SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
ศูนย์ การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
Royal Australian Air Force Aerospace Centre
__________________________________________________

กาลังทางอากาศและอวกาศในสงครามสหรัฐ ฯ – อิรัก
เรี ยบเรี ยงจาก Aerospace Centre Paper Number 8: Aerospace Issues from the Iraq War
Imponderables and Pointers by Sanu Kainikara, May 2003)
นาวาอากาศโท วชิ รศักดิ์ พูสิทธิ์

กล่ าวทั่วไป
ความสาเร็ จในการใช้ ขีดความสามารถของกาลังทางอากาศสร้ างความเป็ น “อัมพาต
ทางยุทธศาสตร์ ” ให้ กบอิรักเมื่อคราวสงครามอ่าวในปี ๒๕๓๔ นั ้น ทาให้ โลกตื่นตะลึงกับ
ั
แนวความคิดในเรื่ องการสงคราม ทฤษฎี และบทพิสจน์ใหม่ ที่มีกาลังทางอากาศเป็ นหัวใจใน
ู
การให้ ได้ มาซึงความสาเร็ จทางทหาร หลังจาก ๑๒ ปี ผ่านพ้ นไป นักการทหารต่างเชื่อมันว่า
่
่
“กาลังทางอากาศ ” คือ ยารักษาทุกโรคและเป็ นคาตอบของทุกคาถาม ( panacea1) ด้ วย
มุมมองเช่นนี ้ ได้ บดผันความเป็ นจริ งสูแนวโน้ มแห่งความเสียงในความพยายามที่จะ
ิ
่
่
เคลือนย้ าย ( Deploy) และใช้ ( Employ) กาลังทางอากาศไปยังพื ้นที่อนโดดเดี่ยว อันตราย
่
ั
และแยกส่วนจากกาลังรบส่วนอื่น ๆ ทั ้งหลายทั ้งมวล เนื่องจากความเชื่อที่บอกต่อกันว่า
“กาลังทางอากาศคือหัวใจในการเอาชนะสงคราม”
สงครามระหว่างสหรัฐ ฯ -อิรัก ครังล่าสุด ได้ มีพฒนาการใช้ กาลังทางอากาศมาก
้
ั
ยิ่งขึ ้นไปอีก โดยเฉพาะในเรื่ องของความชัดเจนในแนวทางปฏิบติ ความอ่อนตัวที่ใช้ ได้ ทั ้งใน
ั
ภารกิจตั ้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ ถงยุทธวิธี ความแม่นยา ขนาดความรุนแรงในการทาลาย และ
ึ

1

Panacea – ยาแก้ สารพัดโรค ยาอเนกประสงค์ คาตอบสาหรับทุกคาถามหรื อทุกปั ญหา เทพธิดาแห่งการรักษา (เทพนิยายกรี กโบราณ)
๒

ที่สาคัญที่สดคือ ระยะเวลาในการตอบสนอง ( Response time) เมื่อปี ๒๕๓๔ สหรัฐ ฯ ใช้
ุ
เวลาถึง ๓ วันก่อนที่ระเบิดจะถูกปลดจากเครื่ องบินโจมตีเข้ าสูเ่ ปาหมายภาคพื ้นหลังจากที่
้
ได้ รับการพิสจน์ทราบและชี ้ชัดเปาหมายแล้ ว แต่ในสงครามครังนี ้ ช่วงเวลานับตั ้งแต่การ
ู
้
้
พิสจน์ทราบเปาหมายจนถึงเวลาระเบิดตกใช้ เวลาเพียง ๔๕ นาทีเท่านั ้น !
ู
้
แม้ สหรัฐ ฯ จะประกาศสิ ้นสุดสงครามและการใช้ กาลังขนาดหนักไปแล้ ว แต่การ
บูรณะฟื นฟู การจัดระเบียบ และการวางกาลังควบคุมของสหรัฐ ฯ และพันธมิตรจะยังคง
้
ดาเนินต่อไป ถึงแม้ ว่าข้ อมูลและรายละเอียดของการยุทธในครังนี ้จะยังไม่กระจ่างชัดและ
้
เพียงพอที่จะนามาเปิ ดอภิปรายก็ตาม การวิเคราะห์ค้นหาคาอธิบายและศึกษาพฤติกรรม
ของสงครามในแต่ละช่วงระยะเวลา ก็ยงมีความจาเป็ นเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากในแต่ละ
ั
ช่วงเวลาย่อมก่อให้ เกิดการบันทึกในสิงที่ควรสนใจแตกต่างกันไป และจะสามารถนาไปเป็ น
่
ส่วนประมวลขยายเมื่อต้ องการหาบทสรุปรวมหลังจากที่สถานการณ์ได้ จบสิ ้นจนเข้ าสูสภาวะ
่
ปกติแล้ ว
ประเด็นด้ านอากาศ-อวกาศ
การศึกษาประวัติศาสตร์ การสงครามเพียงประการเดียวไม่อาจเป็ นตัวชี ้ทางในการทา
สงครามให้ ประสบผลสาเร็ จอย่างสมบูรณ์ได้ พื ้นฐานที่แตกต่างกันประการหนึงระหว่างการ
่
ทาสงครามกับอิรักทั ้ง ๒ ครังก็คือ ก่อนเริ่ มสงครามในปี ๒๕๓๔ กองกาลังพันธมิตรยังไม่
้
สามารถประเมินขีดความสามารถและแนวทางการต่อต้ านของอิรักได้ ว่าจะเป็ นไปในรูปแบบ
ใด ทาให้ ต้องประเมินการถูกต่อต้ านจากอิรักไว้ สง ในสงครามปี ๒๕๔๖ นี ้ เห็นได้ ชดว่า
ู
ั
กองกาลังพันธมิตรนาโดยสหรัฐ ฯ มีความได้ เปรี ยบตั ้งแต่เริ่ มต้ น ทั ้งนี ้เนื่องจากอิรักถูกจากัด
ในด้ านการพัฒนากาลังทหารมาตั ้งแต่สงครามครังที่แล้ ว กองกาลังพันธมิตรจึงมีความมันใจ
้
่
ว่าจะได้ รับชัยชนะในสงครามครังนี ้ มีเพียงความไม่แน่ชดในเรื่ องของกรอบเวลาและรูปแบบ
้
ั
ของสงครามที่อิรักจะใช้ ตอบโต้ ในคราวนี ้เท่านั ้น ซึงการใช้ กาลังในการแก้ ไขปั ญหาข้ อขัดแย้ ง
่
นี ้ ย่อมต้ องมีปัจจัยที่ไม่สามารถทานายได้ เสมอ ในการวิเคราะห์การใช้ กาลังทางอากาศนี ้จะ
ได้ แยกเป็ นหัวข้ อที่ต้องพิจารณาคือ
๑. การครองอานาจทางอากาศ (Control of the Air)
๒. การควบคุมการรบในอากาศ-อวกาศ (Battlespace Control)
๓

๓. การข่าว, การบินเฝาตรวจ, การบินลาดตระเวน ( Intelligence, Surveillance,
้
Reconnaissance)
๔. การกาหนดเปาหมาย (Targeting)
้
๕. ความเสียหายข้ างเคียง (Collateral Damage)
๖. ระบบการปองกันทางอากาศ (Air Defence System)
้
๗. การส่งกาลังบารุง (Logistics Lines)
๘. การใช้ ห้วงอวกาศ (Space)
๙. จังหวะในการปฏิบติการ (Tempo of Operations)
ั
๑๐. กฎการปะทะ (Role of Engagement)
๑๑. บทบาทของสือ (Role of Media)
่
๑. การครองอานาจทางอากาศ (Control of the Air)
ความได้เปรี ยบทางอากาศ (Air Supremacy)
เป็ นที่ทราบกันแล้ วว่า กาลังทางอากาศและระบบปองกันภัยทางอากาศหลักของอิรัก
้
ถูกทาลายไปตั ้งตั ้งแต่สงครามอ่าวเมื่อปี ๒๕๓๔ การปองกันภาคพื ้นที่กระจายอยู่ทวไปก็ถก
้
ั่
ู
จากัดริ ดรอนจากการบีบด้ วยการกาหนด No Fly Zone ทางตอนใต้ และตอนเหนือของ
ประเทศ ในสภาพเช่นนี ้ ทาให้ สหรัฐ ฯ สามารถลดภารกิจการบินข่มการปองกันทางอากาศ
้
ของข้ าศึก (Suppression of Enemy Air Defence - SEAD) ในช่วงเริ่ มต้ นของสงครามลงไป
ได้ ความได้ เปรี ยบทางอากาศที่ปรากฏอยู่แล้ วตั ้งแต่ก่อนเริ่ มสงคราม ทาให้ กาลังทางบกของ
กองกาลังพันธมิตรสามารถเริ่ มดาเนินการรุกคืบได้ ทนทีก่อนได้ รับอานัติสญญาณการเริ่ ม
ั
ั
สงครามจากสหรัฐ ฯ ความได้ เปรี ยบทางอากาศนี ้สังเกตได้ จากการที่ไม่มีเครื่ องบินฝ่ ายอิรัก
ขึ ้นปฏิบติการเลยแม้ แต่เครื่ องบินลาดตระเวนหาข่าว อย่างไรก็ตาม แม้ว่าฝ่ ายกองกาลัง
ั
พันธมิ ตรจะรู้ถึงความได้เปรี ยบอันนี ้ แต่ในการวางแผนการยุทธทางอากาศ นักวางแผนจะ
ละเลยขีดความสามารถทางอากาศของฝ่ ายตรงข้ามไม่ได้เลยแม้จะมีเพียงเล็กน้อยเท่าใดก็
ตาม เพราะกาลังทางอากาศแม้เพียงเล็กน้อยย่อมสร้างความเสียหายทีรุนแรงได้เสมอ
่
๔

การป้ องกันฐานบิ น (Airbase Security)
การที่ไม่ปรากฎการใช้ กาลังทางอากาศของอิรัก รวมทั ้งความไม่เพียงพอของอาวุธพื ้น
สูพื ้นที่อิรักครอบครองอยู่ ทาให้ การปองกันฐานบินของกองกาลังพันธมิตรมีความปลอดภัย
่
้
ฝ่ ายกองกาลังพันธมิตรเพียงดารงความได้ เปรี ยบทางอากาศที่มีอยู่แล้ วไว้ ให้ ได้ เท่านั ้น การ
รักษาความปลอดภัยของฐานบิ นต่างถิ่ น ถือเป็ นความสาคัญลาดับต้น ๆ ในการเตรี ยมกาลัง
โดยเฉพาะเมือต้องเตรี ยมการในสนามบิ นต่างถิ่ นและการรวมกาลังกับชาติพนธมิ ตรมีความ
่
ั
สลับซับซ้อนมากยิ่ งขึ้น
ความพร้อมของฐานบิ น (Airbase Availability)
การเข้ าใช้ ฐานบินและห้ วงอากาศ (
Airspace) ในต่างแดนถือเป็ นหัวใจสาคัญในการ
วางแผน การขอใช้ พื ้นที่ประเทศใดประเทศหนึงเพื่อตั ้งฐานกาลังเป็ นเรื่ องของการเมือง
่
โดยตรง สิงสาคัญก็คือ นักวางแผนไม่อาจทานายได้ ว่าจะได้ รับความร่ วมมือจากประเทศที่
่
ต้ องการวางกาลังหรื อไม่ เนื่องจากสถานการณ์เปลียนแปลงได้ ตลอดเวลา ดังนั ้นแผนสารอง
่
หรื อการปรับแผนการวางกาลังอย่างปั จจุบนทันด่วนจึงเป็ นธรรมชาติของสงครามที่ต้องนามา
ั
พิจารณาเตรี ยมการ การเลือนระยะห่างของฐานบิ นจากพืนทีปฏิ บติการจะส่งผลกระทบ
่
้ ่ ั
ต่อเนืองในเรื ่องของการวางแผนการบิ น สมรรถนะของเครื ่องบิ นทีตองการ การเติมเชือเพลิง
่
่้
้
ทางอากาศ ไปจนถึงความอ่อนตัวในการปฏิ บติภารกิ จ เช่น การวางแผนโจมตีดวย
ั
้
เฮลิคอปเตอร์ และเครื ่องบิ นโจมตีทางยุทธวิ ธีทีตองแบกอาวุธหนัก
่้
๒. การควบคุมการรบในอากาศ-อวกาศ (Battlespace Control)
ความแออัด (Saturation)
ระหว่างปฏิบติการใช้ กาลังทางอากาศในสงครามครังนี ้ กองกาลังพันธมิตรสูญเสีย
ั
้
อากาศยานไปจานวนหนึงโดยเฉพาะเฮลิคอปเตอร์ มีเพียง ๒ เครื่ องเท่านั ้นที่ได้ รับรายงานว่า
่
ถูกยิงจากฝ่ ายตรงข้ าม นอกนั ้นสูญเสียด้ วยอุบติเหตุ สภาพอากาศและถูกยิงจากฝ่ าย
ั
เดียวกัน สิงนี ้แสดงให้ เห็นว่า ในสงครามทางอากาศต่อ ๆ ไป ความแออัดของการใช้
่
เครื่ องบินในพื ้นที่การรบทางอากาศ ( Battlespace) จะเพิ่มปั ญหาให้ กบนักวางแผนในการ
ั
แบ่งพื ้นที่ รับผิดชอบและลาดับของกระบวนรบมากยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนา
๕

อากาศยานไร้ คนขับ ( Unmanned Aerial Vehicles - UAVs) ระบบอาวุธชาญฉลาด
(Autonomous Weapons) ที่ตดสินใจได้ ด้วยตนเองมาใช้ ร่วมในการรบด้ วย ปั ญหาเหล่านี ้จะ
ั
เพิ่มมากยิ่งขึ ้นหากฝ่ ายตรงข้ ามมีการใช้ กาลังทางอากาศ การแบ่งแนวหน้ าของทหารฝ่ ายเรา
(Forward Line of Own Troops - FLOT) ไม่ชดเจน และความจาเป็ นที่จะต้ องหวนกลับไป
ั
ใช้ การปฏิบติภารกิจการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ ชิดและเฮลิคอปเตอร์ สาหรับการ
ั
ปฏิบติการรบ ในเมือง
ั
ความสามารถในการปฏิ บติร่วม (Interoperability)
ั
การยิงอากาศยานฝ่ ายเดียวกันทาให้ ทกฝ่ ายที่เข้ าร่ วมการรบต้ องกลับมาทบบวนการ
ุ
ปฏิบติร่วมกันใหม่ทั ้งหมด ปั ญหาเหล่านี ้รวมไปถึงการใช้ อปกรณ์ที่แต่ละชาติมีใช้ การ
ั
ุ
บัญชาการและควบคุม การสือสาร ไปจนถึงการวางยุทธวิธีการรบ ถึงแม้ ว่าชาติที่เข้ าร่ วมใน
่
กองกาลังพันธมิตรจะเคยได้ รับการฝึ กร่ วม / ผสมด้ วยกันมาแล้ วก็ตาม เช่น กองทัพอากาศ
อังกฤษและกองทัพอากาศสหรัฐ ฯ ก็ยงเกิดข้ อผิดพลาดในการพิสจน์ฝ่ายขึ ้นได้ หากข้ าศึกมี
ั
ู
กิจกรรมในการปฏิบติการต่อต้ านหรื อการลวงต่าง ๆ ด้ วยแล้ ว การปฏิบติการร่ วมจะเป็ น
ั
ั
จุดเปราะบางที่ทกฝ่ ายต้ องนาปั ญหาที่เกิดขึ ้นเหล่านี ้มา ทบทวนและหาทางแก้ ไขต่อไป
ุ
๓. การข่ าว, การบินเฝาตรวจ, การบินลาดตระเวน ( Intelligence, Surveillance,
้
Reconnaissance)
กองกาลังพันธมิตรได้ เปรี ยบในเรื่ องการรวบรวมข้ อมูลด้ านการข่าวในช่วงระยะเวลา
๑๒ ปี ที่อิรักอยู่ในความควบคุม นอกจากนี ้การใช้ UAVs ช่วยในการบินเฝาตรวจถือได้ ว่าเป็ น
้
บทบาทสาคัญของการสงครามครังนี ้ การใช้ JSTARS และ AWAC ไปจนถึงดาวเทียมด้ าน
้
การข่าวทาให้ ภารกิจการโจมตีทางอากาศในสงครามครังนี ้มีความโดดเด่นเป็ นอย่างยิ่งใน
้
เรื่ องของการใช้ ข้อมูลใกล้ เวลาจริ ง ( Near Real Time) รถยนต์ทกคันในกรุงแบกแดดถูกจับ
ุ
ตามองความเคลือนไหว การวิเคราะห์ความเสียหาย (Battle Damage Assessment - BDA)
่
หรื อการจับตามองการฟื นกาลังฝ่ ายข้ าศึกก็สามารถกระทาได้ อย่างต่อเนื่อง
้
๖

๔. การกาหนดเปาหมาย (Targeting)
้
การเลือกเป้ าหมาย (Target Selection)
การเลือกเปาหมายทางยุทธศาสตร์ มีวตถุประสงค์ในผลที่ต้องการอย่างชัดเจน และที่
้
ั
สาคัญคือเปิ ดเผยต่อสาธารณชน การเลือกเปาหมายที่เจาะจง เช่น ตัวผู้นา ที่ทาการของ
้
รัฐบาล ที่ตั ้งกาลังทหารของอิรัก โครงสร้ างภายในของอิรัก ( Infrastructure) ฯลฯ ให้ ผลทาง
จิตวิทยาทั ้งทางตรงและทางอ้ อม การโจมตีด้วยอาวุธแม่นยา ( Precision Attacks) ต่อระบบ
ต่าง ๆ ภายในอิรักส่งผลให้ การบัญชาการและควบคุมของซัดดัม ฮุสเซ็นล่มสลาย การเลือก
เปาหมายการโจมตีอิรักในครังนี ้ แน่นอนว่าต้ องได้ รับอนุมติจากนักการเมืองระดับสูงของ
้
้
ั
สหรัฐ ฯ แม้ ว่าสาธารณชนจะได้ รับการย ้าเสมอว่ากองกาลังพันธมิตร “ไม่ได้รับอิ ทธิ พลในการ
ตัดสินใจเลือกเป้ าหมายจากฝ่ ายการเมือง ” และเป็ น การดาเนิน (running) ของสงครามที่
บีบให้ กาหนดเปาหมาย เช่นการไล่ลาเพื่อฆ่า ซัดดัม ฮุสเซ็น อย่างโจ่งแจ้ ง
้
่
การใช้ประโยชน์ภาคอากาศ (Employment of Air Assets)
การใช้ กาลังทางอากาศในสงครามครังนี ้มีประเด็นอันน่าสนใจที่ต้องนามาพิจารณา
้
นันคือ ประการแรก การหวนคืนกลับมาของการใช้ เฮลิคอปเตอร์ โจมตีและการใช้ ภารกิจการ
่
บินสนับสนุนทางอากาศ ( CAS) ซึงเคยเชื่อว่าเป็ นภารกิจไดโนเสาร์ ยคสงครามเวียดนาม ที่
่
ุ
เคยถกเถียงกันว่าไม่ควรที่จะนามาใช้ กนอีกต่อไป เนื่องจากเป็ นภารกิจที่มีความเสียงสูง
ั
่
รวมทั ้งระบบอาวุธและการข่าวแบบใกล้ เวลาจริ งได้ พฒนาไปจนไม่จาเป็ นต้ องใช้ อากาศยาน
ั
เข้ าใกล้ เปาอีกต่อไป ประการที่สอง การพิจารณาเรื่ องประเภทของอากาศยานซึงเคยวาง
้
่
มาตรฐานไว้ ว่าเครื่ องบินแบบ B-1, B-2 และ B-52 คือเครื่ องบินที่ใช้ โจมตีทางยุทธศาสตร์ ต่อ
เปาหมายยุทธศาสตร์ ปั จจุบนเกิดความไม่แน่ชดในการมอบหมายและกาหนดภารกิจ
้
ั
ั
เนื่องจากเครื่ องบินโจมตีทางยุทธวิธีก็ได้ รับมอบหมายให้ โจมตีเปาหมายที่จดว่าเป็ น
้
ั
เปาหมายทางยุทธศาสตร์ ที่มีผลสาคัญต่อการรบเช่นกัน ดังนั ้นการยุทธทางอากาศใน
้
ปั จจุบนจึงต้ องเน้ นในภาพรวมที่ว่า เครื่ องบินทุกรูปแบบสามารถปฏิบติภารกิจทาง
ั
ั
ยุทธศาสตร์ ได้ ตามที่สถานการณ์จะกาหนดและอานวย เพื่อหลีกเลียงปั ญหาการจาแนก
่
ภารกิจการโจมตีทางยุทธศาสตร์ ที่ว่าจะพิจารณาจากแบบของเครื่ องบิน อาวุธ หรื อเปาหมาย
้
๗

องค์ประกอบนภานุภาพ (Organic Air Power)
องค์ประกอบของนภานุภาพในสงครามนี ้ยังไม่บรรลุถงประสิทธิภาพที่ต้องการ ทั ้งนี ้
ึ
เป็ นผลเนื่องมาจากเงื่อนไขในการปฏิบติการของกองกาลังแต่ละชาติ การขาดการ
ั
ประสานกันในการใช้ กาลังทางอากาศร่ วมเป็ นปั จจัยสาคัญที่เป็ นขีดจากัดในการใช้ กาลังทาง
อากาศ สงครามที่อาจเกิดต่อไปในอนาคต การเพิ่มจานวนของกองกาลังพันธมิตรที่เข้ าร่ วม
ในการรบจะก่อให้ เกิดปั ญหาด้ านการบัญชาการและควบคุมในสนามรบอย่างแน่นอน
การตอบสนอง (Responsiveness)
ประเด็นขีดความสามารถของกาลังทางอากาศในการตอบสนองปรากฏผลสาเร็ จที่
เด่นชัดทั ้งในด้ านการปฏิบติภารกิจระยะไกลและอานาจการทาลายที่ให้ ผลดีเยี่ยม และใน
ั
อนาคตเมื่อประกอบกับการข่าวแบบแม่นยา ( Precision Intelligence) แล้ ว การตอบสนอง
ของการใช้ กาลังทางอากาศทั ้งยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีจะสามารถสร้ างความเชื่อถือและ
เชื่อมันแก่นกวางแผนในการวางแผนการรบได้
่
ั
๕. ความเสียหายข้ างเคียง (Collateral Damage)
จากข้ อมูลที่เผยแพร่ โดยฝ่ ายสหรัฐ ฯ ความเสียหายทางข้ างของสงครามครังนี ้นับได้
้
ว่ามีน้อยมากเมื่อเทียบกับการโจมตีทางอากาศของทุกสงครามในศตวรรษที่ ๒๐ อย่างไรก็
ตาม เสียงการประท้ วงและคัดค้ านในความเสียหายที่เกิดขึ ้นก็ยงรุนแรง ทั ้งนี ้สาเหตุอาจ
ั
เนื่องมาจาก
๑. คาแถลงการณ์จากบุคคลระดับผู้นาของสหรัฐ ฯ ทั ้งภาคการเมืองและการทหาร
ได้ สร้ างความคาดหวังให้ แก่สาธารณชนทัวโลกอย่างสูงว่าจะไม่เกิดความเสียหายอื่นใดแก่
่
ประชาชนชาวอิรักทัวไป นอกจากสิงก่อสร้ างทางทหารที่ใช้ ต่อต้ านสหรัฐ ฯ และผู้นาอิรัก
่
่
เท่านั ้น
๒. ปั ญหาเกี่ยวกับความเสียหายข้ างเคียงนี ้ แม้ เพียงน้ อยนิดจะกระทบต่อขวัญและ
ศีลธรรมที่สาธารณชนไม่สามารถยอมรับได้
๘

๓. การเผยแพร่ ข่าวสารจาก
“สื่ อทันการ (Real Life Media)” ซึงออกอากาศเผยแพร่
่
ซ ้าแล้ วซ ้าอีกไปทัวโลก โดยเฉพาะภาพเด็กที่ได้ รับบาดเจ็บ และความเสียหายเล็ก ๆ น้ อย ๆ
่
ถูกนามาเชื่อมภาพทาให้ เกิดการ “เกลียดน ้าหน้ า” ต่อการปฏิบติการของสหรัฐ ฯ
ั
๔. การใช้ กาลังทางอากาศให้ ผลกระทบต่อความรู้สกของสาธารณชนมากกว่าความ
ึ
เสียหายที่เกิดขึ ้นในลักษณะเดียวกันจากรถถังหรื อปื นใหญ่ ซึงได้ โจมตีอาคารสถานที่ของ
่
อิรักด้ วยภารกิจในลักษณะเดียวกัน ความเสียหายทางข้ างโดยการโจมตีทางอากาศมีผลทาง
จิตวิทยาสูงมาก โดยเฉพาะเมื่อปรากฎภาพของเหยื่อที่บริ สทธิ์ซงได้ รับผลกระทบจากการ
ุ ึ่
โจมตี ผลทางจิตวิทยานี ้จะถูกเก็บสะสมและทวีเป็ นความไม่พอใจมากขึ ้นต่อสงครามที่จะ
ติดตามมาในอนาคต สหรัฐ ฯ จะหลักเลียงไม่ได้ ต่อผลกระทบทางจิตวิทยาที่จะเกิดขึ ้น
่
นับจากนี ้ไป
๖. ระบบการปองกันทางอากาศ (Air Defence System)
้
สงครามครังนี ้ชี ้ให้ เห็นว่า แม้ แต่ระบบปองกันทางอากาศที่ถือว่าเป็ นสุดยอดของ
้
้
เทคโนยีที่สหรัฐ ฯ นามาใช้ ก็ยงสามารถถูกก่อกวนให้ ผิดพลาดได้ ด้วย “ความคลุมเครื อของ
ั
สงคราม ( Fog of War)” ที่เกิดขึ ้นในบางขั ้นตอนของสงคราม ประการแรก การยิง ฮ.ฝ่ าย
เดียวกันไม่น่าเกิดขึ ้นได้ ทั ้ง ๆ ที่สหรัฐ ฯ เป็ นฝ่ ายควบคุมสถานการณ์การสู้รบทางอากาศไว้ ได้
ทั ้งหมดอยู่แล้ ว ประการที่สอง แม้ มีบทพิสจน์แล้ วว่ากาลังทางอากาศในเชิงรุกจะนามาซึง
ู
่
ผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ของภารกิจ แต่จดอ่อนของนภานุภาพก็คือการรักษาความ
ุ
ปลอดภัยของฐานบินในภาวะล่อแหลมขณะสงครามกาลังดาเนินอยู่ โดยเฉพาะในสนามบิน
ต่างถิ่นและใกล้ พื ้นที่การรบ รวมทั ้งการสถาปนาความปลอดภัยของฐานบินไม่สามารถ
กระทาได้ ถง ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์ ตัวอย่างทั ้งสองประการนี ้ ทาให้ ต้องกลับมาพิจารณากันอย่าง
ึ
ละเอียด รอบคอบถึงความสมดุลย์เหมาะสมในการมอบหมายและกาหนดภารกิจให้ แก่
กาลังทางอากาศ การปองกันฐานบินที่ใช้ เป็ นฐานต่อกาลัง รวมทั ้งช่องว่างทางเทคโนโลยีใน
้
ยุทธบริ เวณที่สหรัฐ ฯ ไม่สามารถเลือกได้ กรณีที่จรวดนาวิถีพื ้นบ้ านของอิรักที่หลุดรอดเข้ าไป
ทาลายกองพันทหารในคูเวตแสดงให้ เห็นชัดถึงช่องว่างในระบบปองกันทางอากาศ ทั ้งนี ้ต้ อง
้
พึงระลึกเสมอว่า ไม่มีระบบปองกันทางอากาศชนิดใดที่จะรับรองได้ ว่าสามารถปองกันความ
้
้
๙

ปลอดภัยทางจากการถูกโจมตีทางอากาศได้ ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์ โดยเฉพาะเมื่อต้ องเคลือนย้ าย
่
ระบบทั ้งระบบสูพื ้นที่การรบที่มีความล่อแหลม
่
๗. การส่ งกาลังบารุ ง (Logistics Lines)
จุดอ่อน (Vulnerability)
การยุทธในครังนี ้ได้ สร้ างแนวความคิดใหม่ในการเคลือนย้ ายกาลังพลขนาดย่อมเข้ า
้
่
แทรกซึมในแนวต่าง ๆ ๓ แนวในอิรักเพื่อล้ อมกรอบเข้ ากรุงแบกแดด ซึงแตกต่างจาก
่
แนวความคิดเดิมซึงต้ องการการรวมพลพร้ อมแล้ วจึงโหมกาลังเข้ าโจมตี ประเด็นนี ้เองที่
่
ก่อให้ เกิดปั ญหาในการส่งกาลังบารุงเป็ นอย่างมากในขณะที่กาลังภาคพื ้นรุกคืบหน้ าลึกเข้ า
ไปในอิรักและต้ องรอคอยการตัดสินใจประกาศเปิ ดสงครามจากรัฐบาลสหรัฐ ฯ ที่ถกดึงเวลา
ู
ให้ ยืดเยื ้อออกไป ในพื ้นที่ทะเลทรายหรื อสมรภูมิที่เป็ นพื ้นที่เปิ ดเช่นนี ้ย่อมเป็ นอันตรายต่อทั ้ง
กองกาลังและเส้ นทางการส่งกาลังบารุง ในสภาวะการณ์เช่นนี ้กาลังทางอากาศเป็ นขีด
ความสามารถเดียวในการให้ การสนับสนุนการลาเลียงขนส่งและการให้ ความคุ้มครอง
เส้ นทางลาเลียง อย่างไรก็ตาม ฮ.ติดปื น (Gunship) ดูจะเหมาะสมเป็ นอย่างยิ่งกับบทบาทใน
การบิน ลาดตระเวนและการบินคุ้มครอง (Scout & Escort) เส้ นทางลาเลียงภาคพื ้นใน
สงครามครังนี ้
้
การลาเลียงทางอากาศ (Airlift)
นอกจากเส้ นทางลาเลียงภาคพื ้นที่ค้ มกันโดยหน่วยแยกของ ฮ.ติดปื นแล้ ว การ
ุ
สนับสนุนการส่งกาลังบารุงด้ วยการสร้ าง “สะพานทางอากาศ (Air Bridge)” จะเป็ นภารกิจ
ของกองทัพอากาศโดยตรง อย่างไรก็ตาม “สะพานทางอากาศ” นี ้ มีความเปราะบางและมี
ภาวะการเสียงมาก เนื่องจากมีปัจจัยหลายประการที่สงผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการ
่
่
ดาเนินการ เช่น การควบคุมทางอากาศ (Air Control) ความพร้ อมและเพียงพอของเครื่ องบิน
ลาเลียง ความพร้ อมของฐานบินที่มีจากัดและไม่สมพันธ์ต่อการรุกคืบของกาลังภาคพื ้น
ั
ความปลอดภัยของฐานบินต่างถิ่น สภาพอากาศแบบทะเลทราย หรื อ การขาดเครื่ องช่วย
เดินอากาศภาคพื ้นสาหรับเครื่ องบินของกองกาลังพันธมิตรที่ยงไม่ทนสมัย เป็ นต้ น ศัตรู
ั ั
สาคัญของการลาเลียงทางอากาศคือ ระบบการปองกันทางอากาศแบบเคลือนย้ ายได้ (Man
้
่
๑๐

Portable Air Defence Systems - MANPADS) เมื่อต้ องปฏิบติภารกิจใกล้ แนวหน้ า
ั
(Forward Line) การต่อต้ าน MANPADS นี ้เป็ นภารกิจที่กระทาได้ ยากยิ่งในการปองกันทาง
้
อากาศปั จจุบน
ั
๘. การใช้ ห้วงอวกาศ (Space)
ปั จจุบน การใช้ ห้วงอวกาศเป็ นรากฐานสาคัญและจาเป็ นต่อการรบอย่างปฏิเสธไม่ได้
ั
การใช้ กาลังทางอากาศแบบแม่นยา ( Precision) จะให้ ผลสมบูรณ์ไม่ได้ เลยหากขาดการ
สนับสนุนจากระบบและข้ อมูลที่เกี่ยวเนื่องจากอุปกรณ์ในอวกาศ แต่เพราะเหตุว่า ขีด
ความสามารถทางอวกาศนั ้นยังประกอบไปด้ วยการใช้ ข้อมูลจากดาวเทียมภาคเอกชนด้ วย
ดังนั ้น การรักษาความปลอดภัยและการปองกันไม่ให้ ฝ่ายตรงข้ ามลักลอบนาข้ อมูลไปใช้
้
ประโยชน์ได้ จึงเป็ นเรื่ องที่ต้องดูแลจัดการอย่างใกล้ ชิด การใช้ ห้วงอวกาศในสงครามนี ้เป็ น
ก้ าวแรกในการใช้ อวกาศในสงครามทางกายภาพที่เด่นชัด ซึงจะส่งผลให้ แต่ละฝ่ ายต้ อง
่
ครอบครองและรักษาขีดความสามารถด้ านอวกาศเอาไว้ การสือสารผ่านดาวเทียม ระบบ
่
ภาพถ่ายดาวเทียม การจับความเคลือนไหวแม้ รถยนต์เพียงคันเดียว จะเน้ นให้
่
“การแผ่
กาลังอวกาศ ( Aerospace Power Projection)” ขยายกว้ างออกไป มาตรฐานการใช้ ห้วง
อวกาศโดยการนาของสหรัฐ ฯ จะกระจายไปการปฏิบติของกองทัพอากาศทัวโลกในไม่ช้า
ั
่
อย่างปฏิเสธไม่ได้
๙. จังหวะในการปฏิบัตการ (Tempo of Operations)
ิ
แนวความคิด (Concept)
พื ้นฐานแห่งชัยชนะสงครามประการหนึงก็คือ การเลือกและดารงรักษาจังหวะในการ
่
ปฏิบติการอย่างต่อเนื่องด้ วยขีดความสามารถสูงสุดไว้ ตั ้งแต่เมื่อเริ่ มสงคราม การยุทธในครัง
ั
้
นี ้มีอตราเร็ วในการรุกคืบของกองกาลังภาคพื ้นเฉลีย ๒๕ – ๓๐ ไมล์ต่อชัวโมง เทียบกับ
ั
่
่
“สงครามอ่าวเปอร์ เซีย ” เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔ ซึงมีอตราความก้ าวหน้ าของกาลังน้ อยกว่า ๑๐
่ ั
ไมล์ต่อชัวโมง การรุกก้ าวหน้ าด้ วยจังหวะและอัตราเร็ วที่เพิ่มขึ ้นนี ้ หมายถึงการลดเวลาใน
่
การตั ้งรับและตัดสินใจจากฝ่ ายตรงข้ ามด้ วยเช่นกัน
๑๑

จังหวะของนภานุภาพ (Tempo of Air Power)
กาลังทางอากาศที่มีความคล่องแคล่ว ฉับไวและมีอานาจการทาลายล้ างสูง สามารถ
สลายเปาหมายได้ อย่างต่อเนื่องเป็ นระบบ ดังนั ้น กาลังทางอากาศจึงยังคงเป็ นกาลังหลักที่
้
จะนาไปใช้ “เร่ ง” จังหวะการรบให้ สั ้นและรวดเร็ วยิ่งขึ ้น และขณะเดียวกัน ก็สามารถตัดตอน
จังหวะการรบของข้ าศึกไปได้ ในตัว
๑๐. กฎการปะทะ (Role of Engagement)
ในช่วงระยะเวลา ๑๐ ปี ที่ผ่านมา การใช้ กาลังทางอากาศในบทบาทของ “การโจมตี ”
นั ้นปรากฏเป็ นที่สนใจของสาธารณชนเป็ นอย่างยิ่ง ทั ้งยังมีการถกเถียงกันถึงความเหมาะสม
ในการพิจารณาเลือกเปาหมายว่าผิดด้ วยกฏหมายสากลและกฏการปะทะหรื อไม่ อย่างใด
้
รวมไปถึงการก่อให้ เกิดความเสียหายข้ างเคียงด้ วย จากประวัติศาสตร์ ฝังใจของการใช้ กาลัง
ทางอากาศในการโจมตีทางยุทธศาสตร์ ซงก่อให้ เกิดความสูญเสียของชีวิตพลเรื อนเป็ น
ึ่
จานวนมาก ทาให้ สาธารณชนมีความเห็นต่อต้ านการโจมตีทางอากาศ ( Aerial Attack)
โดยเฉพาะการใช้ กาลังทางอากาศในการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งทางความคิดอันเป็ นปกติ
ธรรมดา หรื ออีกนัยหนึงการใช้ กาลังทางอากาศแก้ ไขปั ญหาที่เกินความจาเป็ นต่อผลที่
่
ต้ องการได้ รับ ผลของการใช้ กาลังทางอากาศที่มีความแข็งแกร่ งของชาติที่พฒนาแล้ วต่อชาติ
ั
ที่กาลังพัฒนาซึงมีขีดความสามารถของกาลังทางอากาศด้ อยกว่าจะถูกตานิจากสาธารณชน
่
ทัวโลกมากยิ่งขึ ้น รุนแรงยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะการมีสอข่าวสารต่าง ๆ ที่ประชาชนสามารถรับรู้
่
ื่
หรื อถูกชักจูงได้ มากยิ่งขึ ้น ประเด็นของการใช้ กาลังทางอากาศเกินกว่าจาเป็ นเพื่อให้ บรรลุ
วัตถุประสงค์นี ้ เป็ นสิงที่นกวางแผนต้ องคานึงถึงความพอเหมาะพอควรก่อนที่จะถูกสังคม
่ ั
โลกต่อต้ านอย่างรุนแรง
๑๑. บทบาทของสื่อ (Role of Media)
ในสงครามครังนี ้
้
“สื่ อ (Media)” ส่งผลในวงกว้ างต่อความคิดเห็นของสาธารณ ซึงก็มี
่
ทั ้งผลในทางบวกและลบ ผลในทางบวกคือ การปฏิบติการทางอากาศอันรวดเร็ ว แม่นยา
ั
๑๒

ความเป็ นมืออาชีพและการใช้ เทคโนโลยีขั ้นสูงทางทหารนั ้น อยู่เหนือความรู้และการวิพากย์
ของสือ ทั ้งยังได้ แสดงถึงแสนยานุภาพที่แท้ จริ งของกาลังทางอากาศให้ เป็ นที่ประจักษ์ ส่วน
่
ผลในทางลบก็คือ ทุกแผนการโจมตีและทุกเปาหมายได้ ถกป่ าวประกาศให้ สาธารณชนและ
้
ู
ฝ่ ายตรงข้ ามรับรู้เป็ นสัปดาห์ก่อนการโจมตีจริ ง รวมไปถึงข่าวความสาเร็ จในการเข้ ายึดเมือง
ต่าง ๆ หรื อความล้ มเหลวในการเคลือนทัพ ซึงจะส่งผลต่อการรบอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหาก
่
่
ฝ่ ายตรงมีขีดความสามารถมากกว่าที่อิรักมีอยู่ในสงครามครังนี ้
้
ความคิดเห็นสาธารณชน (Public Opinion)
“สือ” สามารถโน้ มน้ าวความคิดของสาธารณชนได้ ในระดับหนึง แต่ความหลากหลาย
่
่
ของสือเองก็สามารถทาลายความเชื่อถือของสาธารณชนได้ ในขณะที่สถานการณ์ดาเนินไป
่
สือตะวันตกสามารถเร่ งเร้ าความรู้สกเห็นชอบในสงครามแก่สาธารณะได้ ในระดับหนึงเมื่อ
่
ึ
่
สงครามเริ่ มต้ น แต่หลังจากนั ้น ความแตกต่างในความละเอียดอ่อนทางความคิดและ
วัฒนธรรม จะเริ่ มชักนาให้ สาธารณชนคานึงถึงความเป็ นจริ งที่อยู่เหนือผลประโยชน์ของ
สงคราม ในอนาคต-สงครามและสือจะไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ไม่ว่าสงครามนั ้นจะ
่
เกิด ณ หนแห่งใดในโลกก็ตาม นันหมายถึงความคิดเห็นของสาธารณชนจะเข้ ามามีบทบาท
่
ในการตัดสินใจของนักวางแผน ความผิดพลาดเพียงน้ อยนิดในความแตกต่างของสังคมโลก
อาจจุดชนวนให้ สงครามนั ้นประสบความล้ มเหลวได้
สรุ ป
ในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชน นี่คืออีกครังหนึงที่มนุษย์ต้องใช้ กาลังเข้ าทาลายล้ าง
้ ่
ซึงกันและกัน ไม่ว่าสงครามครังนี ้จะมีความถูกต้ องหรื อไม่ก็ตาม บทเรี ยนต่าง ๆ จากสงคราม
่
้
ในครังนี ้ก็จะต้ องนามาศึกษาและถกแถลงกันต่อไป สงครามในปั จจุบนและอนาคต อาจมิใช่
้
ั
ใครรบกับใครเพียง ๒ ฝ่ าย การสถาปนากองกาลังพันธมิตรในผืนแผ่นดินที่ไม่ค้ นเคย การ
ุ
ปฏิบติการร่ วม / ผสม การสงครามในระดับมหภาค การเจาะลึกในแต่ละยุทธบริ เวณและการ
ั
วิเคราะห์ในมุมมองที่แตกต่างอื่น ๆ จะทาให้ นกการทหารสามารถวางหลักการในการใช้ กาลัง
ั
และเสริ มกาลังให้ มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น
๑๓

สงครามสหรัฐฯ
– อิรัก ครังนี ้ ยังคงเป็ นบทพิสจน์หลักการพื ้นฐานอันไม่เปลียนแปลง
้
ู
่
ของสงครามในการใช้ กาลังทางอากาศเป็ นหลักซึงก็เป็ นความจริ งอันเป็ นสากล บทเรี ยนที่
่
ต้ องการคือการผนวก (Integration) กาลังทางอากาศเข้ ากับองค์ประกอบของกาลังรบอื่น ๆ
ที่มีความแตกต่างกันทั ้งความเป็ นพลวัตร เทคโนโลยี แนวความคิดในการใช้ กาลังและความ
นิยมในเหล่าทัพ ซึงองค์ประกอบอันหลากหลายเหล่านี ้ต่างมีความเป็ นเอกลักษ์ เฉพาะตัว
่
อย่างไรก็ตามการใช้ “นภานุภาพ ” จะไม่หยุดอยู่ที่รูปแบบใดรูปแบบหนึงเป็ นการถาวร
่
การนา “นภานุภาพ” ไปใช้ ในอนาคตจะขึ ้นอยู่กบสภาพแวดล้ อมของเหตุการณ์ สถานการณ์
ั
และการปฏิบติการในครังนั ้น ๆ อย่างเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวเท่านั ้น
ั
้
-----------------------------------------------------------------------

More Related Content

Viewers also liked

เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยมเงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยมWashirasak Poosit
 
บรรยาย War termination
บรรยาย War terminationบรรยาย War termination
บรรยาย War terminationWashirasak Poosit
 
The infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnThe infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnWashirasak Poosit
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)Washirasak Poosit
 
บรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force Leadershipบรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force LeadershipWashirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)
อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)
อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)Washirasak Poosit
 
บรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia Defenceบรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia DefenceWashirasak Poosit
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาWashirasak Poosit
 
บรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter Performanceบรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter PerformanceWashirasak Poosit
 
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลียนโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลียWashirasak Poosit
 
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรักบรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรักWashirasak Poosit
 
บรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a systemบรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a systemWashirasak Poosit
 
บรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid Dominanceบรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid DominanceWashirasak Poosit
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวWashirasak Poosit
 
สมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบสมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบWashirasak Poosit
 
เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้Washirasak Poosit
 
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30Mบรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30MWashirasak Poosit
 

Viewers also liked (20)

เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยมเงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
 
บรรยาย War termination
บรรยาย War terminationบรรยาย War termination
บรรยาย War termination
 
The infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnThe infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavn
 
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
ยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
 
บรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force Leadershipบรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force Leadership
 
อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)
อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)
อบรมข้าราชการ ๑ (ปัจจัยมนุษย์)
 
บรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia Defenceบรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia Defence
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
 
บรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter Performanceบรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter Performance
 
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลียนโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
 
Histslides2
Histslides2Histslides2
Histslides2
 
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรักบรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
 
บรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a systemบรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a system
 
บรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid Dominanceบรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid Dominance
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโว
 
สมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบสมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบ
 
เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้
 
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30Mบรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
 

More from Washirasak Poosit

Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverEarly Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverWashirasak Poosit
 
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพบรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพWashirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการอบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการWashirasak Poosit
 
บรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Educationบรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military EducationWashirasak Poosit
 
บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.Washirasak Poosit
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อWashirasak Poosit
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าWashirasak Poosit
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงWashirasak Poosit
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional SecuritytWashirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1Washirasak Poosit
 

More from Washirasak Poosit (20)

Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverEarly Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
 
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพบรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
 
อบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการอบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการ
 
บรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Educationบรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Education
 
บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.
 
Thai National Security Law
Thai National Security LawThai National Security Law
Thai National Security Law
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อ
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟัง
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึง
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
 

กำลังทางอากาศสหรัฐ-อิรัก

  • 1. ศูนย์ การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ Royal Australian Air Force Aerospace Centre __________________________________________________ กาลังทางอากาศและอวกาศในสงครามสหรัฐ ฯ – อิรัก เรี ยบเรี ยงจาก Aerospace Centre Paper Number 8: Aerospace Issues from the Iraq War Imponderables and Pointers by Sanu Kainikara, May 2003) นาวาอากาศโท วชิ รศักดิ์ พูสิทธิ์ กล่ าวทั่วไป ความสาเร็ จในการใช้ ขีดความสามารถของกาลังทางอากาศสร้ างความเป็ น “อัมพาต ทางยุทธศาสตร์ ” ให้ กบอิรักเมื่อคราวสงครามอ่าวในปี ๒๕๓๔ นั ้น ทาให้ โลกตื่นตะลึงกับ ั แนวความคิดในเรื่ องการสงคราม ทฤษฎี และบทพิสจน์ใหม่ ที่มีกาลังทางอากาศเป็ นหัวใจใน ู การให้ ได้ มาซึงความสาเร็ จทางทหาร หลังจาก ๑๒ ปี ผ่านพ้ นไป นักการทหารต่างเชื่อมันว่า ่ ่ “กาลังทางอากาศ ” คือ ยารักษาทุกโรคและเป็ นคาตอบของทุกคาถาม ( panacea1) ด้ วย มุมมองเช่นนี ้ ได้ บดผันความเป็ นจริ งสูแนวโน้ มแห่งความเสียงในความพยายามที่จะ ิ ่ ่ เคลือนย้ าย ( Deploy) และใช้ ( Employ) กาลังทางอากาศไปยังพื ้นที่อนโดดเดี่ยว อันตราย ่ ั และแยกส่วนจากกาลังรบส่วนอื่น ๆ ทั ้งหลายทั ้งมวล เนื่องจากความเชื่อที่บอกต่อกันว่า “กาลังทางอากาศคือหัวใจในการเอาชนะสงคราม” สงครามระหว่างสหรัฐ ฯ -อิรัก ครังล่าสุด ได้ มีพฒนาการใช้ กาลังทางอากาศมาก ้ ั ยิ่งขึ ้นไปอีก โดยเฉพาะในเรื่ องของความชัดเจนในแนวทางปฏิบติ ความอ่อนตัวที่ใช้ ได้ ทั ้งใน ั ภารกิจตั ้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ ถงยุทธวิธี ความแม่นยา ขนาดความรุนแรงในการทาลาย และ ึ 1 Panacea – ยาแก้ สารพัดโรค ยาอเนกประสงค์ คาตอบสาหรับทุกคาถามหรื อทุกปั ญหา เทพธิดาแห่งการรักษา (เทพนิยายกรี กโบราณ)
  • 2. ๒ ที่สาคัญที่สดคือ ระยะเวลาในการตอบสนอง ( Response time) เมื่อปี ๒๕๓๔ สหรัฐ ฯ ใช้ ุ เวลาถึง ๓ วันก่อนที่ระเบิดจะถูกปลดจากเครื่ องบินโจมตีเข้ าสูเ่ ปาหมายภาคพื ้นหลังจากที่ ้ ได้ รับการพิสจน์ทราบและชี ้ชัดเปาหมายแล้ ว แต่ในสงครามครังนี ้ ช่วงเวลานับตั ้งแต่การ ู ้ ้ พิสจน์ทราบเปาหมายจนถึงเวลาระเบิดตกใช้ เวลาเพียง ๔๕ นาทีเท่านั ้น ! ู ้ แม้ สหรัฐ ฯ จะประกาศสิ ้นสุดสงครามและการใช้ กาลังขนาดหนักไปแล้ ว แต่การ บูรณะฟื นฟู การจัดระเบียบ และการวางกาลังควบคุมของสหรัฐ ฯ และพันธมิตรจะยังคง ้ ดาเนินต่อไป ถึงแม้ ว่าข้ อมูลและรายละเอียดของการยุทธในครังนี ้จะยังไม่กระจ่างชัดและ ้ เพียงพอที่จะนามาเปิ ดอภิปรายก็ตาม การวิเคราะห์ค้นหาคาอธิบายและศึกษาพฤติกรรม ของสงครามในแต่ละช่วงระยะเวลา ก็ยงมีความจาเป็ นเป็ นอย่างยิ่ง เนื่องจากในแต่ละ ั ช่วงเวลาย่อมก่อให้ เกิดการบันทึกในสิงที่ควรสนใจแตกต่างกันไป และจะสามารถนาไปเป็ น ่ ส่วนประมวลขยายเมื่อต้ องการหาบทสรุปรวมหลังจากที่สถานการณ์ได้ จบสิ ้นจนเข้ าสูสภาวะ ่ ปกติแล้ ว ประเด็นด้ านอากาศ-อวกาศ การศึกษาประวัติศาสตร์ การสงครามเพียงประการเดียวไม่อาจเป็ นตัวชี ้ทางในการทา สงครามให้ ประสบผลสาเร็ จอย่างสมบูรณ์ได้ พื ้นฐานที่แตกต่างกันประการหนึงระหว่างการ ่ ทาสงครามกับอิรักทั ้ง ๒ ครังก็คือ ก่อนเริ่ มสงครามในปี ๒๕๓๔ กองกาลังพันธมิตรยังไม่ ้ สามารถประเมินขีดความสามารถและแนวทางการต่อต้ านของอิรักได้ ว่าจะเป็ นไปในรูปแบบ ใด ทาให้ ต้องประเมินการถูกต่อต้ านจากอิรักไว้ สง ในสงครามปี ๒๕๔๖ นี ้ เห็นได้ ชดว่า ู ั กองกาลังพันธมิตรนาโดยสหรัฐ ฯ มีความได้ เปรี ยบตั ้งแต่เริ่ มต้ น ทั ้งนี ้เนื่องจากอิรักถูกจากัด ในด้ านการพัฒนากาลังทหารมาตั ้งแต่สงครามครังที่แล้ ว กองกาลังพันธมิตรจึงมีความมันใจ ้ ่ ว่าจะได้ รับชัยชนะในสงครามครังนี ้ มีเพียงความไม่แน่ชดในเรื่ องของกรอบเวลาและรูปแบบ ้ ั ของสงครามที่อิรักจะใช้ ตอบโต้ ในคราวนี ้เท่านั ้น ซึงการใช้ กาลังในการแก้ ไขปั ญหาข้ อขัดแย้ ง ่ นี ้ ย่อมต้ องมีปัจจัยที่ไม่สามารถทานายได้ เสมอ ในการวิเคราะห์การใช้ กาลังทางอากาศนี ้จะ ได้ แยกเป็ นหัวข้ อที่ต้องพิจารณาคือ ๑. การครองอานาจทางอากาศ (Control of the Air) ๒. การควบคุมการรบในอากาศ-อวกาศ (Battlespace Control)
  • 3. ๓ ๓. การข่าว, การบินเฝาตรวจ, การบินลาดตระเวน ( Intelligence, Surveillance, ้ Reconnaissance) ๔. การกาหนดเปาหมาย (Targeting) ้ ๕. ความเสียหายข้ างเคียง (Collateral Damage) ๖. ระบบการปองกันทางอากาศ (Air Defence System) ้ ๗. การส่งกาลังบารุง (Logistics Lines) ๘. การใช้ ห้วงอวกาศ (Space) ๙. จังหวะในการปฏิบติการ (Tempo of Operations) ั ๑๐. กฎการปะทะ (Role of Engagement) ๑๑. บทบาทของสือ (Role of Media) ่ ๑. การครองอานาจทางอากาศ (Control of the Air) ความได้เปรี ยบทางอากาศ (Air Supremacy) เป็ นที่ทราบกันแล้ วว่า กาลังทางอากาศและระบบปองกันภัยทางอากาศหลักของอิรัก ้ ถูกทาลายไปตั ้งตั ้งแต่สงครามอ่าวเมื่อปี ๒๕๓๔ การปองกันภาคพื ้นที่กระจายอยู่ทวไปก็ถก ้ ั่ ู จากัดริ ดรอนจากการบีบด้ วยการกาหนด No Fly Zone ทางตอนใต้ และตอนเหนือของ ประเทศ ในสภาพเช่นนี ้ ทาให้ สหรัฐ ฯ สามารถลดภารกิจการบินข่มการปองกันทางอากาศ ้ ของข้ าศึก (Suppression of Enemy Air Defence - SEAD) ในช่วงเริ่ มต้ นของสงครามลงไป ได้ ความได้ เปรี ยบทางอากาศที่ปรากฏอยู่แล้ วตั ้งแต่ก่อนเริ่ มสงคราม ทาให้ กาลังทางบกของ กองกาลังพันธมิตรสามารถเริ่ มดาเนินการรุกคืบได้ ทนทีก่อนได้ รับอานัติสญญาณการเริ่ ม ั ั สงครามจากสหรัฐ ฯ ความได้ เปรี ยบทางอากาศนี ้สังเกตได้ จากการที่ไม่มีเครื่ องบินฝ่ ายอิรัก ขึ ้นปฏิบติการเลยแม้ แต่เครื่ องบินลาดตระเวนหาข่าว อย่างไรก็ตาม แม้ว่าฝ่ ายกองกาลัง ั พันธมิ ตรจะรู้ถึงความได้เปรี ยบอันนี ้ แต่ในการวางแผนการยุทธทางอากาศ นักวางแผนจะ ละเลยขีดความสามารถทางอากาศของฝ่ ายตรงข้ามไม่ได้เลยแม้จะมีเพียงเล็กน้อยเท่าใดก็ ตาม เพราะกาลังทางอากาศแม้เพียงเล็กน้อยย่อมสร้างความเสียหายทีรุนแรงได้เสมอ ่
  • 4. ๔ การป้ องกันฐานบิ น (Airbase Security) การที่ไม่ปรากฎการใช้ กาลังทางอากาศของอิรัก รวมทั ้งความไม่เพียงพอของอาวุธพื ้น สูพื ้นที่อิรักครอบครองอยู่ ทาให้ การปองกันฐานบินของกองกาลังพันธมิตรมีความปลอดภัย ่ ้ ฝ่ ายกองกาลังพันธมิตรเพียงดารงความได้ เปรี ยบทางอากาศที่มีอยู่แล้ วไว้ ให้ ได้ เท่านั ้น การ รักษาความปลอดภัยของฐานบิ นต่างถิ่ น ถือเป็ นความสาคัญลาดับต้น ๆ ในการเตรี ยมกาลัง โดยเฉพาะเมือต้องเตรี ยมการในสนามบิ นต่างถิ่ นและการรวมกาลังกับชาติพนธมิ ตรมีความ ่ ั สลับซับซ้อนมากยิ่ งขึ้น ความพร้อมของฐานบิ น (Airbase Availability) การเข้ าใช้ ฐานบินและห้ วงอากาศ ( Airspace) ในต่างแดนถือเป็ นหัวใจสาคัญในการ วางแผน การขอใช้ พื ้นที่ประเทศใดประเทศหนึงเพื่อตั ้งฐานกาลังเป็ นเรื่ องของการเมือง ่ โดยตรง สิงสาคัญก็คือ นักวางแผนไม่อาจทานายได้ ว่าจะได้ รับความร่ วมมือจากประเทศที่ ่ ต้ องการวางกาลังหรื อไม่ เนื่องจากสถานการณ์เปลียนแปลงได้ ตลอดเวลา ดังนั ้นแผนสารอง ่ หรื อการปรับแผนการวางกาลังอย่างปั จจุบนทันด่วนจึงเป็ นธรรมชาติของสงครามที่ต้องนามา ั พิจารณาเตรี ยมการ การเลือนระยะห่างของฐานบิ นจากพืนทีปฏิ บติการจะส่งผลกระทบ ่ ้ ่ ั ต่อเนืองในเรื ่องของการวางแผนการบิ น สมรรถนะของเครื ่องบิ นทีตองการ การเติมเชือเพลิง ่ ่้ ้ ทางอากาศ ไปจนถึงความอ่อนตัวในการปฏิ บติภารกิ จ เช่น การวางแผนโจมตีดวย ั ้ เฮลิคอปเตอร์ และเครื ่องบิ นโจมตีทางยุทธวิ ธีทีตองแบกอาวุธหนัก ่้ ๒. การควบคุมการรบในอากาศ-อวกาศ (Battlespace Control) ความแออัด (Saturation) ระหว่างปฏิบติการใช้ กาลังทางอากาศในสงครามครังนี ้ กองกาลังพันธมิตรสูญเสีย ั ้ อากาศยานไปจานวนหนึงโดยเฉพาะเฮลิคอปเตอร์ มีเพียง ๒ เครื่ องเท่านั ้นที่ได้ รับรายงานว่า ่ ถูกยิงจากฝ่ ายตรงข้ าม นอกนั ้นสูญเสียด้ วยอุบติเหตุ สภาพอากาศและถูกยิงจากฝ่ าย ั เดียวกัน สิงนี ้แสดงให้ เห็นว่า ในสงครามทางอากาศต่อ ๆ ไป ความแออัดของการใช้ ่ เครื่ องบินในพื ้นที่การรบทางอากาศ ( Battlespace) จะเพิ่มปั ญหาให้ กบนักวางแผนในการ ั แบ่งพื ้นที่ รับผิดชอบและลาดับของกระบวนรบมากยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการนา
  • 5. ๕ อากาศยานไร้ คนขับ ( Unmanned Aerial Vehicles - UAVs) ระบบอาวุธชาญฉลาด (Autonomous Weapons) ที่ตดสินใจได้ ด้วยตนเองมาใช้ ร่วมในการรบด้ วย ปั ญหาเหล่านี ้จะ ั เพิ่มมากยิ่งขึ ้นหากฝ่ ายตรงข้ ามมีการใช้ กาลังทางอากาศ การแบ่งแนวหน้ าของทหารฝ่ ายเรา (Forward Line of Own Troops - FLOT) ไม่ชดเจน และความจาเป็ นที่จะต้ องหวนกลับไป ั ใช้ การปฏิบติภารกิจการสนับสนุนทางอากาศโดยใกล้ ชิดและเฮลิคอปเตอร์ สาหรับการ ั ปฏิบติการรบ ในเมือง ั ความสามารถในการปฏิ บติร่วม (Interoperability) ั การยิงอากาศยานฝ่ ายเดียวกันทาให้ ทกฝ่ ายที่เข้ าร่ วมการรบต้ องกลับมาทบบวนการ ุ ปฏิบติร่วมกันใหม่ทั ้งหมด ปั ญหาเหล่านี ้รวมไปถึงการใช้ อปกรณ์ที่แต่ละชาติมีใช้ การ ั ุ บัญชาการและควบคุม การสือสาร ไปจนถึงการวางยุทธวิธีการรบ ถึงแม้ ว่าชาติที่เข้ าร่ วมใน ่ กองกาลังพันธมิตรจะเคยได้ รับการฝึ กร่ วม / ผสมด้ วยกันมาแล้ วก็ตาม เช่น กองทัพอากาศ อังกฤษและกองทัพอากาศสหรัฐ ฯ ก็ยงเกิดข้ อผิดพลาดในการพิสจน์ฝ่ายขึ ้นได้ หากข้ าศึกมี ั ู กิจกรรมในการปฏิบติการต่อต้ านหรื อการลวงต่าง ๆ ด้ วยแล้ ว การปฏิบติการร่ วมจะเป็ น ั ั จุดเปราะบางที่ทกฝ่ ายต้ องนาปั ญหาที่เกิดขึ ้นเหล่านี ้มา ทบทวนและหาทางแก้ ไขต่อไป ุ ๓. การข่ าว, การบินเฝาตรวจ, การบินลาดตระเวน ( Intelligence, Surveillance, ้ Reconnaissance) กองกาลังพันธมิตรได้ เปรี ยบในเรื่ องการรวบรวมข้ อมูลด้ านการข่าวในช่วงระยะเวลา ๑๒ ปี ที่อิรักอยู่ในความควบคุม นอกจากนี ้การใช้ UAVs ช่วยในการบินเฝาตรวจถือได้ ว่าเป็ น ้ บทบาทสาคัญของการสงครามครังนี ้ การใช้ JSTARS และ AWAC ไปจนถึงดาวเทียมด้ าน ้ การข่าวทาให้ ภารกิจการโจมตีทางอากาศในสงครามครังนี ้มีความโดดเด่นเป็ นอย่างยิ่งใน ้ เรื่ องของการใช้ ข้อมูลใกล้ เวลาจริ ง ( Near Real Time) รถยนต์ทกคันในกรุงแบกแดดถูกจับ ุ ตามองความเคลือนไหว การวิเคราะห์ความเสียหาย (Battle Damage Assessment - BDA) ่ หรื อการจับตามองการฟื นกาลังฝ่ ายข้ าศึกก็สามารถกระทาได้ อย่างต่อเนื่อง ้
  • 6. ๖ ๔. การกาหนดเปาหมาย (Targeting) ้ การเลือกเป้ าหมาย (Target Selection) การเลือกเปาหมายทางยุทธศาสตร์ มีวตถุประสงค์ในผลที่ต้องการอย่างชัดเจน และที่ ้ ั สาคัญคือเปิ ดเผยต่อสาธารณชน การเลือกเปาหมายที่เจาะจง เช่น ตัวผู้นา ที่ทาการของ ้ รัฐบาล ที่ตั ้งกาลังทหารของอิรัก โครงสร้ างภายในของอิรัก ( Infrastructure) ฯลฯ ให้ ผลทาง จิตวิทยาทั ้งทางตรงและทางอ้ อม การโจมตีด้วยอาวุธแม่นยา ( Precision Attacks) ต่อระบบ ต่าง ๆ ภายในอิรักส่งผลให้ การบัญชาการและควบคุมของซัดดัม ฮุสเซ็นล่มสลาย การเลือก เปาหมายการโจมตีอิรักในครังนี ้ แน่นอนว่าต้ องได้ รับอนุมติจากนักการเมืองระดับสูงของ ้ ้ ั สหรัฐ ฯ แม้ ว่าสาธารณชนจะได้ รับการย ้าเสมอว่ากองกาลังพันธมิตร “ไม่ได้รับอิ ทธิ พลในการ ตัดสินใจเลือกเป้ าหมายจากฝ่ ายการเมือง ” และเป็ น การดาเนิน (running) ของสงครามที่ บีบให้ กาหนดเปาหมาย เช่นการไล่ลาเพื่อฆ่า ซัดดัม ฮุสเซ็น อย่างโจ่งแจ้ ง ้ ่ การใช้ประโยชน์ภาคอากาศ (Employment of Air Assets) การใช้ กาลังทางอากาศในสงครามครังนี ้มีประเด็นอันน่าสนใจที่ต้องนามาพิจารณา ้ นันคือ ประการแรก การหวนคืนกลับมาของการใช้ เฮลิคอปเตอร์ โจมตีและการใช้ ภารกิจการ ่ บินสนับสนุนทางอากาศ ( CAS) ซึงเคยเชื่อว่าเป็ นภารกิจไดโนเสาร์ ยคสงครามเวียดนาม ที่ ่ ุ เคยถกเถียงกันว่าไม่ควรที่จะนามาใช้ กนอีกต่อไป เนื่องจากเป็ นภารกิจที่มีความเสียงสูง ั ่ รวมทั ้งระบบอาวุธและการข่าวแบบใกล้ เวลาจริ งได้ พฒนาไปจนไม่จาเป็ นต้ องใช้ อากาศยาน ั เข้ าใกล้ เปาอีกต่อไป ประการที่สอง การพิจารณาเรื่ องประเภทของอากาศยานซึงเคยวาง ้ ่ มาตรฐานไว้ ว่าเครื่ องบินแบบ B-1, B-2 และ B-52 คือเครื่ องบินที่ใช้ โจมตีทางยุทธศาสตร์ ต่อ เปาหมายยุทธศาสตร์ ปั จจุบนเกิดความไม่แน่ชดในการมอบหมายและกาหนดภารกิจ ้ ั ั เนื่องจากเครื่ องบินโจมตีทางยุทธวิธีก็ได้ รับมอบหมายให้ โจมตีเปาหมายที่จดว่าเป็ น ้ ั เปาหมายทางยุทธศาสตร์ ที่มีผลสาคัญต่อการรบเช่นกัน ดังนั ้นการยุทธทางอากาศใน ้ ปั จจุบนจึงต้ องเน้ นในภาพรวมที่ว่า เครื่ องบินทุกรูปแบบสามารถปฏิบติภารกิจทาง ั ั ยุทธศาสตร์ ได้ ตามที่สถานการณ์จะกาหนดและอานวย เพื่อหลีกเลียงปั ญหาการจาแนก ่ ภารกิจการโจมตีทางยุทธศาสตร์ ที่ว่าจะพิจารณาจากแบบของเครื่ องบิน อาวุธ หรื อเปาหมาย ้
  • 7. ๗ องค์ประกอบนภานุภาพ (Organic Air Power) องค์ประกอบของนภานุภาพในสงครามนี ้ยังไม่บรรลุถงประสิทธิภาพที่ต้องการ ทั ้งนี ้ ึ เป็ นผลเนื่องมาจากเงื่อนไขในการปฏิบติการของกองกาลังแต่ละชาติ การขาดการ ั ประสานกันในการใช้ กาลังทางอากาศร่ วมเป็ นปั จจัยสาคัญที่เป็ นขีดจากัดในการใช้ กาลังทาง อากาศ สงครามที่อาจเกิดต่อไปในอนาคต การเพิ่มจานวนของกองกาลังพันธมิตรที่เข้ าร่ วม ในการรบจะก่อให้ เกิดปั ญหาด้ านการบัญชาการและควบคุมในสนามรบอย่างแน่นอน การตอบสนอง (Responsiveness) ประเด็นขีดความสามารถของกาลังทางอากาศในการตอบสนองปรากฏผลสาเร็ จที่ เด่นชัดทั ้งในด้ านการปฏิบติภารกิจระยะไกลและอานาจการทาลายที่ให้ ผลดีเยี่ยม และใน ั อนาคตเมื่อประกอบกับการข่าวแบบแม่นยา ( Precision Intelligence) แล้ ว การตอบสนอง ของการใช้ กาลังทางอากาศทั ้งยุทธศาสตร์ และยุทธวิธีจะสามารถสร้ างความเชื่อถือและ เชื่อมันแก่นกวางแผนในการวางแผนการรบได้ ่ ั ๕. ความเสียหายข้ างเคียง (Collateral Damage) จากข้ อมูลที่เผยแพร่ โดยฝ่ ายสหรัฐ ฯ ความเสียหายทางข้ างของสงครามครังนี ้นับได้ ้ ว่ามีน้อยมากเมื่อเทียบกับการโจมตีทางอากาศของทุกสงครามในศตวรรษที่ ๒๐ อย่างไรก็ ตาม เสียงการประท้ วงและคัดค้ านในความเสียหายที่เกิดขึ ้นก็ยงรุนแรง ทั ้งนี ้สาเหตุอาจ ั เนื่องมาจาก ๑. คาแถลงการณ์จากบุคคลระดับผู้นาของสหรัฐ ฯ ทั ้งภาคการเมืองและการทหาร ได้ สร้ างความคาดหวังให้ แก่สาธารณชนทัวโลกอย่างสูงว่าจะไม่เกิดความเสียหายอื่นใดแก่ ่ ประชาชนชาวอิรักทัวไป นอกจากสิงก่อสร้ างทางทหารที่ใช้ ต่อต้ านสหรัฐ ฯ และผู้นาอิรัก ่ ่ เท่านั ้น ๒. ปั ญหาเกี่ยวกับความเสียหายข้ างเคียงนี ้ แม้ เพียงน้ อยนิดจะกระทบต่อขวัญและ ศีลธรรมที่สาธารณชนไม่สามารถยอมรับได้
  • 8. ๘ ๓. การเผยแพร่ ข่าวสารจาก “สื่ อทันการ (Real Life Media)” ซึงออกอากาศเผยแพร่ ่ ซ ้าแล้ วซ ้าอีกไปทัวโลก โดยเฉพาะภาพเด็กที่ได้ รับบาดเจ็บ และความเสียหายเล็ก ๆ น้ อย ๆ ่ ถูกนามาเชื่อมภาพทาให้ เกิดการ “เกลียดน ้าหน้ า” ต่อการปฏิบติการของสหรัฐ ฯ ั ๔. การใช้ กาลังทางอากาศให้ ผลกระทบต่อความรู้สกของสาธารณชนมากกว่าความ ึ เสียหายที่เกิดขึ ้นในลักษณะเดียวกันจากรถถังหรื อปื นใหญ่ ซึงได้ โจมตีอาคารสถานที่ของ ่ อิรักด้ วยภารกิจในลักษณะเดียวกัน ความเสียหายทางข้ างโดยการโจมตีทางอากาศมีผลทาง จิตวิทยาสูงมาก โดยเฉพาะเมื่อปรากฎภาพของเหยื่อที่บริ สทธิ์ซงได้ รับผลกระทบจากการ ุ ึ่ โจมตี ผลทางจิตวิทยานี ้จะถูกเก็บสะสมและทวีเป็ นความไม่พอใจมากขึ ้นต่อสงครามที่จะ ติดตามมาในอนาคต สหรัฐ ฯ จะหลักเลียงไม่ได้ ต่อผลกระทบทางจิตวิทยาที่จะเกิดขึ ้น ่ นับจากนี ้ไป ๖. ระบบการปองกันทางอากาศ (Air Defence System) ้ สงครามครังนี ้ชี ้ให้ เห็นว่า แม้ แต่ระบบปองกันทางอากาศที่ถือว่าเป็ นสุดยอดของ ้ ้ เทคโนยีที่สหรัฐ ฯ นามาใช้ ก็ยงสามารถถูกก่อกวนให้ ผิดพลาดได้ ด้วย “ความคลุมเครื อของ ั สงคราม ( Fog of War)” ที่เกิดขึ ้นในบางขั ้นตอนของสงคราม ประการแรก การยิง ฮ.ฝ่ าย เดียวกันไม่น่าเกิดขึ ้นได้ ทั ้ง ๆ ที่สหรัฐ ฯ เป็ นฝ่ ายควบคุมสถานการณ์การสู้รบทางอากาศไว้ ได้ ทั ้งหมดอยู่แล้ ว ประการที่สอง แม้ มีบทพิสจน์แล้ วว่ากาลังทางอากาศในเชิงรุกจะนามาซึง ู ่ ผลสาเร็ จตามวัตถุประสงค์ของภารกิจ แต่จดอ่อนของนภานุภาพก็คือการรักษาความ ุ ปลอดภัยของฐานบินในภาวะล่อแหลมขณะสงครามกาลังดาเนินอยู่ โดยเฉพาะในสนามบิน ต่างถิ่นและใกล้ พื ้นที่การรบ รวมทั ้งการสถาปนาความปลอดภัยของฐานบินไม่สามารถ กระทาได้ ถง ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์ ตัวอย่างทั ้งสองประการนี ้ ทาให้ ต้องกลับมาพิจารณากันอย่าง ึ ละเอียด รอบคอบถึงความสมดุลย์เหมาะสมในการมอบหมายและกาหนดภารกิจให้ แก่ กาลังทางอากาศ การปองกันฐานบินที่ใช้ เป็ นฐานต่อกาลัง รวมทั ้งช่องว่างทางเทคโนโลยีใน ้ ยุทธบริ เวณที่สหรัฐ ฯ ไม่สามารถเลือกได้ กรณีที่จรวดนาวิถีพื ้นบ้ านของอิรักที่หลุดรอดเข้ าไป ทาลายกองพันทหารในคูเวตแสดงให้ เห็นชัดถึงช่องว่างในระบบปองกันทางอากาศ ทั ้งนี ้ต้ อง ้ พึงระลึกเสมอว่า ไม่มีระบบปองกันทางอากาศชนิดใดที่จะรับรองได้ ว่าสามารถปองกันความ ้ ้
  • 9. ๙ ปลอดภัยทางจากการถูกโจมตีทางอากาศได้ ๑๐๐ เปอร์ เซ็นต์ โดยเฉพาะเมื่อต้ องเคลือนย้ าย ่ ระบบทั ้งระบบสูพื ้นที่การรบที่มีความล่อแหลม ่ ๗. การส่ งกาลังบารุ ง (Logistics Lines) จุดอ่อน (Vulnerability) การยุทธในครังนี ้ได้ สร้ างแนวความคิดใหม่ในการเคลือนย้ ายกาลังพลขนาดย่อมเข้ า ้ ่ แทรกซึมในแนวต่าง ๆ ๓ แนวในอิรักเพื่อล้ อมกรอบเข้ ากรุงแบกแดด ซึงแตกต่างจาก ่ แนวความคิดเดิมซึงต้ องการการรวมพลพร้ อมแล้ วจึงโหมกาลังเข้ าโจมตี ประเด็นนี ้เองที่ ่ ก่อให้ เกิดปั ญหาในการส่งกาลังบารุงเป็ นอย่างมากในขณะที่กาลังภาคพื ้นรุกคืบหน้ าลึกเข้ า ไปในอิรักและต้ องรอคอยการตัดสินใจประกาศเปิ ดสงครามจากรัฐบาลสหรัฐ ฯ ที่ถกดึงเวลา ู ให้ ยืดเยื ้อออกไป ในพื ้นที่ทะเลทรายหรื อสมรภูมิที่เป็ นพื ้นที่เปิ ดเช่นนี ้ย่อมเป็ นอันตรายต่อทั ้ง กองกาลังและเส้ นทางการส่งกาลังบารุง ในสภาวะการณ์เช่นนี ้กาลังทางอากาศเป็ นขีด ความสามารถเดียวในการให้ การสนับสนุนการลาเลียงขนส่งและการให้ ความคุ้มครอง เส้ นทางลาเลียง อย่างไรก็ตาม ฮ.ติดปื น (Gunship) ดูจะเหมาะสมเป็ นอย่างยิ่งกับบทบาทใน การบิน ลาดตระเวนและการบินคุ้มครอง (Scout & Escort) เส้ นทางลาเลียงภาคพื ้นใน สงครามครังนี ้ ้ การลาเลียงทางอากาศ (Airlift) นอกจากเส้ นทางลาเลียงภาคพื ้นที่ค้ มกันโดยหน่วยแยกของ ฮ.ติดปื นแล้ ว การ ุ สนับสนุนการส่งกาลังบารุงด้ วยการสร้ าง “สะพานทางอากาศ (Air Bridge)” จะเป็ นภารกิจ ของกองทัพอากาศโดยตรง อย่างไรก็ตาม “สะพานทางอากาศ” นี ้ มีความเปราะบางและมี ภาวะการเสียงมาก เนื่องจากมีปัจจัยหลายประการที่สงผลกระทบต่อประสิทธิภาพในการ ่ ่ ดาเนินการ เช่น การควบคุมทางอากาศ (Air Control) ความพร้ อมและเพียงพอของเครื่ องบิน ลาเลียง ความพร้ อมของฐานบินที่มีจากัดและไม่สมพันธ์ต่อการรุกคืบของกาลังภาคพื ้น ั ความปลอดภัยของฐานบินต่างถิ่น สภาพอากาศแบบทะเลทราย หรื อ การขาดเครื่ องช่วย เดินอากาศภาคพื ้นสาหรับเครื่ องบินของกองกาลังพันธมิตรที่ยงไม่ทนสมัย เป็ นต้ น ศัตรู ั ั สาคัญของการลาเลียงทางอากาศคือ ระบบการปองกันทางอากาศแบบเคลือนย้ ายได้ (Man ้ ่
  • 10. ๑๐ Portable Air Defence Systems - MANPADS) เมื่อต้ องปฏิบติภารกิจใกล้ แนวหน้ า ั (Forward Line) การต่อต้ าน MANPADS นี ้เป็ นภารกิจที่กระทาได้ ยากยิ่งในการปองกันทาง ้ อากาศปั จจุบน ั ๘. การใช้ ห้วงอวกาศ (Space) ปั จจุบน การใช้ ห้วงอวกาศเป็ นรากฐานสาคัญและจาเป็ นต่อการรบอย่างปฏิเสธไม่ได้ ั การใช้ กาลังทางอากาศแบบแม่นยา ( Precision) จะให้ ผลสมบูรณ์ไม่ได้ เลยหากขาดการ สนับสนุนจากระบบและข้ อมูลที่เกี่ยวเนื่องจากอุปกรณ์ในอวกาศ แต่เพราะเหตุว่า ขีด ความสามารถทางอวกาศนั ้นยังประกอบไปด้ วยการใช้ ข้อมูลจากดาวเทียมภาคเอกชนด้ วย ดังนั ้น การรักษาความปลอดภัยและการปองกันไม่ให้ ฝ่ายตรงข้ ามลักลอบนาข้ อมูลไปใช้ ้ ประโยชน์ได้ จึงเป็ นเรื่ องที่ต้องดูแลจัดการอย่างใกล้ ชิด การใช้ ห้วงอวกาศในสงครามนี ้เป็ น ก้ าวแรกในการใช้ อวกาศในสงครามทางกายภาพที่เด่นชัด ซึงจะส่งผลให้ แต่ละฝ่ ายต้ อง ่ ครอบครองและรักษาขีดความสามารถด้ านอวกาศเอาไว้ การสือสารผ่านดาวเทียม ระบบ ่ ภาพถ่ายดาวเทียม การจับความเคลือนไหวแม้ รถยนต์เพียงคันเดียว จะเน้ นให้ ่ “การแผ่ กาลังอวกาศ ( Aerospace Power Projection)” ขยายกว้ างออกไป มาตรฐานการใช้ ห้วง อวกาศโดยการนาของสหรัฐ ฯ จะกระจายไปการปฏิบติของกองทัพอากาศทัวโลกในไม่ช้า ั ่ อย่างปฏิเสธไม่ได้ ๙. จังหวะในการปฏิบัตการ (Tempo of Operations) ิ แนวความคิด (Concept) พื ้นฐานแห่งชัยชนะสงครามประการหนึงก็คือ การเลือกและดารงรักษาจังหวะในการ ่ ปฏิบติการอย่างต่อเนื่องด้ วยขีดความสามารถสูงสุดไว้ ตั ้งแต่เมื่อเริ่ มสงคราม การยุทธในครัง ั ้ นี ้มีอตราเร็ วในการรุกคืบของกองกาลังภาคพื ้นเฉลีย ๒๕ – ๓๐ ไมล์ต่อชัวโมง เทียบกับ ั ่ ่ “สงครามอ่าวเปอร์ เซีย ” เมื่อ พ.ศ.๒๕๓๔ ซึงมีอตราความก้ าวหน้ าของกาลังน้ อยกว่า ๑๐ ่ ั ไมล์ต่อชัวโมง การรุกก้ าวหน้ าด้ วยจังหวะและอัตราเร็ วที่เพิ่มขึ ้นนี ้ หมายถึงการลดเวลาใน ่ การตั ้งรับและตัดสินใจจากฝ่ ายตรงข้ ามด้ วยเช่นกัน
  • 11. ๑๑ จังหวะของนภานุภาพ (Tempo of Air Power) กาลังทางอากาศที่มีความคล่องแคล่ว ฉับไวและมีอานาจการทาลายล้ างสูง สามารถ สลายเปาหมายได้ อย่างต่อเนื่องเป็ นระบบ ดังนั ้น กาลังทางอากาศจึงยังคงเป็ นกาลังหลักที่ ้ จะนาไปใช้ “เร่ ง” จังหวะการรบให้ สั ้นและรวดเร็ วยิ่งขึ ้น และขณะเดียวกัน ก็สามารถตัดตอน จังหวะการรบของข้ าศึกไปได้ ในตัว ๑๐. กฎการปะทะ (Role of Engagement) ในช่วงระยะเวลา ๑๐ ปี ที่ผ่านมา การใช้ กาลังทางอากาศในบทบาทของ “การโจมตี ” นั ้นปรากฏเป็ นที่สนใจของสาธารณชนเป็ นอย่างยิ่ง ทั ้งยังมีการถกเถียงกันถึงความเหมาะสม ในการพิจารณาเลือกเปาหมายว่าผิดด้ วยกฏหมายสากลและกฏการปะทะหรื อไม่ อย่างใด ้ รวมไปถึงการก่อให้ เกิดความเสียหายข้ างเคียงด้ วย จากประวัติศาสตร์ ฝังใจของการใช้ กาลัง ทางอากาศในการโจมตีทางยุทธศาสตร์ ซงก่อให้ เกิดความสูญเสียของชีวิตพลเรื อนเป็ น ึ่ จานวนมาก ทาให้ สาธารณชนมีความเห็นต่อต้ านการโจมตีทางอากาศ ( Aerial Attack) โดยเฉพาะการใช้ กาลังทางอากาศในการแก้ ปัญหาความขัดแย้ งทางความคิดอันเป็ นปกติ ธรรมดา หรื ออีกนัยหนึงการใช้ กาลังทางอากาศแก้ ไขปั ญหาที่เกินความจาเป็ นต่อผลที่ ่ ต้ องการได้ รับ ผลของการใช้ กาลังทางอากาศที่มีความแข็งแกร่ งของชาติที่พฒนาแล้ วต่อชาติ ั ที่กาลังพัฒนาซึงมีขีดความสามารถของกาลังทางอากาศด้ อยกว่าจะถูกตานิจากสาธารณชน ่ ทัวโลกมากยิ่งขึ ้น รุนแรงยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะการมีสอข่าวสารต่าง ๆ ที่ประชาชนสามารถรับรู้ ่ ื่ หรื อถูกชักจูงได้ มากยิ่งขึ ้น ประเด็นของการใช้ กาลังทางอากาศเกินกว่าจาเป็ นเพื่อให้ บรรลุ วัตถุประสงค์นี ้ เป็ นสิงที่นกวางแผนต้ องคานึงถึงความพอเหมาะพอควรก่อนที่จะถูกสังคม ่ ั โลกต่อต้ านอย่างรุนแรง ๑๑. บทบาทของสื่อ (Role of Media) ในสงครามครังนี ้ ้ “สื่ อ (Media)” ส่งผลในวงกว้ างต่อความคิดเห็นของสาธารณ ซึงก็มี ่ ทั ้งผลในทางบวกและลบ ผลในทางบวกคือ การปฏิบติการทางอากาศอันรวดเร็ ว แม่นยา ั
  • 12. ๑๒ ความเป็ นมืออาชีพและการใช้ เทคโนโลยีขั ้นสูงทางทหารนั ้น อยู่เหนือความรู้และการวิพากย์ ของสือ ทั ้งยังได้ แสดงถึงแสนยานุภาพที่แท้ จริ งของกาลังทางอากาศให้ เป็ นที่ประจักษ์ ส่วน ่ ผลในทางลบก็คือ ทุกแผนการโจมตีและทุกเปาหมายได้ ถกป่ าวประกาศให้ สาธารณชนและ ้ ู ฝ่ ายตรงข้ ามรับรู้เป็ นสัปดาห์ก่อนการโจมตีจริ ง รวมไปถึงข่าวความสาเร็ จในการเข้ ายึดเมือง ต่าง ๆ หรื อความล้ มเหลวในการเคลือนทัพ ซึงจะส่งผลต่อการรบอย่างยิ่ง โดยเฉพาะหาก ่ ่ ฝ่ ายตรงมีขีดความสามารถมากกว่าที่อิรักมีอยู่ในสงครามครังนี ้ ้ ความคิดเห็นสาธารณชน (Public Opinion) “สือ” สามารถโน้ มน้ าวความคิดของสาธารณชนได้ ในระดับหนึง แต่ความหลากหลาย ่ ่ ของสือเองก็สามารถทาลายความเชื่อถือของสาธารณชนได้ ในขณะที่สถานการณ์ดาเนินไป ่ สือตะวันตกสามารถเร่ งเร้ าความรู้สกเห็นชอบในสงครามแก่สาธารณะได้ ในระดับหนึงเมื่อ ่ ึ ่ สงครามเริ่ มต้ น แต่หลังจากนั ้น ความแตกต่างในความละเอียดอ่อนทางความคิดและ วัฒนธรรม จะเริ่ มชักนาให้ สาธารณชนคานึงถึงความเป็ นจริ งที่อยู่เหนือผลประโยชน์ของ สงคราม ในอนาคต-สงครามและสือจะไม่สามารถแยกออกจากกันได้ ไม่ว่าสงครามนั ้นจะ ่ เกิด ณ หนแห่งใดในโลกก็ตาม นันหมายถึงความคิดเห็นของสาธารณชนจะเข้ ามามีบทบาท ่ ในการตัดสินใจของนักวางแผน ความผิดพลาดเพียงน้ อยนิดในความแตกต่างของสังคมโลก อาจจุดชนวนให้ สงครามนั ้นประสบความล้ มเหลวได้ สรุ ป ในประวัติศาสตร์ ของมนุษยชน นี่คืออีกครังหนึงที่มนุษย์ต้องใช้ กาลังเข้ าทาลายล้ าง ้ ่ ซึงกันและกัน ไม่ว่าสงครามครังนี ้จะมีความถูกต้ องหรื อไม่ก็ตาม บทเรี ยนต่าง ๆ จากสงคราม ่ ้ ในครังนี ้ก็จะต้ องนามาศึกษาและถกแถลงกันต่อไป สงครามในปั จจุบนและอนาคต อาจมิใช่ ้ ั ใครรบกับใครเพียง ๒ ฝ่ าย การสถาปนากองกาลังพันธมิตรในผืนแผ่นดินที่ไม่ค้ นเคย การ ุ ปฏิบติการร่ วม / ผสม การสงครามในระดับมหภาค การเจาะลึกในแต่ละยุทธบริ เวณและการ ั วิเคราะห์ในมุมมองที่แตกต่างอื่น ๆ จะทาให้ นกการทหารสามารถวางหลักการในการใช้ กาลัง ั และเสริ มกาลังให้ มีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ ้น
  • 13. ๑๓ สงครามสหรัฐฯ – อิรัก ครังนี ้ ยังคงเป็ นบทพิสจน์หลักการพื ้นฐานอันไม่เปลียนแปลง ้ ู ่ ของสงครามในการใช้ กาลังทางอากาศเป็ นหลักซึงก็เป็ นความจริ งอันเป็ นสากล บทเรี ยนที่ ่ ต้ องการคือการผนวก (Integration) กาลังทางอากาศเข้ ากับองค์ประกอบของกาลังรบอื่น ๆ ที่มีความแตกต่างกันทั ้งความเป็ นพลวัตร เทคโนโลยี แนวความคิดในการใช้ กาลังและความ นิยมในเหล่าทัพ ซึงองค์ประกอบอันหลากหลายเหล่านี ้ต่างมีความเป็ นเอกลักษ์ เฉพาะตัว ่ อย่างไรก็ตามการใช้ “นภานุภาพ ” จะไม่หยุดอยู่ที่รูปแบบใดรูปแบบหนึงเป็ นการถาวร ่ การนา “นภานุภาพ” ไปใช้ ในอนาคตจะขึ ้นอยู่กบสภาพแวดล้ อมของเหตุการณ์ สถานการณ์ ั และการปฏิบติการในครังนั ้น ๆ อย่างเป็ นเอกลักษณ์เฉพาะตัวเท่านั ้น ั ้ -----------------------------------------------------------------------