SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
จุดสิ้นสุด...ของการเริ่มต้น บนเส้นทางของครุวิจัย
                                        นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ โรงเรียน
                                    นนทรีวทยา
                                          ิ
                                        E-mail : magnegis@hotmail.com
                                        ศูนย์ครุวิจัยนวัตกรรมและการจัดการ
                                    เทคโนโลยีอาหาร
                                        มหาวิทยาลัยศิลปากร

            หลังจากที่ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย (สกว.)                ั
ได้ประกาศรับสมัครครูเข้าร่วมโครงการ “ครุวจย สกว.”                ิ ั
ซึงมีวตถุประสงค์ เพือพัฒนาศักยภาพของครูดวยกระบวนการวิจย
  ่       ั                 ่                                       ้                ั
จากประสบการณ์ตรง เพือเพิมความรูความเข้าใจในหลักการทาง
                                     ่    ่            ้
วิทยาศาสตร์อย่างเชือมโยงกับวิถชวต และเพือพัฒนากระบวนการ
                              ่                  ี ี ิ         ่
เรียนการสอนของครู ทีสามารถสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้
                                  ่
ของนักเรียน โดยข้าพเจ้า นายกอบวิทย์ พิรยะวัฒน์ ได้ดำาเนินการส่ง   ิ
เค้าโครงวิจยเข้าสมัครและได้รบทุนให้ไปฝึกทำาวิจยทีศนย์ครุวจย
                ั                           ั                            ั ่ ู     ิ ั
นวัตกรรมและเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง
จ.นครปฐม ตังแต่วนที่ 1 – 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2553 รวม
                    ้     ั
30 วัน ณ ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารคณะวิศวกรรมศาสตร์และ
เทคโนโลยีอตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง
                  ุ
สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม และ                                          เข้าร่วมการประชุมครุ
วิจย สกว. ปี 2553 “ครูไทย นักจัดการการเรียนรู” ณ โรงแรมรัชดาซิตี้
        ั                                                              ้
กรุงเทพฯ
เมือวันที่ 1 พฤษภาคม 2553 นัน
      ่                                       ้
            หากถามว่า การเข้าร่วมครุวจยในครังนี้ ได้อะไรบ้าง คงเป็นการยาก
                                                ิ ั       ้
ทีจะบรรยายได้หมดสิน แต่จะขอสรุปเป็นประเด็นทีสำาคัญ ดังนี้
    ่                           ้                                         ่
                                                    1. ทำาให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยว
                                    กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารมากยิ่งขึ้น
                                    ซึ่งเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ และสามารถนำาไป
                                    ปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี
2. ทำาให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว
                              กับกระบวนการวิจัย ทางด้านวิทยาศาสตร์และ
                              เทคโนโลยี ซึ่งทำาให้ได้แนวคิดในการนำา
                              กระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้
                              บูรณาการการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน
                3. ได้เรียนรู้ และพัฒนากระบวนการคิด ทังการคิดวิเคราะห์        ้
คิดสังเคราะห์ และ                                   คิดสร้างสรรค์ จากการอบรมเชิง
ปฏิบัติการ ทีได้ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการงานวิจย
                   ่                                                                        ั
                4. ได้แนวคิดในการนำากระบวนการวิจัย ทางเทคโนโลยี
อาหาร มาจัดทำาเป็นสาระ                                            การเรียนรู้และสื่อการเรียนการ
สอน เพื่อจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน
                5. ได้แลกเปลียนเรียนรู้กับเพื่อนครูจากโรงเรียนต่างๆ
                                  ่
เป็นการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของครุวิจัย และมีการติดต่อ ประสาน
งานแลกเปลียนเรียนรู้อย่างต่อเนื่องผ่านทาง Facebook และ
                 ่
Wordpress
                6. ได้เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงานวิจัย ต่อผู้ทรง
คุณวุฒิ นักวิชาการ และคณะครู จากโรงเรียนต่างๆทัวประเทศ ซึงสร้าง                 ่                 ่
ชื่อเสียงให้กับตนเองและโรงเรียนนนทรีวิทยาต่อไป
                                                แม้วาการอบรมดังกล่าวจะสินสุดลง
                                                         ่                                    ้
                                    ตังแต่วนนัน
                                        ้           ั ้                               แต่สำาหรับผม
                                    และครูอกหลายๆคน ถือว่า นี...คือการเริม
                                                       ี                              ่                ่
                                    ต้น                               บนเส้นทางของการวิจย                ั
                                    เมือก่อนเคยถามตนเองอยูเสมอว่า จะทำา
                                          ่                                       ่
                                    วิจยอย่างไร และจะทำาไปเพืออะไรหากไม่
                                            ั                                       ่
                                    ทำาเพราะถูกบังคับ หรือทำาเพราะหวังผล
                                    ประโยชน์เพือความก้าวหน้าในวิชาชีพจาก
                                                                ่
                                    การวิจย แต่การเข้าร่วมโครงครุวจยในครัง
                                                ั                                          ิ ั             ้
                                    นัน ได้เปลียนแนวคิด ปรับทัศนคติทมตอ
                                      ้                    ่                                    ี่ ี ่
                                    การวิจย และคิดต่อว่าจะทำาอย่างไรให้
                                                  ั
                                    นักเรียน
ของเรา รูจกกับการวิจย มองว่าวิจยเป็นสิงทีมความสำาคัญ และเป็นเรืองที่
            ้ ั            ั                  ั              ่ ่ ี                                   ่
ไม่ยาก เป็นสิงทีใกล้ตว ยิงในฐานะทีเราเป็นครูวทยาศาสตร์ การเรียนการ
                     ่ ่     ั ่                     ่                  ิ
สอนทีมการบูรณาการเรืองกระบวนการวิจย จะสามารถช่วยฝึกกระบวน
        ่ ี                    ่                              ั
การคิดให้กบนักเรียนได้เป็นอย่างดี และยังเป็นการสร้างพืนฐานเรืองการ
              ั                                          ้     ่
วิจย เพือเตรียมความพร้อมให้กบนักเรียนก่อนเข้าสูการเรียนในระดับ
     ั   ่                         ั               ่
อุดมศึกษาอีกด้วย
       นับตังแต่วนนัน ถึงวันนี้ จึงได้นำาแนวคิด ประสบการณ์ และ
            ้      ั ้
กระบวนการวิจยทีได้รบจากการเข้าร่วมโครงการครุวจย มาถ่ายทอดสู่
                ั ่    ั                             ิ ั
นักเรียน
ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูวทยาศาสตร์
                                            ่              ้ ิ
ทีทำาการสอน ทังในวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน สาระการเรียนรู้วิชาทฤษฎี
   ่             ้
ความรู้
TOK และวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1 สำาหรับนักเรียนหลักสูตร
SMART CLASS
ตลอดจนในการทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
ซึ่งได้จัดกิจกรรมต่างๆขึ้นทีโรงเรียนนนทรีวทยา หลายรายการ เช่น
                            ่                 ิ




 จัดโครงการค่ายโครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 2 ให้กับนักเรียนระดับชั้น
    มัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนวิทย์-คณิต                  เมื่อวันที่ ١٣-١٢
มิถุนายน ٢٥٥٣ โดยได้รับเชิญเป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่อง การคิดโครง
   งานวิทยาศาสตร์                 ซึ่งได้นำาเรื่องกระบวนการวิจย และ
                                                                  ั
Powerpoint เรื่อง คิด (เห็น) หรือ (เห็น) คิด จากการเข้าร่วมโครงการ
ครุวิจัย ไปใช้ด้วย ทำาให้ได้จุดประกายความคิดให้กับนักเรียนหลายๆคน
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1 สำาหรับ
นักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٥ โดยจัด
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การทำาโครงงานวิทยาศาสตร์แบบงานวิจัย
               ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน




   จัดกิจกรรม พิธีเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย และ
 กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ                    ประจำาปี 2553 ซึ่ง
กลุมสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์โรงเรียนนนทรีวิทยาได้จัดขึ้น โดยหนึ่ง
   ่                ิ
   ในกิจกรรมภายในงาน คือ การจัดแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ของ
                   นักเรียน เมื่อ 18 สิงหาคม 2553
ผลจากการบูรณาการเรื่องกระบวนการวิจัยในการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบโครงงานวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำาหน้าที่เป็นครูที่
ปรึกษา ส่งผลให้นักเรียนได้จัดทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การ
ศึกษาชนิดของอาหารที่ใช้ทอดต่อปริมาณกรดไขมันอิสระในนำ้ามันพืชที่
ผ่านการใช้งาน ซึงได้รับรางวัลชมเชย ในการประกวดโครงงาน
                ่
วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภททีม สาขาชีวภาพ ใน
งานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ٢٥٥٣




     นอกจากนี้ ในปีการศึกษา ٢٥٥٣ เนื่องด้วยโรงเรียนนนทรีวทยา  ิ
เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล                  ซึ่งจะต้องจัดการเรียนการ
สอนสาระการเรียนรู้หนึงที่ ชื่อว่า "ทฤษฎีความรู้ หรือ Theory of
                      ่
Knowledge : TOK" ระดับชั้น ม.1 และ ม.4 โดยบูรณาการในการ
จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จึงได้มีแนวคิดใน               การนำา
กระบวนการวิจัยอย่างง่ายๆ จากการเข้าร่วมโครงการครุวิจัย มาใช้ในการ
จัดการเรียนรู้ โดยกำาหนดเป็นขั้นตอนต่างๆ 8 ขั้นตอน ดังนี้
     1. สำารวจปัญหา ให้นักเรียนสังเกตและสำารวจว่าในชีวิตประจำาวัน
พบกับปัญหาในโรงเรียนหรือชุมชนอะไรบ้าง เลือกปัญหาที่ตนเองสนใจ
คนละ
1 ปัญหา แล้วเขียนถึงสภาพปัญหาและเหตุผลทีนักเรียนสนใจ
                                                ่
     2. ร่วมกันกำาหนดปัญหา นักเรียนแต่ละคนนำาเสนอปัญหาที่ตนเอง
สนใจ
จากนั้นครูนำาอภิปรายเพื่อรวบรวมและจัดกลุ่มปัญหาลักษณะเดียวกัน ให้
นักเรียน ทีสนใจปัญหาลักษณะเดียวกันอยู่กลุ่มเดียวกัน ตามความ
               ่
เหมาะสม ซึ่งครูต้องแนะนำาให้นักเรียนสร้างโจทย์วิจัยที่ตัวนักเรียนมี
ศักยภาพทำาได้สำาเร็จ ทำาเรื่องง่าย เพื่อการเรียนรู้
       3. ตั้งสมมุติฐาน นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุของ
ปัญหา โดยใช้ปัญญาในการคิดตั้งสมมุติฐาน
       4. รวบรวมข้อมูล นักเรียนร่วมกันออกแบบ วางแผนดำาเนินการเพื่อ
หาสาเหตุของปัญหา โดยสร้างเครื่องมือ เช่น แบบสัมภาษณ์
แบบสอบถาม แล้วนำาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
       5. วิเคราะห์ข้อมูล นักเรียนร่วมกันนำาข้อมูลที่ได้มาทำาการวิเคราะห์
และ
ประเมินผล โดยใช้กระบวนการคิด
       6. สรุปผล นักเรียนร่วมกันนำาผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลมาสรุป
เพื่ออธิบาย
ถึงสาเหตุ และปัจจัย ทีสัมพันธ์กับปัญหาที่กำาหนดไว้ในตอนแรก รวม
                             ่
ทั้งตรวจสอบ
สมมติฐาน โดยนำาความรู้ต่างๆของตนเอง มาใช้ในการอธิบายอย่างบู
รณาการเพื่อสร้างความรด้วยตนเอง   ู้
       7. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงาน โดยนักเรียนทุกคนต้องเขียน
บทความเชิงวิชาการ ทำาแผ่นพับเผยแพร่ความรูทตนเองได้รบ จัด
                                                  ้ ี่            ั
นิทรรศการแสดงผลงานและนักเรียนทุกคน
นำาเสนอปากเปล่า คนละ 10 นาที ต่อครู เพือน และผูทสนใจ ตลอดจน
                                               ่        ้ ี่
นำาผลงานของนักเรียนทีดเด่นเผยแพร่ทาง blog ของครู
                               ่ ี
       8. ประเมินผล ซึ่งประเมินโดย ครู เพื่อน และผู้ปกครอง ตลอดจน
ให้นักเรียนประเมินตนเอง โดยจัดทำาเป็นรายงานการประเมินการเรียน
ของตนเอง ในรูปแบบของ Mind mapping เพื่อแสดงถึงช่องทางการรับ
รู้ สาขาความรู้ คุณธรรมทีได้รับ และองค์ประกอบความรู้ทได้รับ
                                    ่                          ี่
       ทังนีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาทฤษฎีความรูนน ได้ให้
          ้ ้                                                       ้ ั้
ความสำาคัญกับ การให้นักเรียนสร้างโจทย์วิจัยหรือต่อยอดจากผลงาน
วิจัยที่มี ซึ่งเป็นเรื่องที่ตัวนักเรียนมีศักยภาพทำาได้สำาเร็จ ทำาเรื่องง่าย
เพื่อการเรียนรู้ โดยใช้ตัวช่วย เช่น ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง ผู้รู้ ให้คำา
ปรึกษาหรือเป็นพี่เลี้ยง โดยเฉพาะ                   ในขั้นตอนการออกแบ
บการววิจย และการเก็บข้อมูล ทังนี้ครูต้องให้อิสระแก่นักเรียนในการ
            ั                     ้
วิจัย ภายใต้กรอบทียืดหยุ่น วัดกระบวนการคิด การแปลผลข้อมูล แทน
                    ่
ชิ้นงานที่ได้ เพราะเราใช้การทำาวิจยพัฒนาศักยภาพนักเรียน ไม่ใช่ให้
                                    ั
นักเรียนเป็นนักวิจัยผู้สร้างความรู้ ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดที่ อาจารย์
ไพโรจน์                 ได้เคยให้คำาแนะนำาไว้นั่นเอง
       อย่างไรก็ตาม การเข้าร่วมโครงการครุวิจัย สกว. ในครั้งนี้ ทำาให้
ข้าพเจ้าได้รับประสบการณ์มากมาย โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาองค์
ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนากระบวนการคิด
ด้วยกระบวนการวิจัย ซึงเกิดจากกระบวนการเรียนรูในการอบรมจากศูนย์
                         ่                          ้
ครุวิจัยพี่เลียง และการแลกเปลียนเรียนรู้รวมกับเพื่อนครูจากโรงเรียน
              ้                 ่            ่
ต่างๆ โดยสามารถนำาสิ่งที่ได้เหล่านี้ไปถ่ายทอด แบ่งปันความรู้สู่เพื่อน
ครูในสถานศึกษา ตลอดจนผ่านทางบล็อก
http://teacherkobwit2010.wordpress.com เพื่อเผยแพร่ต่อผู้ที่
สนใจต่อไป ที่สำาคัญที่สุดคือการถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้สู่นักเรียน ผ่านการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในการเรียนการสอนวิชา
วิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย โดยมีเป้าหมายสำาคัญในการใช้
กระบวนการวิจัย               ในการพัฒนาศักยภาพนักเรียน ซึ่งจะเป็นพื้น
ฐานในการสร้างนักเรียนไปสู่การเป็นนักวิจยที่ดีในอนาคต
                                               ั             เพื่อ
พัฒนาประเทศชาติสืบไป
       สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยและ    ั
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอขอบพระคุณ ผศ.ไพโรจน์ คีรรัตน์ และเจ้า
                                                         ี
หน้าที่ผู้ประสานงานโครงการครุวิจัยทุกท่าน ทีได้ให้ความสำาคัญกับการ
                                                 ่
พัฒนาครูสู่การเป็นนักวิจัย ช่วยผลักดันโครงการครุวิจัยให้เกิดขึ้น และ
หวังเป็นอย่างยิงว่าจะดำาเนินโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนา
                 ่
คุณภาพการศึกษาของไทยต่อไป

                                                 กอบวิทย์ พิริยะ
วัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

More Related Content

What's hot

19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
Kobwit Piriyawat
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
Kobwit Piriyawat
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Nampeung Kero
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
Blade HurthurtHurt
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
Wichai Likitponrak
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
Kobwit Piriyawat
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
Katekyo Sama
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
FuangFah Tingmaha-in
 

What's hot (19)

19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
1.best practice วิธีสอนศิลปะ 3 สาระด้วย ict
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลงครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ครูผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ictP pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่4 เพิ่มโอกาสด้วย ict
 
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศวเอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
เอกสารแนวทางการจัดการเรียนรู้ สพฐ มศว
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วยการเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
การเตรียมความพร้อมและพัฒนาอย่างเข้มตำแหน่งครูผู้ช่วย
 
แฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงานแฟ้มสะสมผลงาน
แฟ้มสะสมผลงาน
 
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณบทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์  ศุภโสภณ
บทความวิจัยดุษฎีบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา ภาคภาษาไทย ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1จิตวิทยาการเรียนรู้1
จิตวิทยาการเรียนรู้1
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 

Viewers also liked

Conference call presentation 2 q08 results
Conference call presentation   2 q08 resultsConference call presentation   2 q08 results
Conference call presentation 2 q08 results
Braskem_RI
 
Presentation targeting roadshow
Presentation   targeting roadshowPresentation   targeting roadshow
Presentation targeting roadshow
Braskem_RI
 

Viewers also liked (7)

2Q11
2Q112Q11
2Q11
 
Houston Website Marketing & Lead Generation
Houston Website Marketing & Lead GenerationHouston Website Marketing & Lead Generation
Houston Website Marketing & Lead Generation
 
Conference call presentation 2 q08 results
Conference call presentation   2 q08 resultsConference call presentation   2 q08 results
Conference call presentation 2 q08 results
 
Business Marketing Strategies to Attract New Customers in Houston and The Woo...
Business Marketing Strategies to Attract New Customers in Houston and The Woo...Business Marketing Strategies to Attract New Customers in Houston and The Woo...
Business Marketing Strategies to Attract New Customers in Houston and The Woo...
 
Presentation targeting roadshow
Presentation   targeting roadshowPresentation   targeting roadshow
Presentation targeting roadshow
 
Presentations tips
Presentations tipsPresentations tips
Presentations tips
 
Luxembourg Service Jam 2012 - Guide book
Luxembourg Service Jam 2012 - Guide bookLuxembourg Service Jam 2012 - Guide book
Luxembourg Service Jam 2012 - Guide book
 

Similar to จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
Vachii Ra
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
Pamkritsaya3147
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
Ausa Suradech
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
Kiw E D
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
Kobwit Piriyawat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Jo Smartscience II
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
นภสร ยั่งยืน
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
Nattapon
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
tyehh
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
thkitiya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 

Similar to จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ (20)

รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
รายงานเข้าร่วมโครงการครุวิจัย2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
เล่ม 1 ตอนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 

More from Kobwit Piriyawat

P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
Kobwit Piriyawat
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
Kobwit Piriyawat
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
Kobwit Piriyawat
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
Kobwit Piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
Kobwit Piriyawat
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
Kobwit Piriyawat
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
Kobwit Piriyawat
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
Kobwit Piriyawat
 

More from Kobwit Piriyawat (20)

แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมงานการจัดการเรียนรู้ของครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่5 ปรับวิถีการจัดการเรียนรู้่
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่3 หลากกลเม็ดการสอนวิทย์
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่2 ก้าวสู่ครูในศตวรรษที่ 21
 
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
P pt wpp สุราษฎร์ตอนที่1 เตรียมพร้อมก่อนเรียนรู้
 
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา  โดยกอบวิทย์...
รูปแบบ/วิธีการนำสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาบูรณาการในการจัดการศึกษา โดยกอบวิทย์...
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน  ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานการเยี่ยมบ้านนักเรียน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงานนักเรียน 2555 โดยครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
การเตรียมความพร้อมเพื่อรับการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ (Pisa)
 
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รูปแบบการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ปรับปรุง 2555 ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit PiriyawatPartners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
Partners in learning 2012 Report by Mr.Kobwit Piriyawat
 
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawatLearning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
Learning with ict, biotechnology issues mr.kobwit piriyawat
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 3
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 2
 
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
จดหมายข่าวเทคโนโลยีชีวภาพ 1
 
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
ตารางวิเคราะห์ข้อดีข้อเสียเทคโนโลยีชีวภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
รายงานผลการดำเนินงานกลุ่มสาระฯวิทยาศาสตร์ ร.ร.นนทรีวิทยา 1 2554
 

จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์

  • 1. จุดสิ้นสุด...ของการเริ่มต้น บนเส้นทางของครุวิจัย นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์ โรงเรียน นนทรีวทยา ิ E-mail : magnegis@hotmail.com ศูนย์ครุวิจัยนวัตกรรมและการจัดการ เทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร หลังจากที่ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจย (สกว.) ั ได้ประกาศรับสมัครครูเข้าร่วมโครงการ “ครุวจย สกว.” ิ ั ซึงมีวตถุประสงค์ เพือพัฒนาศักยภาพของครูดวยกระบวนการวิจย ่ ั ่ ้ ั จากประสบการณ์ตรง เพือเพิมความรูความเข้าใจในหลักการทาง ่ ่ ้ วิทยาศาสตร์อย่างเชือมโยงกับวิถชวต และเพือพัฒนากระบวนการ ่ ี ี ิ ่ เรียนการสอนของครู ทีสามารถสร้างแรงบันดาลใจในการเรียนรู้ ่ ของนักเรียน โดยข้าพเจ้า นายกอบวิทย์ พิรยะวัฒน์ ได้ดำาเนินการส่ง ิ เค้าโครงวิจยเข้าสมัครและได้รบทุนให้ไปฝึกทำาวิจยทีศนย์ครุวจย ั ั ั ่ ู ิ ั นวัตกรรมและเทคโนโลยีอาหาร มหาวิทยาลัยศิลปากร อ.เมือง จ.นครปฐม ตังแต่วนที่ 1 – 30 เดือน เมษายน พ.ศ. 2553 รวม ้ ั 30 วัน ณ ภาควิชาเทคโนโลยีอาหารคณะวิศวกรรมศาสตร์และ เทคโนโลยีอตสาหกรรม มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวัง ุ สนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม และ เข้าร่วมการประชุมครุ วิจย สกว. ปี 2553 “ครูไทย นักจัดการการเรียนรู” ณ โรงแรมรัชดาซิตี้ ั ้ กรุงเทพฯ เมือวันที่ 1 พฤษภาคม 2553 นัน ่ ้ หากถามว่า การเข้าร่วมครุวจยในครังนี้ ได้อะไรบ้าง คงเป็นการยาก ิ ั ้ ทีจะบรรยายได้หมดสิน แต่จะขอสรุปเป็นประเด็นทีสำาคัญ ดังนี้ ่ ้ ่ 1. ทำาให้มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยว กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอาหารมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นการพัฒนาองค์ความรู้ และสามารถนำาไป ปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี
  • 2. 2. ทำาให้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยว กับกระบวนการวิจัย ทางด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ซึ่งทำาให้ได้แนวคิดในการนำา กระบวนการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ บูรณาการการจัดการเรียนการสอนให้กับนักเรียน 3. ได้เรียนรู้ และพัฒนากระบวนการคิด ทังการคิดวิเคราะห์ ้ คิดสังเคราะห์ และ คิดสร้างสรรค์ จากการอบรมเชิง ปฏิบัติการ ทีได้ออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากการงานวิจย ่ ั 4. ได้แนวคิดในการนำากระบวนการวิจัย ทางเทคโนโลยี อาหาร มาจัดทำาเป็นสาระ การเรียนรู้และสื่อการเรียนการ สอน เพื่อจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน 5. ได้แลกเปลียนเรียนรู้กับเพื่อนครูจากโรงเรียนต่างๆ ่ เป็นการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ของครุวิจัย และมีการติดต่อ ประสาน งานแลกเปลียนเรียนรู้อย่างต่อเนื่องผ่านทาง Facebook และ ่ Wordpress 6. ได้เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงานวิจัย ต่อผู้ทรง คุณวุฒิ นักวิชาการ และคณะครู จากโรงเรียนต่างๆทัวประเทศ ซึงสร้าง ่ ่ ชื่อเสียงให้กับตนเองและโรงเรียนนนทรีวิทยาต่อไป แม้วาการอบรมดังกล่าวจะสินสุดลง ่ ้ ตังแต่วนนัน ้ ั ้ แต่สำาหรับผม และครูอกหลายๆคน ถือว่า นี...คือการเริม ี ่ ่ ต้น บนเส้นทางของการวิจย ั เมือก่อนเคยถามตนเองอยูเสมอว่า จะทำา ่ ่ วิจยอย่างไร และจะทำาไปเพืออะไรหากไม่ ั ่ ทำาเพราะถูกบังคับ หรือทำาเพราะหวังผล ประโยชน์เพือความก้าวหน้าในวิชาชีพจาก ่ การวิจย แต่การเข้าร่วมโครงครุวจยในครัง ั ิ ั ้ นัน ได้เปลียนแนวคิด ปรับทัศนคติทมตอ ้ ่ ี่ ี ่ การวิจย และคิดต่อว่าจะทำาอย่างไรให้ ั นักเรียน ของเรา รูจกกับการวิจย มองว่าวิจยเป็นสิงทีมความสำาคัญ และเป็นเรืองที่ ้ ั ั ั ่ ่ ี ่ ไม่ยาก เป็นสิงทีใกล้ตว ยิงในฐานะทีเราเป็นครูวทยาศาสตร์ การเรียนการ ่ ่ ั ่ ่ ิ สอนทีมการบูรณาการเรืองกระบวนการวิจย จะสามารถช่วยฝึกกระบวน ่ ี ่ ั
  • 3. การคิดให้กบนักเรียนได้เป็นอย่างดี และยังเป็นการสร้างพืนฐานเรืองการ ั ้ ่ วิจย เพือเตรียมความพร้อมให้กบนักเรียนก่อนเข้าสูการเรียนในระดับ ั ่ ั ่ อุดมศึกษาอีกด้วย นับตังแต่วนนัน ถึงวันนี้ จึงได้นำาแนวคิด ประสบการณ์ และ ้ ั ้ กระบวนการวิจยทีได้รบจากการเข้าร่วมโครงการครุวจย มาถ่ายทอดสู่ ั ่ ั ิ ั นักเรียน ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในกลุมสาระการเรียนรูวทยาศาสตร์ ่ ้ ิ ทีทำาการสอน ทังในวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน สาระการเรียนรู้วิชาทฤษฎี ่ ้ ความรู้ TOK และวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1 สำาหรับนักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ตลอดจนในการทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย ซึ่งได้จัดกิจกรรมต่างๆขึ้นทีโรงเรียนนนทรีวทยา หลายรายการ เช่น ่ ิ จัดโครงการค่ายโครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งที่ 2 ให้กับนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4 แผนวิทย์-คณิต เมื่อวันที่ ١٣-١٢ มิถุนายน ٢٥٥٣ โดยได้รับเชิญเป็นวิทยากรให้ความรู้เรื่อง การคิดโครง งานวิทยาศาสตร์ ซึ่งได้นำาเรื่องกระบวนการวิจย และ ั Powerpoint เรื่อง คิด (เห็น) หรือ (เห็น) คิด จากการเข้าร่วมโครงการ ครุวิจัย ไปใช้ด้วย ทำาให้ได้จุดประกายความคิดให้กับนักเรียนหลายๆคน
  • 4. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนวิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1 สำาหรับ นักเรียนหลักสูตร SMART CLASS ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ٥ โดยจัด ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การทำาโครงงานวิทยาศาสตร์แบบงานวิจัย ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จัดกิจกรรม พิธีเทิดพระเกียรติพระบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย และ กิจกรรมวันวิทยาศาสตร์แห่งชาติ ประจำาปี 2553 ซึ่ง กลุมสาระการเรียนรู้วทยาศาสตร์โรงเรียนนนทรีวิทยาได้จัดขึ้น โดยหนึ่ง ่ ิ ในกิจกรรมภายในงาน คือ การจัดแสดงโครงงานวิทยาศาสตร์ของ นักเรียน เมื่อ 18 สิงหาคม 2553
  • 5. ผลจากการบูรณาการเรื่องกระบวนการวิจัยในการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์โดยใช้รูปแบบโครงงานวิทยาศาสตร์ ซึ่งทำาหน้าที่เป็นครูที่ ปรึกษา ส่งผลให้นักเรียนได้จัดทำาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง การ ศึกษาชนิดของอาหารที่ใช้ทอดต่อปริมาณกรดไขมันอิสระในนำ้ามันพืชที่ ผ่านการใช้งาน ซึงได้รับรางวัลชมเชย ในการประกวดโครงงาน ่ วิทยาศาสตร์ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภททีม สาขาชีวภาพ ใน งานมหกรรมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ ٢٥٥٣ นอกจากนี้ ในปีการศึกษา ٢٥٥٣ เนื่องด้วยโรงเรียนนนทรีวทยา ิ เป็นโรงเรียนมาตรฐานสากล ซึ่งจะต้องจัดการเรียนการ สอนสาระการเรียนรู้หนึงที่ ชื่อว่า "ทฤษฎีความรู้ หรือ Theory of ่ Knowledge : TOK" ระดับชั้น ม.1 และ ม.4 โดยบูรณาการในการ จัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ จึงได้มีแนวคิดใน การนำา กระบวนการวิจัยอย่างง่ายๆ จากการเข้าร่วมโครงการครุวิจัย มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ โดยกำาหนดเป็นขั้นตอนต่างๆ 8 ขั้นตอน ดังนี้ 1. สำารวจปัญหา ให้นักเรียนสังเกตและสำารวจว่าในชีวิตประจำาวัน พบกับปัญหาในโรงเรียนหรือชุมชนอะไรบ้าง เลือกปัญหาที่ตนเองสนใจ คนละ 1 ปัญหา แล้วเขียนถึงสภาพปัญหาและเหตุผลทีนักเรียนสนใจ ่ 2. ร่วมกันกำาหนดปัญหา นักเรียนแต่ละคนนำาเสนอปัญหาที่ตนเอง สนใจ
  • 6. จากนั้นครูนำาอภิปรายเพื่อรวบรวมและจัดกลุ่มปัญหาลักษณะเดียวกัน ให้ นักเรียน ทีสนใจปัญหาลักษณะเดียวกันอยู่กลุ่มเดียวกัน ตามความ ่ เหมาะสม ซึ่งครูต้องแนะนำาให้นักเรียนสร้างโจทย์วิจัยที่ตัวนักเรียนมี ศักยภาพทำาได้สำาเร็จ ทำาเรื่องง่าย เพื่อการเรียนรู้ 3. ตั้งสมมุติฐาน นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์หาสาเหตุของ ปัญหา โดยใช้ปัญญาในการคิดตั้งสมมุติฐาน 4. รวบรวมข้อมูล นักเรียนร่วมกันออกแบบ วางแผนดำาเนินการเพื่อ หาสาเหตุของปัญหา โดยสร้างเครื่องมือ เช่น แบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม แล้วนำาไปใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 5. วิเคราะห์ข้อมูล นักเรียนร่วมกันนำาข้อมูลที่ได้มาทำาการวิเคราะห์ และ ประเมินผล โดยใช้กระบวนการคิด 6. สรุปผล นักเรียนร่วมกันนำาผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลมาสรุป เพื่ออธิบาย ถึงสาเหตุ และปัจจัย ทีสัมพันธ์กับปัญหาที่กำาหนดไว้ในตอนแรก รวม ่ ทั้งตรวจสอบ สมมติฐาน โดยนำาความรู้ต่างๆของตนเอง มาใช้ในการอธิบายอย่างบู รณาการเพื่อสร้างความรด้วยตนเอง ู้ 7. เผยแพร่และประชาสัมพันธ์ผลงาน โดยนักเรียนทุกคนต้องเขียน บทความเชิงวิชาการ ทำาแผ่นพับเผยแพร่ความรูทตนเองได้รบ จัด ้ ี่ ั นิทรรศการแสดงผลงานและนักเรียนทุกคน นำาเสนอปากเปล่า คนละ 10 นาที ต่อครู เพือน และผูทสนใจ ตลอดจน ่ ้ ี่ นำาผลงานของนักเรียนทีดเด่นเผยแพร่ทาง blog ของครู ่ ี 8. ประเมินผล ซึ่งประเมินโดย ครู เพื่อน และผู้ปกครอง ตลอดจน ให้นักเรียนประเมินตนเอง โดยจัดทำาเป็นรายงานการประเมินการเรียน ของตนเอง ในรูปแบบของ Mind mapping เพื่อแสดงถึงช่องทางการรับ รู้ สาขาความรู้ คุณธรรมทีได้รับ และองค์ประกอบความรู้ทได้รับ ่ ี่ ทังนีในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน วิชาทฤษฎีความรูนน ได้ให้ ้ ้ ้ ั้ ความสำาคัญกับ การให้นักเรียนสร้างโจทย์วิจัยหรือต่อยอดจากผลงาน วิจัยที่มี ซึ่งเป็นเรื่องที่ตัวนักเรียนมีศักยภาพทำาได้สำาเร็จ ทำาเรื่องง่าย เพื่อการเรียนรู้ โดยใช้ตัวช่วย เช่น ครูที่ปรึกษา ผู้ปกครอง ผู้รู้ ให้คำา
  • 7. ปรึกษาหรือเป็นพี่เลี้ยง โดยเฉพาะ ในขั้นตอนการออกแบ บการววิจย และการเก็บข้อมูล ทังนี้ครูต้องให้อิสระแก่นักเรียนในการ ั ้ วิจัย ภายใต้กรอบทียืดหยุ่น วัดกระบวนการคิด การแปลผลข้อมูล แทน ่ ชิ้นงานที่ได้ เพราะเราใช้การทำาวิจยพัฒนาศักยภาพนักเรียน ไม่ใช่ให้ ั นักเรียนเป็นนักวิจัยผู้สร้างความรู้ ซึ่งเป็นไปตามแนวคิดที่ อาจารย์ ไพโรจน์ ได้เคยให้คำาแนะนำาไว้นั่นเอง อย่างไรก็ตาม การเข้าร่วมโครงการครุวิจัย สกว. ในครั้งนี้ ทำาให้ ข้าพเจ้าได้รับประสบการณ์มากมาย โดยเฉพาะในด้านการพัฒนาองค์ ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนากระบวนการคิด ด้วยกระบวนการวิจัย ซึงเกิดจากกระบวนการเรียนรูในการอบรมจากศูนย์ ่ ้ ครุวิจัยพี่เลียง และการแลกเปลียนเรียนรู้รวมกับเพื่อนครูจากโรงเรียน ้ ่ ่ ต่างๆ โดยสามารถนำาสิ่งที่ได้เหล่านี้ไปถ่ายทอด แบ่งปันความรู้สู่เพื่อน ครูในสถานศึกษา ตลอดจนผ่านทางบล็อก http://teacherkobwit2010.wordpress.com เพื่อเผยแพร่ต่อผู้ที่ สนใจต่อไป ที่สำาคัญที่สุดคือการถ่ายทอดสิ่งเหล่านี้สู่นักเรียน ผ่านการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ ในการเรียนการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ที่ได้รับมอบหมาย โดยมีเป้าหมายสำาคัญในการใช้ กระบวนการวิจัย ในการพัฒนาศักยภาพนักเรียน ซึ่งจะเป็นพื้น ฐานในการสร้างนักเรียนไปสู่การเป็นนักวิจยที่ดีในอนาคต ั เพื่อ พัฒนาประเทศชาติสืบไป สุดท้ายนี้ขอขอบพระคุณ สำานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจยและ ั หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ขอขอบพระคุณ ผศ.ไพโรจน์ คีรรัตน์ และเจ้า ี หน้าที่ผู้ประสานงานโครงการครุวิจัยทุกท่าน ทีได้ให้ความสำาคัญกับการ ่ พัฒนาครูสู่การเป็นนักวิจัย ช่วยผลักดันโครงการครุวิจัยให้เกิดขึ้น และ หวังเป็นอย่างยิงว่าจะดำาเนินโครงการนี้อย่างต่อเนื่อง เพื่อการพัฒนา ่ คุณภาพการศึกษาของไทยต่อไป กอบวิทย์ พิริยะ วัฒน์