ้น •ภาระองค์ความรู้เกี่ยวกับการเรียน ดังนั้นการวิจัยในการตรวจสอบมีประสิทธิภาพมากขึ้น 
•การออกแบบและการใช้เครื่องมือการเรียนรู้จะต้องมีอย่างต่อเนื่องและขยายตัว
Functional cognitive tool classification, roles, and principles of design and use 
Function Tool 
Classifications 
Roles of Tools 
Principles of Design and Use 
Tool 
1. Information 
Seeking Tools 
- Support learners as they attempt to identify and locate relevant information 
- Support learners to retrieve new and existing knowledge 
- Provide multiple perspectives via varied information seeking strategies (Cognitive Flexibility Theory) 
- Support learner in monitoring their information seeking activities 
(Metacognitive Theory) 
- Google 
- Yahoo 
- Bing 
2. Information 
Presentation 
Tools 
- Support learners as they attempt to present the information they encounter 
- Assist in clarifying the relationship among the information 
- Provide multi-modal representations 
(Cognitive Flexibility Theory) 
- Reduce demands on working memory 
(Cognitive Load Theory) 
- Keynote 
- Google Docs 
- Google Presentation
Function Tool 
Classifications 
Roles of Tools 
Principles of Design and Use 
Tool 
3. Knowledge 
Organization 
Tools 
- Support learners as they attempt to establish conceptual relationships in to- be-learned information 
- Help learners to interpret, connect, and organize the represented 
Information meaningfully 
- Avoid oversimplifications of complex conceptual schemata 
(Cognitive Flexibility Theory) 
- Help learners to simplify unnecessarily complex cognitive tasks 
(Cognitive Load Theory) 
- Facilitate self-regulated organization 
(Metacognitive Theory) 
- XMind 
- FreeMind 
- Visio 
4. Knowledge 
Integration 
Tools 
- Support learners in connecting new with existing knowledge 
- Facilitate the processing 
of content at deeper levels in order to construct personally meaningful knowledge 
- Facilitate the sophistication of conceptual understanding 
(Mental model theory) 
- Help learners to monitor knowledge construction process as well as their knowledge status 
(Metacognition Theory) 
- OneNote 
- Evernote 
Functional cognitive tool classification, roles, and principles of design and use
Function Tool 
Classifications 
Roles of Tools 
Principles of Design and Use 
Tool 
5. Knowledge 
Generation 
Tools 
- Support the manipulation and generation of knowledge 
- Help learners to represent their newly generated knowledge flexibly and meaningfully 
- Encourage multiple perspective and multi-modal knowledge generation 
(Cognitive Flexibility Theory) 
- Allow learners to select varied cognitive strategies 
(Metacognition Theory) 
- Google Keep 
- Wikipedia 
Functional cognitive tool classification, roles, and principles of design and use
3.นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 
4.นางสาวสุนิจฐา พองพรหม 575050196-4 
5.นายวีรวัฒน์ สุดหา 575050191-4 
2.นางสาวจิรายุ ศักดาจารุวงศ์ 575050180-9 
1.นางสาวปรียานันท์ อัครวงศ์ 575050027-7 
สมาชิกกลุ่ม
Thank You

More Related Content

What's hot

Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาParitat Pichitmal
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environmentTar Bt
 
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)chawisa_22
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nattaporn Bunmak
 
Cream healthcare medical presentation
Cream healthcare medical presentationCream healthcare medical presentation
Cream healthcare medical presentationNatjaree Nameny
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้Anucha Somabut
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieThamonwan Kottapan
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้lalidawan
 

What's hot (20)

Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
Design of Problem-based Learning Activities in Ubiquitous Learning Environmen...
 
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Smart learning environment
Smart learning environmentSmart learning environment
Smart learning environment
 
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
Ppt นวัตกรรม2(กลุ่ม)
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Work2 3
Work2 3Work2 3
Work2 3
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา2
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Blended learning 2561
Blended learning 2561Blended learning 2561
Blended learning 2561
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Cream healthcare medical presentation
Cream healthcare medical presentationCream healthcare medical presentation
Cream healthcare medical presentation
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
แนวทางการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้เทคโนโลยีส่งเสริมการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 

Similar to 201704 open ended-research (pdf)

Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsSuthakorn Chatsena
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Phatthamon Wandee
 
Chapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in educationChapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in educationIsaiah Thuesayom
 
Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Jiraporn Talabpet
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์heartherher
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดKrupol Phato
 

Similar to 201704 open ended-research (pdf) (20)

Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning EnvironmentsCognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
Chapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in educationChapter 8 information technology in education
Chapter 8 information technology in education
 
Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1Cognitive tols for open ended learning environments1
Cognitive tols for open ended learning environments1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
 
Com3
Com3Com3
Com3
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุดแบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
แบบรายงานการพัฒนานวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามจุด
 

201704 open ended-research (pdf)

  • 1. Cognitive Tools for Open-Ended Learning Environments: Theoretical and Implementation Perspectives เครื่องมือที่ช่วยจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบเปิด: มุมมองเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
  • 2. 1. วัตถุประสงค์ของการวิจัย •เพื่อศึกษารูปแบบและผลกระทบของการใช้เครื่องมือทาง ปัญญาในสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ชนิดสื่อหลายมิติแบบ เปิด
  • 3. กลุ่มผู้เข้าร่วมทดสอบงานวิจัยเป็นนักศึกษาของสถาบัน Athens Area Technical Institute จานวน 7 คน ช่วงอายุตั้งแต่ 19 ถึง 50 ปี โดยผู้เข้าร่วมแต่ละคนจะมีความรู้พื้นฐานแตกต่างกันไปโดยวัดได้ จากการทดสอบก่อนเรียน สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ชนิดสื่อหลายมิติแบบเปิดที่นามาใช้คือ ซีดีรอมสื่อประสมแบบโต้ตอบ เรื่อง The Human Body ที่รวมเอาทั้งภาพนิ่ง, วิดีทัศน์, เสียง และข้อความ มาสร้างสภาพแวดล้อมการ เรียนรู้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้แบบคอนสตรัคติวิสต์ จะมีการจัดการเรียนรู้ขึ้นทั้งหมด 5 ชุด โดยแต่ละชุดจะจัดขึ้นคนละวัน และในแต่ละชุดนั้น ผู้เข้าร่วมแต่ละคนจะได้รับภารกิจการเรียนรู้หลายอย่าง ความยากและซับซ้อนของภารกิจจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เมื่อการเรียนได้ดาเนินต่อไป ภารกิจจะมีทั้งหมด 5 กลุ่มที่แตกต่างกันไปตามความซับซ้อน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้มี 3 ประเภท คือ การทดสอบก่อนเรียนแบบหลายตัวเลือก, แบบสอบถามความเข้าใจถึงการใช้เครื่องมือ และ แบบสอบถามกระบวนการเรียนรู้แบบภารกิจ นอกจากนี้ยัง มีการใช้เทคนิคการรวบรวมข้อมูล/วิเคราะห์ข้อมูลอีก 5 แบบ คือ การลงมือทา, การคิดเสียงดัง, การศึกษา ทบทวน, การสัมภาษณ์ภาพรวม และการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์ 2. วิธีการดาเนินการวิจัย
  • 4. 3. ผลการวิจัย หน้าที่ของเครื่องมือและประเภทของกระบวนการทางปัญญาที่เครื่องมือนั้น สนับสนุน ได้ถูกนามาทาดัชนีความเชื่อมโยง เพื่อตรวจสอบว่าเครื่องมือนั้นๆได้ ถูกใช้เพื่อรองรับกระบวนการทางการเรียนรู้ที่ได้วางแผนไว้สาหรับเครื่องมือ นั้นๆหรือไม่ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลบ่งชี้ว่าเครื่องมือส่วนใหญ่ (จานวน 13 จาก 16 ประเภท) ได้ถูกใช้ตามที่วางแผนไว้ แม้ว่าจานวนความถี่ในการใช้จะ แตกต่างกันมาก ผู้เรียนรายงานผลว่าพวกเขารับรู้ถึงประโยชน์ของเครื่องมือ เหล่านี้ส่วนใหญ่เป็นไปในทางบวก
  • 5. ผลการวิจัยชี้ให้เห็นว่าปัจจัย 4 อย่างที่มีผลต่อการเลือกใช้เครื่องมือของผู้เข้าร่วมวิจัย มีดังนี้ •ความรู้ทั่วไปดั้งเดิม มีผลต่อผู้เรียนในการใช้เครื่องมือเพื่อค้นหาสารสนเทศ และการนาเสนอสารสนเทศ •ความรู้เฉพาะเกี่ยวกับงาน มีผลต่อการเลือกใช้เครื่องมือของผู้เรียนในขั้นตอนการจัดระเบียบข้อมูล, การ รวมข้อมูลเข้าด้วยกัน และการสร้างองค์ความรู้ •ความซับซ้อนของงาน มีผลต่อผู้เรียนในการใช้เครื่องมือเพื่อค้นหาสารสนเทศ, เพื่อจัดระเบียบความรู้, เพื่อขมวดความรู้เข้าด้วยกัน และเพื่อสร้างองค์ความรู้ขึ้นมา ภารกิจทั่วไปผู้เรียนจะเลือกใช้เครื่องมืออย่าง ง่ายเช่น ดัชนีทั่วไป และสื่อหลายมิติ แต่เมื่องานมีความซับซ้อนมากขึ้น พวกเขาก็จะเลือกเครื่องมือที่ช่วย จัดระเบียบความรู้ได้อย่างเป็นระบบ เช่น แผนที่โครงสร้าง •ความคุ้นเคยกับเครื่องมือ มักจะส่งผลกระทบต่อการเลือกและการใช้เครื่องมืออย่างเหมาะสมสาหรับ กระบวนการเรียนรู้ทางปัญญาแบบเฉพาะเจาะจง ในระยะแรกของการเรียนรู้ การไม่คุ้นเคยกับเครื่องมือ เป็นอุปสรรคสาคัญที่จะทาให้การเรียนประสบผลสาเร็จ แต่เมื่อการเรียนดาเนินไป ผู้เรียนก็จะคุ้นชินและ สามารถใช้งานเครื่องมือได้อย่างแม่นยาและมีประสิทธิภาพ 3. ผลการวิจัย
  • 6. 4. การนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ •การศึกษานี้เป็นการศึกษารูปแบบและผลกระทบขององค์ความรู้ •การใช้เครื่องมือในระหว่างการเรียนรู้กับสื่อสิ่งพิมพ์ปลายเปิด •การจัดสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ นักเรียนเกิดวิธีการคิดการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ กายวิภาคและสรีรวิทยา โดยใช้16 เครื่องมือการเรียนรู้ที่ฝังอยู่ในระบบสื่อ สิ่งพิมพ์และรูปแบบการใช้เครื่องมือและกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ความรู้ความเข้าใจที่มี การสารวจและวิเคราะห์
  • 7. ข้อค้นพบที่เกี่ยวข้องกับ Educational Emerging Technology กรอบการทางานทางด้านจิตใจและผลการศึกษานี้จะให้ปฏิบัติ •แนวคิดในการออกแบบการใช้งานและการประเมินผลของเครื่องมือสาหรับการเรียนรู้องค์ความรู้ ปลายเปิด •สภาพแวดล้อม อย่างไรก็ตามการศึกษาครั้งนี้มุ่งเน้นไปที่เครื่องมือสาหรับผู้เรียนแต่ละคน มากกว่า •ชุมชนของผู้เรียน ในฐานะที่เป็นความสนใจในสายระบบการเรียนรู้เช่นโลก •ไวด์เว็บเติบโตความต้องการของ "สังคม" เครื่องมือการเรียนรู้ที่สนับสนุนการเรียนรู้ร่วมกันของ นักเรียนเป็นสาคัญมากขึ้น นอกจากไม่ จากัด และมักจะ •ทรัพยากรที่ไม่มีโครงสร้างในเหล่านี้ "เปิดอย่างแท้จริง" สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ที่จะวางมากขึ้น •ภาระองค์ความรู้เกี่ยวกับการเรียน ดังนั้นการวิจัยในการตรวจสอบมีประสิทธิภาพมากขึ้น •การออกแบบและการใช้เครื่องมือการเรียนรู้จะต้องมีอย่างต่อเนื่องและขยายตัว
  • 8. Functional cognitive tool classification, roles, and principles of design and use Function Tool Classifications Roles of Tools Principles of Design and Use Tool 1. Information Seeking Tools - Support learners as they attempt to identify and locate relevant information - Support learners to retrieve new and existing knowledge - Provide multiple perspectives via varied information seeking strategies (Cognitive Flexibility Theory) - Support learner in monitoring their information seeking activities (Metacognitive Theory) - Google - Yahoo - Bing 2. Information Presentation Tools - Support learners as they attempt to present the information they encounter - Assist in clarifying the relationship among the information - Provide multi-modal representations (Cognitive Flexibility Theory) - Reduce demands on working memory (Cognitive Load Theory) - Keynote - Google Docs - Google Presentation
  • 9. Function Tool Classifications Roles of Tools Principles of Design and Use Tool 3. Knowledge Organization Tools - Support learners as they attempt to establish conceptual relationships in to- be-learned information - Help learners to interpret, connect, and organize the represented Information meaningfully - Avoid oversimplifications of complex conceptual schemata (Cognitive Flexibility Theory) - Help learners to simplify unnecessarily complex cognitive tasks (Cognitive Load Theory) - Facilitate self-regulated organization (Metacognitive Theory) - XMind - FreeMind - Visio 4. Knowledge Integration Tools - Support learners in connecting new with existing knowledge - Facilitate the processing of content at deeper levels in order to construct personally meaningful knowledge - Facilitate the sophistication of conceptual understanding (Mental model theory) - Help learners to monitor knowledge construction process as well as their knowledge status (Metacognition Theory) - OneNote - Evernote Functional cognitive tool classification, roles, and principles of design and use
  • 10. Function Tool Classifications Roles of Tools Principles of Design and Use Tool 5. Knowledge Generation Tools - Support the manipulation and generation of knowledge - Help learners to represent their newly generated knowledge flexibly and meaningfully - Encourage multiple perspective and multi-modal knowledge generation (Cognitive Flexibility Theory) - Allow learners to select varied cognitive strategies (Metacognition Theory) - Google Keep - Wikipedia Functional cognitive tool classification, roles, and principles of design and use
  • 11. 3.นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 4.นางสาวสุนิจฐา พองพรหม 575050196-4 5.นายวีรวัฒน์ สุดหา 575050191-4 2.นางสาวจิรายุ ศักดาจารุวงศ์ 575050180-9 1.นางสาวปรียานันท์ อัครวงศ์ 575050027-7 สมาชิกกลุ่ม