SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
ศูนย์ การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
____________________________________________________________

สรุ ปผลการสัมมนา
เรื่ อง
การปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชัยชนะเหนือที่ม่ นของฝ่ ายตรงข้ ามในเวลาอันสัน
ั
ั
้
คุณลักษณะ รากฐานและการประยุกต์ ใช้
ARDO – Achieving Rapid-Dominance (Effect-Based) Operations: Characteristics,
Origins and Implementation
By
Dr.Hanan Shai Shcwartz
โดย นาวาอากาศโท วชิ รศักดิ์ พูสิทธิ์

กล่ าวทั่วไป:
หลักนิยมการปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชยชนะเหนือที่มนของฝ่ ายตรงข้ ามหรื อมีอานาจ
ั
ั
ั่
เหนือฝ่ ายตรงข้ ามในเวลาอันสั ้น ( Achieving Rapid Dominance Operations: ARDO) นี ้
เป็ นทฤษฎีหรื อแนวความคิดในการรบที่ถกนามาใช้ ในสงครามอ่าวเปอร์ เซียครังที่ ๒ (The
ู
้
Second Gulf War) หลักนิยมนี ้ แสดงให้ เห็นถึงการใช้ หน่วยทหารขนาดเล็ก ประสานการ
ปฏิบติกบกองกาลังขนาดใหญ่ในการเข้ ายึดครองที่หมายโดยใช้ เวลาสั ้นที่สด โดยมีจดเด่น
ั ั
ุ
ุ
อยู่ที่ความอ่อนตัวของการปฏิบติการในสภาวะแวดล้ อมที่เปลียนแปลงตลอดเวลา เป็ น
ั
่
แนวทางการจัดกองกาลังสมัยใหม่เพื่อต่อสู้กบฝ่ ายตรงข้ ามทั ้งกองกาลังตามแบบและองค์กร
ั
การก่อการร้ าย ทั ้งนี ้ การได้ รับชัยชนะอย่างรวดเร็ วถือเป็ นสิงสาคัญที่จะช่วยในเรื่ องของการ
่
ประหยัดงบประมาณ ลดการจัดเสริ มทัพและการสูญเสียกาลังพลลงได้
๒

สาเหตุที่ ARDO เป็ นที่กล่าวขวัญถึงในการจัดกาลังของกองทัพสมัยใหม่
เนื่องมาจาก:
๑) ARDO สามารถปรับแนวทางการปฏิบติการให้ เข้ ากับสภาวะแวดล้ อมที่เป็ นพล
ั
วัตร (Dynamic) อันเป็ นคุณลักษณะของสถานการณ์ในปั จจุบนนี ้ได้
ั
๒) ความต้ องการในการจัดเตรี ยมกองทัพเพื่อต่อสู้กบกาลังฝ่ ายตรงข้ ามที่มีลกษณะ
ั
ั
ของกาลังทางทหารทั ้งในรูปแบบปกติและการก่อการร้ าย
๓) ความต้ องการในการลดค่าใช้ จ่ายในการทาการรบเพื่อให้ ได้ ชยชนะ
ั
ARDO มีรากฐานสาคัญอยู่ที่ ความเป็ นมืออาชีพคุณภาพสูงของผู้บัญชาการ
(High Professional Quality of the Commanders) ในทุกระดับชั ้น รวมไปถึงความ
เหนือกว่าทางด้ านเทคโนโลยี โดยได้ รับการแผนแบบเพื่อการไปสูชยชนะต่อฝ่ ายตรงข้ ามที่แม้
่ั
จะมีความเหนือกว่าฝ่ ายเราในหลาย ๆ ด้ าน
ความเป็ นมืออาชีพคุณภาพสูงของผู้บัญชาการ
เป็ นผลเนื่องมาจาก
ปั จจัยพื ้นฐาน ๒ ประการ คือ
๑) รากฐานแห่ งกลยุทธ์ ในการวางแผนร่ วม ( Stratagem-based joint
approach planning) ซึงเป็ นตัวกาหนดและชี ้ชัดในเวลาอันรวดเร็ วว่า สิงใดที่
่
่
เป็ นตัวการผลักดันให้ ฝ่ายตรงข้ ามต้ องต้ องถอยไปอยู่ในจุดที่ไม่สามารถ
ปองกันตนเองได้
้
๒) การปรับกลยุทธ์ ในการกระจายการควบคุม (
Stratagem-oriented
decentralized control) ซึงมีเปาประสงค์ในการมอบอานาจให้ แก่ผ้ ู
่ ้
บัญชาการทุกระดับชั ้น ในอันที่จะสามารถตัดสินใจแก้ ไขปั ญหาฉุกเฉินซึงอาจ
่
เกิดขึ ้นโดยมิได้ เตรี ยมการมาก่อนด้ วยตนเอง อย่างรวดเร็ วและทันต่อ
สถานการณ์ โดยยังคงรักษาความสอดคล้ องในการปฏิบติการกับกองกาลัง
ั
อื่น ๆ
ARDO (EBO) คืออะไร
การศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดในเรื่ อง ARDO หรื อ การปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชยชนะ
ั
ั
หรื อ มีอานาจเหนือฝ่ ายตรงข้ ามในเวลาอันรวดเร็ วนี ้ ถือเป็ นทฤษฎีทางการทหารที่แสดงให้
๓

เห็นถึงแนวทาง แนวความคิดเกี่ยวกับปั จจัย สิงแวดล้ อม และการจัดองค์กรในกระบวนการ
่
วางแผนและตัดสินใจสาหรับฝ่ ายเสนาธิการและผู้บงคับบัญชา (ผู้ บญชาการ) เพื่อนาไป
ั
ั
พิจารณาใช้ ในการดาเนินสงครามให้ ประสบชัยชนะ ในการศึกษาวิเคราะห์นี ้ มีความจาเป็ น
อย่างยิ่งที่จะต้ องสร้ างความเชื่อและความเข้ าใจในนิยามและมุมมองของคาว่า “สงคราม ”
และการเป็ น “ผูบญชาการ ” (หรื อผู้บงคับบัญชา) ที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน
้ ั
ั
เรื่ องของการวางแผนและการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อสถานการณ์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น
เฉพาะหน้ าให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้ องกับสภาวะแวดล้ อมและรูปแบบของ
สงครามที่จะต้ องเผชิญ
สาหรับผู้บญชาการแล้ ว
ั
“ชัยชนะ” ในสงครามถือเป็ นเปาหมายสูงสุดและเป็ นหน้ าที่ที่
้
ผู้บญชาการจะต้ องรับผิดชอบ หน้ าที่ของผู้บญชาการ (
ั
ั
Commander) ดังกล่าวนี ้มี
กระบวนการในการดาเนินการคือ
๑. การตัดสินใจ (To Decide)
๒. การควบคุม (To Control)
๓. การนา (To Lead) และ
๔. การฝึ กซ้ อม (To Train) ให้ มีความพร้ อม
อย่างไรก็ตาม สงครามในยุคปั จจุบน ประสิทธิภาพ ( Effectiveness) และความ
ั
เด็ดขาด ( Decisveness) ใน “ชัยชนะ ” จะเข้ ามามีสวนเกี่ยวข้ องในการวางแผน
่
นอกเหนือจากการใช้ กาลังทาลายล้ างฝ่ ายตรงข้ ามอย่างปฏิเสธไม่ได้
เคลาเซวิทซ์ได้ กล่าวถึงสงครามว่า
“สงคราม คือการปะทะกันระหว่ างความ
ประสงค์ ท่ตรงกันข้ าม ( War is the collision between opposite wills)” ดังนั ้น ในการ
ี
วางแผนเตรี ยมการเพื่อทาสงคราม จึงควรที่จะเริ่ มพิจารณาจากคาว่า “ความประสงค์ (Will)”
หรื อ “ความตั ้งใจ” ที่แตกต่างกันนี ้ก่อน ในอดีต สถาปั ตยกรรมของสงคราม จะมุ่งเน้ นไปยัง
การรบที่เรี ยกว่า “การทาลายล้ างกันให้ สนซาก ( Annihilation)” นันคือ ผู้ชนะ คือผู้ที่เหลือ
ิ้
่
กาลังในสนามรบมากกว่า ทาลายทุกสิงทุกอย่างเพื่อให้ สิ ้นซึงความตั ้งตนอยู่ได้ ทั ้งชีวิตและ
่
่
ทรัพย์สนจนผู้แพ้ ไม่มีทั ้งกาลัง ความสามารถหรื อความเป็ นตัวตนที่จะยืนหยัดต่อสู้ได้ อีก
ิ
ต่อไป แต่การสงครามในปั จจุบน การทาลายล้ างเช่นนี ้ต้ องใช้ กาลังและขีดความสามารถที่
ั
มหาศาลในขณะที่ “ชัยชนะ” คือการเปลียนวัตถุประสงค์ในการทาสงครามของข้ าศึก ดังนั ้น
่
๔

การให้ ได้ ”ชัยชนะ” จึงควรมุ่งเน้ นไปยัง “การหยุดการต้านทานด้วยกาลังทหารจากฝ่ ายตรง
ข้าม เพือมิ ให้เขาได้บรรลุเป้ าหมายทางการเมือง” เท่านั ้น ด้ วยนิยามที่ชดเจนและเป็ นจริ งใน
่
ั
สถานการณ์ของโลกในยุคปั จจุบนนี ้ การทาสงครามจึงเป็ นเพียง
ั
“การทาลายขีด
ความสามารถของข้าศึกมิ ให้สามารถใช้กาลังทางทหารของตนให้เกิ ดประสิทธิ ภาพ” ได้
จากข้ อพิจารณาดังกล่าว ทาให้ คานิยามของ
ARDO คือ “วิธีการที่ทาให้ ข้าศึก
หมดอานาจในการใช้ กาลังทางทหารต่ อต้ านฝ่ ายเรา อันเป็ นผลมาจากการทาลาย
จาเพาะไปยังขีดความสามารถในการทาการรบของข้ าศึก มากกว่ าการทาลายทุกสิ่ง
ทุกอย่ าง ” (A method of bringing enemy’s armed resistance to an end as a
consequence of destroying his capability to fight rather than annihilating him)
ในทางทฤษฎี ARDO จะใช้ พื ้นฐานตามแนวความคิดของเคลาเซวิทซ์ที่กล่าวไว้ ใน
หนังสือ On War ว่า “เมื่อเราใช้ คาว่า ทาลายฝ่ ายข้ าศึก นันหมายถึง การใช้ กาลังฝ่ ายเรา
่
ทาลายเฉพาะกาลังฝ่ ายข้ าศึกเพื่อมิให้ ข้าศึกสามารถต่อต้ านได้ อีกต่อไป เพียงแค่ประการนี ้
ประการเดียวนี่เองเราที่หมายถึง ” ดังนั ้น จะเห็นได้ ว่าคุณลักษณะของ ARDO นี ้มีลกษณะ
ั
ในทางตรงกันข้ ามกับการทาสงครามแบบทาลายล้ างให้ สิ ้นซาก โดยจะมุ่งเน้ นไปยังการให้
ได้ รับชัยชนะอย่างรวดเร็ วและการถนอมรักษาชีวิตที่จะต้ องสูญเสียไปในระหว่างการทา
สงคราม รวมทั ้งความเชื่อที่ว่า “การรบด้ วยสมองย่อมมีประสิทธิภาพกว่าการรบด้ วยกาลัง ”
และด้ วยกาลังที่น้อยกว่าก็สามารถท้ าทายและเอาชนะข้ าศึกที่มีกาลังมากกว่าได้
แนวความคิดหลักในการให้ ได้ มาซึงอานาจเหนือฝ่ ายข้ าศึกคือ
่
การควบคุมข้ าศึก
(Take Control) โดยการลดปั จจัยแห่งอานาจในระบบของข้ าศึก เพื่อให้
๑. ข้ าศึกไม่สามารถใช้ กาลังของตนเพื่อบรรลุเปาประสงค์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
้
๒. ข้ าศึกตัดสินใจที่จะเลิกต่อสู้เนื่องจากความขัดข้ องที่จะต้ องปฏิบติการต่อไป
ั
๓. ข้ าศึกยอมจานน
อย่างไรก็ตาม สภาวะแวดล้ อมของการรบในปั จจุบน มีปัจจัยต่าง ๆ มากมายที่เข้ ามา
ั
เกี่ยวข้ อง รูปแบบของสงครามที่แปรเปลียนจากสงครามตามแบบไปเป็ นสงครามนอกแบบ
่
รวมถึงตัวแปรอีกนานับประการที่นกการทหารจะต้ องนามาใช้ ร่วมในการพินิจพิเคราะห์
ั
Clausewitz, On War, Prinston University Press, p.90, 1976
๕

โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลักษณะของ “สงครามอสมมาตร ( Asymmetric Warfare)” ที่มีรูปแบบ
ของสงครามที่ “ยังความเป็ นมนุษย์ (Human War)” ซึงเป็ นการทาสงครามเพื่อช่วงชิงชัยชนะ
่

The Asymmetric War
“Inhuman” War

“Human” War

Subdue
Demolish
Own
Forces

Enemy
Forces

Subdue

Common Principles
of War

Own
Forces

Enemy
Forces
Demolition!
No
Principles

Principle
of War

Common Values

Values

Sanctity of
Life

Life Wish

Death Wish

Sanctity of
Life

Life Wish

Sanctity of
Life

ระหว่างฝ่ ายเรากับฝ่ ายตรงข้ ามที่ยงคงคานึงในหลักการของสงคราม ( Principles of War)
ั
และคุณค่าแห่งความเป็ นมนุษย์ ( Sanctity of Life) ส่วนสงครามที่ “ปราศจากความเป็ น
มนุษย์ ( Inhuman War)” นั ้น เป็ นการมุ่งหวังที่จะทาลายล้ างให้ อีกฝ่ ายหนึงสูญสิ ้นไป
่
ปราศจากหลักการและปรารถนาซึงชีวิตของฝ่ ายตรงกันข้ าม ข้ อพิจารณาเหล่านี ้มีสวนสาคัญ
่
่
มากในการวางแผน กาหนดรูปแบบ ขนาดของสงครามและวิธีการดาเนินกลยุทธ์ที่จะใช้ ต่อสู้
ซึงผู้บญชาการหรื อนักการทหารในระดับผู้ตดสินใจ ( Decision Maker) จะต้ องนามาใช้ เป็ น
่ ั
ั
ส่วนประกอบในการวิเคราะห์ด้วยเสมอ
๖

พืนฐานของ ARDO (Fundamentals of ARDO)
้
เมื่อเข้ าใจในพื ้นฐานของสงครามกันแล้ วว่า สงครามในปั จจุบนมีองค์ประกอบและ
ั
ปั จจัยที่เกี่ยวข้ องหลายประการ ทั ้งปั จจัยที่นกการทหารมีความคุ้นเคยจากการศึกษา
ั
ประวัติศาสตร์ การสงครามต่าง ๆ ในอดีตกับปั จจัยของการสงครามที่มีรูปแบบเปลียนแปลง
่
ไปในปั จจุบนและอนาคตอันใกล้ เพื่อให้ แนวความคิดของ ARDO ดาเนินการได้ ประสบ
ั
ผลสาเร็ จเป็ นรูปธรรม จึงจาเป็ นต้ องวางพื ้นฐานในหลักการที่ถือเป็ นปั จจัยและเป็ น
องค์ประกอบสาคัญซึงนักการทหารจะนาไปศึกษาวิเคราะห์อย่างใคร่ ครวญ นันก็คือ
่
่
๑. การค้ นคิดวิธีการอันหลักแหลมในกระบวนการการตัดสินใจทางทหาร ( Ingenious
Military Decision Making Process) เพื่อให้ การวางแผนเพื่อสูชยชนะประสบ
่ั
ความสาเร็ จ
๒. การผนึกกาลังในขั ้นสูง (High Synergy) เพื่อให้ การใช้ กาลังของฝ่ ายเราเป็ นไปอย่าง
มีประสิทธิภาพ
๓. ความอ่อนตัวของการบัญชาการ (Flexible Command) เพื่อวางรากฐานใน
กระบวนการการควบคุมและบัญชาการให้ มีประสิทธิภาพและทันต่อสถานการณ์การ
รบที่เปลียนแปลงไป
่
หัวใจหลักของ ARDO (Cornerstones of ARDO)
จากพื ้นฐานของ ARDO ดังที่กล่าวมาแล้ ว องค์ประกอบสาคัญอันเป็ นหัวใจหลักของ
ARDO ที่องค์กรผู้นาไปจาเป็ นต้ องมี เพื่อใช้ เป็ นวิถีหรื อแนวทางนาไปสูการปฏิบติเพื่อให้
่
ั
บรรลุผลก็คือ
๑. หลักนิยมการรบทางทหาร (Common General Warfare doctrine)
หลักนิยมการรบทางทหารสาหรับ ARDO ประกอบไปด้ วยการจัดกาลัง หลักการ
ใช้ กาลังร่ วม ฝ่ ายเสนาธิการร่ วม การเชื่อมโยงระบบเปาหมาย การมอบหมายกาลัง ไปจนถึง
้
กลยุทธ์ (เล่ห์เหลียม) ในการทาสงครามตามขีดจากัดที่ตนมีอยู่ หัวใจหลักอยู่ที่การสร้ าง
่
ความเข้ าใจในความอ่อนตัวเพื่อการปฏิบติงานและใช้ กาลังร่ วมกันตั ้งแต่ระดับกองพัน โดย
ั
ยืดถือเอาผลของการปฏิบติเฉพาะในยุทธบริ เวณหรื อพื ้นที่การรบหนึง ๆ เป็ นหลัก โดยมีผ้ ู
ั
่
บัญชาการที่มีความเชี่ยวชาญ (จากประสบการณ์และการฝึ กฝนอบรมอย่างเข้ มงวด) เป็ นผู้
๗

ควบคุมตัดสินใจ หลักนิยมของ ARDO จะต่างจากหลักนิยมการรบร่ วมทัวไปที่ความอ่อนตัว
่
ของระบบและการจัดองค์กรที่ให้ อานาจแก่ผ้ บญชาการในพื ้นที่การรบ อย่างไรก็ตาม
ู ั
แนวความคิดนี ้จะต้ องปรับให้ เหมาะสมตามสถานะด้ านกาลังของแต่ละประเทศและต้ อง
สร้ างความเชื่อในผลสาเร็ จร่ วมกัน การใช้ หลักนิยมที่ไม่เหมาะสมต่อการจัดกาลังที่ตนเองมี
หรื อการใช้ ยทธวิธีตามรูปแบบโดยไม่มีการปรับแปลงตามความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่
ุ
ต้ องการการช่วงชิงความได้ เปรี ยบต่อฝ่ ายตรงข้ ามก่อน จะก่อให้ เกิดความเสียงและเป็ น
่
อันตราย ดังนั ้น ARDO จึงใช้ ”จังหวะ”ของการรบด้ วยกาลังที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์สงสุด
ู
อย่าง “ทุกวิถีทาง”
๒. โครงสร้ างฝ่ ายเสนาธิการร่ วมตั ้งแต่ระดับกองพัน
(Staff structure from brigadelevel and up)
ประเด็นของการจัดฝ่ ายเสนาธิการร่ วมในทุกระดับนี ้ ถือเป็ นสิงสาคัญประการหนึง
่
่
ที่จะทาให้ ARDO ประสบความสาเร็ จ นันก็คือเป็ นการ “ผนึกกาลัง ” ตั ้งแต่ระดับล่างขึ ้นไป
่
ตั ้งแต่ในพื ้นที่การรบ จนถึงระดับผู้วางแผน การวางโครงสร้ างนี ้จะต้ องมีหลักนิยมหรื อแผน
รองรับเพื่อนาไปปฏิบติใช้ ที่ชดเจน แนวทางในการดาเนินการเพื่อจัดโครงสร้ างฝ่ ายเสนาธิ
ั
ั
การร่ วมนี ้แม้ ปฏิเสธไม่ได้ ว่าจะก่อเกิดปั ญหาในการปฏิบติงานร่ วมกัน แต่การให้ การศึกษา
ั
และการฝึ กฝนเตรี ยมการจะช่วยลดปั ญหาที่เกิดขึ ้นได้ แต่ต้องได้ รับการฝึ กปฏิบติอย่างจริ งจัง
ั
โดยเฉพาะในระดับผู้กาหนดนโยบาย ผู้วางแผนและผู้ตดสินใจ
ั
๓. หลักนิยมการบัญชาการและควบคุมที่ปรับให้ สอดคล้ องกับเปาประสงค์
้
(Aim
Oriented Command and control Doctrine)
การวางหลักนิยมการบัญชาการใน ARDO อาจจาเป็ นต้ องมีการปรับเปลียนไป
่
ตามสถานการณ์ ประเด็นนี ้ถือเป็ นประเด็นสาคัญที่มีการถกเถียงกันเป็ นอย่างมาก
โดยเฉพาะในเรื่ องของระบบ ซึงอาจพิจารณาระบบการควบคุมได้ ๒ ประการคือ
่
“ระบบ
ควบคุมแบบรวมการ ( Centralized Control)” และ “ระบบการกระจายการควบคุม
(Decentralized Control)” ซึงจะมีจดได้ เปรี ยบและเสียเปรี ยบในแต่ละระบบแตกต่างกัน
่
ุ
ดังนี ้

Control Method

Advantage

Disadvantage

Centralized

High synchronization

Slow respond

Decentralized

Fast respond

Low synchronization
๘

ในระบบควบคุมแบบรวมการ ( Centralized Control) จะมีข้อได้ เปรี ยบคือ ผู้
บัญชาการสามารถที่จะรักษาจังหวะและความต่อเนื่องในการปฏิบติการได้ เนื่องจากการ
ั
วิเคราะห์หนทางปฏิบติ การสังการไปจนถึงการใช้ กาลังสามารถดาเนินการไปได้ อย่าง
ั
่
สอดคล้ องและมีเอกภาพ ข้ อเสียเปรี ยบของระบบนี ้ก็คือ การรอผลการปฏิบติและการ
ั
ตอบสนองต่อสถานการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่สถานการณ์มีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ วใน
่
พื ้นที่การรบกระทาได้ ลาช้ า ส่วนระบบการกระจายการควบคุม (Decentralized Control) จะ
่
ตอบสนองต่อการเปลียนแปลงในพื ้นที่ได้ อย่างทันท่วงที โดยผู้บญชาการในพื ้นที่การรบ
่
ั
สามารถตัดสินใจแก้ ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ ้นและมีการเปลียนแปลงเฉพาะหน้ าได้ อย่าง
่
รวดเร็ ว แต่ข้อเสียเปรี ยบก็คือการสร้ างจังหวะของการรบและความสอดคล้ องในการ
ปฏิบติการรบโดยองก์รวมจะลดลง รวมทั ้งต้ องอาศัยขีดความสามารถและประสิทธิภาพของ
ั
ผู้บญชาการในสนามรบเป็ นอย่างสูง ทฤษฎีของ ARDO เชื่อว่าการกระจายการควบคุมโดย
ั
การใช้ ผ้ นาหรื อผู้บญชาการรบที่มีประสิทธิภาพ ด้ วยเล่ห์เหลียมกลยุทธ์เฉกเช่นกับผู้นาทัพ
ู
ั
่
ทางทหารในอดีตจะทาให้ การรบที่มีความเคลือนไหวของสถานการณ์สงสามารถบรรลุ
่
ู
ประสบผลสาเร็ จได้
แนวความคิดของ
ARDO ในเรื่ องของการบัญชาการและควบคุมที่ปรับให้ สอดคล้ อง
กับเปาประสงค์นี ้มีพื ้นฐานทางความคิดในการดาเนินการง่าย ๆ คือ ผู้มีอานาจเป็ นผู้กาหนด
้
เปาหมาย กาหนดอานาจสังการและเชื่อมันในผู้ใต้ บงคับบัญชา ส่วนผู้ใต้ บงคับบัญชาจะเป็ น
้
่
่
ั
ั
ผู้ปฏิบติ ตั ้งแต่การริ เริ่ มหาหนทางปฏิบติ การกาหนดภารกิจ การนาไปปฏิบติอย่างอิสระและ
ั
ั
ั
เชื่อมัน และท้ ายที่สดคือ การอุทิศตนเพื่อจุดมุ่งหมายในระดับสูง
่
ุ
๔. การฝึ กฝนเตรี ยมการที่มีลกษณะเฉพาะในระดับของฝ่ ายเสนาธิการ
ั
(Unique
Training of General Staff Officer)
ทฤษฎีหรื อแนวความคิดอันเลิศหรูจะประสบผลสาเร็ จไม้ ได้ หากปราศจากความ
เข้ าใจ ความเชื่อและการฝึ กฝนอย่างหนักจนกระทังนาไปสูการปฏิบติจริ ง การระดมมันสมอง
่
่
ั
ของผู้นาทางทหารหรื อนักการทหาร เป็ นสิงสาคัญที่กองทัพจะต้ องเตรี ยมการโดยกาหนดเป็ น
่
นโยบาย แนวทางและขั ้นตอนที่เป็ นเอกลักษณ์สาหรับกองทัพของตน การเตรี ยมผู้นามิใช่
เพียงการให้ การศึกษา แต่จะต้ องสร้ างอุดมการณ์และความเชื่อในการอยู่รอดของกองทัพ
๙

และประเทศชาติด้วย ความใกล้ ชิดของบุคลากรในระดับผู้กาหนดนโยบาย ผู้วางแผนและผู้
ตัดสินใจในอันที่จะสร้ างกาลังทั ้งในรูปแบบและนอกรูปแบบเพื่อการรบที่นาชัยชนะมาให้
อย่างรวดเร็ วนี ้ถือเป็ นนวัตกรรมใหม่ที่ประเทศเล็ก ๆ จาเป็ นต้ องแสวงหาหนทางของตนเอง
เพื่อปรับเปลียน ปรับปรุงกองทัพโดยมุ่งเอาประสิทธิผลและความสาเร็ จเป็ นหลัก
่
ความเป็ นไปได้ ในการสร้ างความเชื่อจากหลักการสูการปฏิบติ อาจพิจารณาได้ จาก
่
ั
แบบจาลอง Order of Training ดังต่อไปนี ้
H.Qs
exercises
Planning
exercises
Battle
analysis
Theory
learning

ด้ วยแบบจาลองนี ้ จะเห็นได้ ถงความสาคัญในการเรี ยนรู้และการสร้ างความเชื่อใน
ึ
ทฤษฎีของการทาสงครามแบบ ARDO ซึงนาไปสูการฝึ กวิเคราะห์สงคราม การวางแผนเพื่อ
่
่
การฝึ กใช้ กาลังและท้ ายที่สดคือ การฝึ กซ้ อมรบที่จดโดยส่วนบัญชาการให้ มีความเหมือนจริ ง
ุ
ั
ทั ้งในด้ านการวางแผนและระบบบัญชาการและควบคุมที่มีทั ้งความไม่แน่นอนและแรงเสียด
ทานจากสงคราม ในกระบวนการนี ้จะต้ องให้ ความสาคัญในคุณค่าของไหวพริ บและสติ
ปั ญหาแห่งความเป็ นมืออาชีพด้ วยการศึกษาทฤษฎีและหลักนิยมทางทหาร
(Acquire
professional intellectual values by learning military theory and doctrine) จากนั ้นก็นา
หลักนิยมหรื อทฤษฎีที่ศกษานี ้ไปใช้ ในการวิเคราะห์และศึกษาการสงครามในทางลึกเพื่อให้
ึ
เห็นลักษณะของการนาหลักการหรื อทฤษฎีไปใช้ ให้ เห็นจริ ง แล้ วนาไปฝึ กซ้ อมปฏิบติอย่าง
ั
เสมือนจริ งดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว เมื่อการเตรี ยมความพร้ อมทั ้งการฝึ กศึกษาและการซ้ อม
เป็ นไปอย่างครบถ้ วนทุกกระบวนการแล้ ว จะก่อให้ เกิดความเชื่อมัน การวางโครงสร้ าง
่
๑๐

อานาจในการบังคับบัญชา ซึงเป็ นผลให้ เกิดการอุทิศตนเพื่อเปาหมายในระดับสูงต่อไป ดัง
่
้
ภาพที่แสดงต่อไปนี ้
Training
Professional
mutual trust
Delegation of
authority
Dedication to
superior’s aim

จากแนวความคิดดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว สามารถนามาแสดงในรูปของ “แบบจาลอง
ARDO Diamond” ซึงจะแสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ในพื ้นฐานและหัวใจหลักของ ARDO
่
อันเป็ นแนวทางในการวางรากฐานของ ARDO ได้ ชดเจนขึ ้นดังนี ้
ั
ARDO DIAMOND

Fundamentals
Ingenious
Military Decision Making Process
High
Synergy

*Commanders
*General Staff Branch

Flexible
Command

*Supreme H.Q
Common
General
Warfare
Doctrine

Diamond

General
Aim-Orient
C&C
Doctrine
๑๑

Unique
Cornerstones
Staff training
พืนฐานในกระบวนการวางแผนอันหลักแหลม
้
(Fundamentals of Ingenious Planning)
โดยธรรมชาติของกระบวนการวางแผนทางทหารแล้ ว ไม่มีสงใดสาคัญยิ่งไปกว่า
ิ่
ความหลักแหลมในการค้ นคิด ค้ นหาหรื อแม้ แต่การสร้ างวิธีการ ด้ วยประสบการณ์
จินตนาการและวิจารณญาณของผู้บญชาการรบ ประการพื ้นฐานของผู้บญชาการที่จะนาทัพ
ั
ั
ไปสูชยชนะคือ เจตคติ (Attitude) ทางความคิดในเรื่ องวัตถุประสงค์ของสงคราม ชัยชนะและ
่ั
กลยุทธ์ (Stratagem) หรื อเล่ห์เหลียมในการเอาชนะฝ่ ายตรงข้ าม ด้ วยประสบการณ์ ความ
่
ชานาญและความคิดค้ นของผู้บญชาการนี ้จะแปรเป็ น “เจตนารมณ์ ของผู้บัญชาการ
ั
(Commander’s Intent)” และ “แนวความคิดในการปฏิบัตการ ( Concept of
ิ
Operations)” ซึงเป็ นพื ้นฐานอันสาคัญยิ่งที่จะใช้ เป็ นแนวทางในการนาการรบให้ ได้ ชยชนะ
่
ั
ต่อไป
ในการศึกษาวิเคราะห์พื ้นฐานในกระบวนการวางแผนอันหลักแหลมนี ้ ในอันดับแรก
ผู้บญชาการทหารจะต้ องทาความเข้ าใจในนิยามของคาว่า
ั
“เจตนารมณ์ ของ
ผู้บังคับบัญชา” ให้ ชดเจนและถูกต้ องเสียก่อน ตามคู่มือการรบ FM 101-5 หน้ าที่ ๕-๙ ของ
ั
กาลังปองกันอิสราเอลได้ ให้ ความหมายไว้ ว่า “เจตนารมณ์ ของผู้บังคับบัญชา คือ ความ
้
ประสงค์ ของผู้บังคับบัญชาที่กล่ าวไว้ อย่ างชัดเจนและกระชับถึงสิ่งที่กาลังทหาร
จะต้ องปฏิบัติ เพื่อให้ บรรลุส่ ูสถานะสุดท้ ายที่ต้องการ โดยสัมพันธ์ กับกาลังของ
ข้ าศึกและภูมิประเทศ เจตนารมณ์ นีจะต้ องสามารถเชื่อมโยงระหว่ างแนวความคิด
้
ในการปฏิบัตการ ( Concept of Operations) ไปสู่การปฏิบัตภารกิจ ( Mission) โดย
ิ
ิ
กล่ าวถึง พันธกิจหลัก,ร่ วมกับภารกิจ, เพื่อให้ เป็ นรากฐานแก่ ผ้ ูใต้ บังคับบัญชานาไป
เป็ นจุดตังต้ นในการปฏิบัตภารกิจ เมื่อเกิดสถานการณ์ ท่ไม่ อาจคาดหมายขึนหรือ
้
ิ
ี
้
แนวความคิดในการปฏิบัตการเดิมไม่ สามารถใช้ ได้ ผลอีกต่ อไป ” เจตนารมณ์นี ้ โดย
ิ
ปกติจะอธิบายด้ วยประโยคเพียง ๔-๕ ประโยคและสามารถบังคับใช้ ได้ ในทุกระดับ
ปฏิบติการ อย่างไรก็ตาม ปั ญหาที่ประสบในขั ้นตอนของการกาหนดเจตนารมณ์ของ
ั
ผู้บงคับบัญชานี ้ก็คือ ปั จจัยแวดล้ อมและกระบวนการในการกาหนดเจตนารมณ์ล้วนเป็ นสิงที่
ั
่
๑๒

ก่อร่ างขึ ้นจากความไม่แน่นอน ปราศจากกฎเกณ์หรื อแนวทางอันตายตัวที่ผ้ บญชาการจะ
ู ั
สามารถหยิบไปใช้ เตรี ยมการหรื อวางแผนล่วงหน้ าได้ อย่างสะดวกดาย
ส่วนนิยามของ “แนวความคิดในการปฏิบัตการ ” นั ้นหมายถึง “คาอธิบายถึง
ิ
วิธีการหรือแผนการณ์ ในการใช้ กาลังทหารอย่ างจาเพาะเจาะจง
เพื่อให้ บรรลุ
เปาหมายหรือวัตถุประสงค์ ท่ตงไว้ ...ประเด็นสาคัญของแนวความคิดนีก็คือ
้
ี ั้
้
คาอธิบายวิธีการ ” เช่นเดียวกัน ปั ญหาที่ผ้ บญชาการต้ องตั ้งคาถามเสมอก็คือ วิธีการหรื อ
ู ั
แผนการแบบไหนที่จะนาไปสูการบรรลุวตถุประสงค์ที่ต้องการ และที่ยากยิ่งไปกว่านั ้นก็คือ
่
ั
การเชื่อมโยงระหว่างแนวความคิดในการปฏิบติการให้ สอดคล้ องกับเจตนารมณ์ของ
ั
ผู้บงคับบัญชา
ั
อะไรคือการวางแผนอันหลักแหลมในการกาหนดเจตนารมณ์ ของผู้บังคับบัญชา
เพื่อเป็ นการวางแนวทางหลักในพิจารณากาหนดเจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชา
ั
ปั จจัยที่จะนามาเป็ นพื ้นฐานในการวางแผนอาจประกอบด้ วยคาถามที่มีประเด็นดังต่อไปนี ้
๑. สิงใดที่จะสร้ างแรงกระทบหรื อเป็ นจุดชี ้ขาดต่อการเปลียนแปลงในการ
่
่
“ตัดสินใจ” ของฝ่ ายข้ าศึก
๒. “สถานการณ์ การปฏิบัตการที่ฝ่ายเราต้ องการ ” เพื่อบีบบังคับให้ ฝ่ายข้ าศึก
ิ
ยอมแพ้ ด้วยความไม่ค้ มค่าที่จะฝื นปฏิบติการต่อไปหรื อต้ องประสบความล่มสลายในกาลัง
ุ
ั
ทหารของตน
อะไรคือการวางแผนอันหลักแหลมในการสร้ างแนวความคิดในการปฏิบัตการ
ิ
เช่นเดียวกัน แนวทางหลักในการกาหนดแนวความคิดในการปฏิบติการ อาจได้ จาก
ั
คาถามที่ว่า “จะทาอย่างไร (มีวิธีการอย่างไร) ทีจะทาให้เกิ ดสภาวะการปฏิ บติการทีส่งผล
่
ั
่
กระทบอย่างเด็ดขาดต่อฝ่ ายข้าศึกอย่างต่อเนือง
่
ด้ วยการรวมความพยายามและการ
่
ประกอบกาลังทีกลมกลืนสอดคล้ องในการปฏิบัตการ”
ิ

DART Working Paper #02-4 December 2002, Hicks & Associates,Inc.
๑๓

บทบาทอันเป็ นเอกลักษณ์ ของผู้บัญชาการ
คาถามดังที่กล่าวมาข้ างต้ น อาจดูเป็ นคาถามสามัญที่นกการทหารหรื อผู้บญชาการ
ั
ั
ทหารนามาใช้ หาคาตอบเพื่อเป็ นแนวทางสูการปฏิบติอยู่แล้ วเสมอมา แต่หวใจสาคัญที่
่
ั
ั
ผู้บญชาการจะต้ องมีหรื อสร้ างให้ บงเกิดแก่ตนเองคือ การค้ นหาสภาวะปฏิบัตการที่เป็ น
ั
ั
ิ
เอกลักษณ์ และเหมาะสมในสถานการณ์ จาเพาะนัน ๆ ซึงถ้ าไม่สามารถค้ นคว้ าหา
้
่
บทเรี ยนหรื อแนวทางตัวอย่างได้ ผู้บญชาการจะต้ อง ประดิษฐ์ คิดค้ นมันขึนมาเอง และนี่
ั
้
คือความเชี่ยวชาญที่ต้องการสาหรับการเป็ นผู้บญชาการในสนามรบ ส่วนการหาหนทางใน
ั
การปฏิบติ (Courses of Action) และการกาหนดรายละเอียดวิธีปฏิบติการนั ้นจะเป็ นหน้ าที่
ั
ั
ของฝ่ ายเสนาธิการโดยตรง ผู้บญชาการทหารที่ได้ รับการจารึกไว้ ในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะ
ั
เป็ น อเล็กซานเดอร์ มหาราช ฮานนิบาล นโปเลียน หรื อ รอมเมล์ ต่างเป็ นผู้ที่ค้นพบหรื อ
คิดค้ นสภาวะปฏิบติการในสนามรบอันเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและสามารถนาทัพไปสูชยชนะ
ั
่ั
มาแล้ วทั ้งสิ ้น เซอร์ วินสตัน เชอร์ ชิล ได้ กล่าวไว้ ว่า “สงครามสามารถเอาชนะได้ดวยการ
้
ประหัตประหารและกลยุทธ์ นายทหารทียิ่งใหญ่ย่อมเลือกการแสวงหากลยุทธ์ เพือชัยชนะ
่
่
มากกว่าการใช้กาลังเพือฆ่าฟั นกัน ” ข้ อคิดเหล่านี ้จะเป็ นสิงยืนยันแนวคิดของ ARDO และ
่
่
กระตุ้นให้ ผู้บญชาการแสวงหายุทธวิธีเพื่อเอาชนะด้ วยประสบการณ์ ด้ วยกาลังทัพที่มีอยู่
ั
อย่างเป็ น ไปได้ มากกว่าการแสวงหายุทโธปกรณ์และอาวุธราคาสูงที่มิอาจเป็ นไปได้
ต่อคาถามที่ว่า การปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชยชนะหรื อมีอานาจเหนือที่มนฝ่ ายตรงข้ าม
ั
ั
ั่
ในเวลาอันสั ้น ( Rapid Dominance: RD) ตามทฤษฎีของ ARDO เหตุใดจึงมิได้ ม่งเน้ นหรื อ
ุ
ให้ ความสาคัญในเรื่ องของ “การข่าว (Intelligence)” และ “การใช้ เทคโนโลยีด้านระบบอาวุธ
และระบบบัญชาการและควบคุมชั ้นสูง ” เลย ยกตัวอย่างการศึกษาเรื่ อง RDD ของ
สหรัฐอเมริ กา ซึงมุ่งเน้ นการปฏิบติการไปยังการสานรวม (Integrate) ของยุทธศาสตร์ การรบ
่
ั
เทคโนโลยีและนวัตกรรมการรบอันประกอบไปด้ วย ความรู้อย่างสมบูรณ์ด้านการข่าวทั ้งฝ่ าย
เรา ฝ่ ายข้ าศึกและสภาวะแวดล้ อมของสงคราม ( Complete Knowledge of Self,
Adversary and Environment) จากเทคโนโลยีด้านการข่าวชั ้นสูง, การควบคุมสภาวะ
แวดล้ อม ( Control of Environment) ด้ วยระบบอาวุธ ( Weapons System) แบบของอาวุธ
กับเทคโนโลยีลองหน ( Weapons Platforms with Stealth Technology) และระบบหุ่นยนต์
่
(Robotics System), การสร้ างความรวดเร็ ว ( Rapidity) จากเทคโนโลยีของระบบ Sensor
๑๔

ระบบสือสารและคอมพิวเตอร์ , และการปฏิบติการอันเฉียบขาดหลักแหลม ( Brilliance of
่
ั
Execution) องค์ประกอบดังที่กล่าวมานี ้จะนาไปสูสภาวะการตะลึงงันและหวาดหวัน
่
่
(Shock and Awe) ซึงจะส่งผลให้ ฝ่ายตรงข้ ามยอมจานนต่อความต้ องการของฝ่ ายเราได้
่
อย่างรวดเร็ ว
คาอธิบายของ ARDO ในเรื่ องนี ้อยู่ที่คาถามที่ว่า “หากประเทศของท่ านจาเป็ นที่
จะต้ องรบเพื่อรักษาผลประโยชน์ เกียรติภมิและศักดิ์ศรีของชาติ โดยที่ท่านไม่ มี
ู
เทคโนโลยีท่ก้าวหน้ าอันใดเลย รวมทังไม่ มีข้อมูลด้ านการข่ าวหรือการข่ าวสรุ ปว่ า
ี
้
กาลังของท่ านไม่ อาจเปรียบเทียบกับฝ่ ายตรงข้ ามได้ ท่ านจะสู้หรือไม่ ?” คาตอบที่
น่าจะเป็ นไปได้ มากที่สดก็คือ “ต้ องสู้” แต่จะ “สู้ อย่างไร” ใช่หรื อไม่ ผลของเทคโนโลยีนั ้นเป็ น
ุ
เพียงการสร้ างมือที่ยาวขึ ้นหรื อสายตาที่ยาวขึ ้น แต่ทฤษฎีของ ARDO จะนานักยุทธศาสตร์
จากจุดสูงสุดคืนสูสามัญ ( Back to Basic) ของการรบ ที่กลยุทธ์และเล่ห์เหลียมครองความ
่
่
เป็ นเจ้ าในสนามรบโดยการ “ฉวยโอกาส ” ด้ วยหลักการหรื อแนวความคิดนี ้จะทาให้ ARDO
สามารถนาไปใช้ ได้ ในทุกสมรภูมิตั ้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ ยุทธวิธี รวมไปถึงการรบ
นอกแบบ สงครามกองโจรไปจนถึงการก่อการร้ าย อย่างไรก็ตามแนวความคิดทั ้ง ๒ ด้ านคือ
ทั ้งของสหรัฐ ฯ และอิสราเอลมีสงที่คล้ ายคลึงกันคือ การมุ่งเปาหมายการโจมตีไปยังความ
ิ่
้
มุ่งมันและขีดความสามารถในการรบของฝ่ ายข้ าศึก ( Adversary’s Will and Ability to
่
Fight) ทั ้งทางกายภาพและทางจิตวิทยา รวมทั ้งความ “หลักแหลม ( Brilliance)” ในการใช้
ระบบของกาลังที่ตนเองมีอยู่ และที่สาคัญคือ “การเรี ยนรู้ทีจะสร้างอิ ทธิ พลหรื อควบคุมความ
่
ประสงค์ของฝ่ ายตรงข้ามด้วยกาลังของฝ่ ายเราทีมีอยู่ได้เช่นไร ” คงเหลือเพียง “วัฒนธรรม
่
ทางทหาร (Culture) และธรรมเนียมการรบ (Tradition)” เท่านั ้นที่แตกต่างกัน
ทฤษฎี ARDO ของอิสราเอลยังชี ้ให้ เห็นอันตรายของเทคโนโลยีว่า หนทางที่จะสู้กน
ั
ระหว่างเทคโนโลยีกบเทคโนโลยีของทั ้งสองฝ่ ายนั ้นเป็ นไปไม่ได้ เนื่องจากจะต้ องมีฝ่ายหนึงที่
ั
่
นาหน้ าอยู่เสมอ การยึดถือเทคโนโลยีที่มากเกินความจาเป็ นคือจุดอ่อนที่ฝ่ายข้ าศึกเรี ยนรู้ได้
เพราะการใช้ เทคโนโลยีก็คือการปรากฏตัวของยุทธวิธีการรบ เทคโนโลยีได้ เปลียนศิลปะแห่ง
่
การสงคราม (Art of War) เป็ นประดิษฐ์ แห่งสงคราม ( Craft of War) เพิกเฉยในสายสัมพันธ์
ของคุณภาพทางอารมณ์และความสาคัญในการบัญชาการและควบคุมด้ วยจิตวิญญาณของ
ความเป็ นมนุษย์ รวมทั ้งเป็ นการสร้ างผู้บงคับบัญชาในรูปแบบ “สถาปนิก ”(Engineer Model
ั
๑๕

of Command) มากกว่าผู้บงคับบัญชาในรูปแบบแห่ง “ปรัชญา” (Philosophy Model of
ั
Command)
หลักการเพื่อการก้ าวไปสู่ความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ว
๑. แบบจาลองหลักการเพื่อการก้ าวไปสู่ความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ว
ผู้บญชาการทหารทัวไปย่อมเข้ าใจในพื ้นฐาน ทฤษฎีหรื อขั ้นตอนการรบอย่างถ่องแท้
ั
่
อยู่แล้ ว อย่างไรก็ตาม การนาแนวความคิด ทฤษฎี ขั ้นตอนหรื อหลักการมาสูการออก
่
แบบจาลองเพื่อให้ เห็นภาพโครงสร้ างที่ชดเจน ถือเป็ นสิงสาคัญในอันที่จะสร้ างความเข้ าใจ
ั
่
และความเชื่อที่เป็ นอันหนึงอันเดียวกันสูการยอมรับในแวดวงทหารและการสงคราม
่
่
ARDO (EBO) victory – Principle stages
Stage 5 - Political Victory
„ Realization of National Interests
„ The elimination of political Resistance
Stage 4 - Military Victory
„ Achieving the Military Goals
„ Elimination of Military Resistance
Stage 3
„ Capitulation
Stage 2
„ Decision ‟ to give up
„ Futility in continued combat
Stage 1
„Physical helplessness
„System tipping of balance
Depriving enemies ability to operate his forces as an
effective system resulting loosing control (dominance)
over vital (dominant) assets

Physical annihilation
of the enemy’s forces

แบบจาลองหลักการเพื่อการก้ าวไปสูความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ วนี ้
่
เริ่ มด้ วยการตัดขีดความสามารถของข้ าศึกไม่ให้ ใช้ กาลังอย่างเป็ นระบบและเกิด
๑๖

ประสิทธิภาพ อันจะเป็ นผลให้ เกิดการสูญเสียการควบคุมโดยเฉพาะในจุดของผลประโยชน์
และอานาจสาคัญของฝ่ ายข้ าศึก ทั ้งนี ้จะไม่ใช่การทาลายล้ างทางกายภาพในกาลังของฝ่ าย
ข้ าศึก ในขั ้นที่ ๑ จากการสร้ างสภาวการณ์ดงกล่าว จะส่งผลกระทบต่อเนื่องให้ เกิดความไม่
ั
สมดุลย์ในระบบของข้ าศึกและเกิดการหมดทนทางทางกายภาพที่จะใช้ ทาการสู้รบเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงค์ของตนเอง ในขั ้นที่ ๒ ข้ าศึกตัดสินใจที่จะหยุดการปฏิบติการเนื่องไม่บงเกิดผล
ั
ั
หรื อประโยชน์อนใดที่จะทาการสู้รบต่อไป ขั ้นที่ ๓ คือการยอมจานนและทาสัญญายอมแพ้
ั
ของข้ าศึก จากนั ้นคือการประกาศชัยชนะทางทหาร ( Military Victory) ในขั ้นที่ ๔ และ
ท้ ายที่สดในขั ้นที่ ๕ คือ การได้ รับชัยชนะทางการเมือง (Political Victory)
ุ
๒. การผนึกกาลังในขันสูง (High Synergy)
้
การใช้ กาลังโดยการผนึกกาลังทั ้งมวลนี ้ มีวตถุประสงค์เพื่อการเอาชนะฝ่ ายตรงข้ าม
ั
อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและด้ วยทรัพยากรอันจากัด อันเป็ นผลมาจากการสานความ
ร่ วมมืออย่างเป็ นจังหวะในการเข้ าทาการรบทั ้งในเชิงรุกและเชิงรับ
ดังที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น ทฤษฎีการผนึกกาลังนี ้ ถือเป็ นที่สดในการระดมสรรพกาลัง
ุ
เข้ าสูสงครามอย่างมีประสิทธิภาพ มีโครงสร้ างที่ใช้ ค ้าจุน เกื ้อกูล สนับสนุนและปองกันซึงกัน
่
้
่
และกันทั ้งในระบบรวมและในลักษณะการตัดสินใจและยืนหยัดอย่างเป็ นเอกภาพใน
สนามรบ มีฝ่ายเสนาธิการร่ วมที่ทั ้งร่ วมคิด ร่ วมกิน ร่ วมนอนและร่ วมใจในการสนับสนุนกาลัง
ในส่วนของตนผนวกเข้ าสูการรบตั ้งแต่ระดับย่อยจนถึงระดับใหญ่ การนาแนวความคิดไปสู่
่
การปฏิบติอาจเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่าย แต่การสู้รบที่มีลกษณะของการรุกคืบ การโจมตีและยึด
ั
ั
ครองเป็ นจุดดังเช่นในสงครามสหรัฐ ฯ ‟ อิรักครังล่าสุด ได้ พิสจน์ถงการผนึกกาลังทั ้งทางบก
้
ู ึ
ระบบอาวุธจากเรื อ การใช้ กาลังทางอากาศ การส่งกาลังบารุง การบินคุ้มครองเพื่อการรุกคืบ
และการโจมตีตามแบบเพื่อเข้ ายึดเมืองและพื ้นที่ตามเส้ นทางนั ้นได้ รับผลสาเร็ จอย่างน่า
พอใจ โครงสร้ างการจัดการถือเป็ นสิงสาคัญที่ผ้ บญชาการหรื อผู้ที่มีอานาจตัดสินใจจะต้ อง
่
ู ั
ออกแบบให้ มีความอ่อนตัวและเกิดการประสานสอดคล้ องในกาลังทุกรูปแบบที่ตนมีให้
สามารถมุ่งไปยังเปาหมายหรื อเจตนารมณ์ที่ต้องการให้ จงได้
้
๓.ความอ่ อนตัวในการบัญชาการ (Flexible Command)
๑๗

ความอ่อนตัวในการบัญชาการมีวตถุประสงค์เพื่อให้ เกิดผลตอบสนองจากการ
ั
ปฏิบติการร่ วมกับการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ ว โดยต้ องรักษาการผนึก
ั
กาลังให้ คงที่แม้ ในยามที่เกิดความไม่แน่นอนของสถานการณ์หรื อแม้ กระทังขณะถูกจู่โจมจน
่
เสียกระบวนการรบ การธารงรักษาเปาหมายถือเป็ นสิงสาคัญและจะได้ มาจาก “เจตนารมณ์
้
่
ของผูบงคับบัญชารวมกับแนวความคิดในการปฏิ บติการ (เจตนารมณ์บวกวิ ธีการ)” หลักการ
้ ั
ั
นี ้มีความสาคัญอยู่ที่ความอ่อนตัว อันเป็ นผลจากความต้ องการที่จะรบให้ เร็ วในขณะที่
ธรรมชาติของสงครามคือ การที่ไม่สามารถคาดหมายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ ้นได้ (ในการ
วิเคราะห์จะตัดตัวแปรเรื่ องการข่าว เพื่อให้ เห็นถึงขีดความสามารถต่าสุดที่ฝ่ายเรามี) ดังนั ้น
การเลือก “จังหวะ” ที่เหมาะสมที่สดเพื่อให้ ได้ ชยชนะและการโจมตีไปยังจุดอ่อนของข้ าศึกจึง
ุ
ั
เป็ นสิงจาเป็ นอย่างยิ่งในแนวทางของ ARDO
่
กระบวนการวางแผนอันหลักแหลม (Ingenious Planning)
กระบวนการความคิดอันชาญฉลาด (Ingenious Thinking)
เป็ นที่ทราบดีว่า การแปลงศิลปเป็ นศาสตร์ โดยเฉพาะในด้ านการทหารและการ
์
สงครามนั ้น เป็ นสิงที่มีความยากลาบากและอาจเป็ นไปไม่ได้ เนื่องจากปั จจัยที่เกี่ยวข้ องใน
่
การสงคราม ความคลุมเครื อของสงคราม ( F o g o f W a r) และความติดขัดในสงคราม
(F r i c t i o n) นั ้นจะบดบังให้ เกิดความไม่แน่นอนของสถานการณ์ ซึงส่งผลอย่างสูงต่อการ
่
วางแผนและการตัดสินใจของผู้บงคับบัญชา อย่างไรก็ตามกระบวนการหรื อแนวความคิดที่
ั
จะกล่าวเป็ นลาดับต่อไปนี ้ อาจใช้ เป็ นวิถีทางหรื อพื ้นฐานในการพิจารณาเพื่อสร้ าง
แนวความคิดในการเตรี ยมการและวางแผนการรบต่อไป
๑. ชี ้ชัดในระบบของข้ าศึกให้ ได้ (ลักษณะและขอบเขตการจัดการของข้ าศึก) ทั ้งนี ้
จะต้ องตั ้งคาถามที่ว่า “สิ่งใดทีจะลดแรงจูงใจในการสูรบของฝ่ ายข้าศึกลงได้ ” และ “จะลดขีด
่
้
ความสามารถของข้าศึกได้อย่างไร” ในประเด็นนี ้ฝ่ ายเสนาธิการจะต้ องร่ างหนทางปฏิบติใน
ั
ทุกกรณีที่เป็ นไปได้ เพื่อนาไปเสริ มต่อเจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชาเพื่ออนุมติหนทางปฏิบติ
ั
ั
ั
ที่ดีที่สดต่อไป
ุ
๒. ชี ้ชัดในระบบกาลังหลักของข้ าศึก (จุดศูนย์ดล, แหล่งของขีดความสามารถ)
ุ
๓. ชี ้ชัดจุดด้ อยอันเป็ นอันตรายในกาลังหลักของฝ่ ายข้ าศึก
๑๘

๔. ชี ้ชัดจุดอ่อนอันเป็ นอันตรายที่ข้าศึกใช้ ปองกันจุดด้ อย ประเด็นนี ้ผู้บญชาการ
้
ั
จะต้ องค้ นหาจุดอ่อนของฝ่ ายข้ าศึกให้ ได้ หรื อมิฉะนั ้นจะต้ องสร้ างจุดอ่อนให้ แก่ฝ่ายข้ าศึก
ด้ วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การใช้ การลวง (Deception) เป็ นต้ น
๕. มุ่งเน้ นกาลังหลักของฝ่ ายเราไปยังจุดอ่อนดังกล่าวจนเกิดการสมดุลย์ในการรบ
(Neutralize) ซึงจุดนี ้จะเป็ นจุดที่ฝ่ายข้ าศึกจะต้ องพิจารณาเพื่อปรับเปลียนความประสงค์
่
่
หรื อตัดสินใจที่จะยุติการรบต่อไป
๖. ตัวอย่างของแนวความคิดหรื อลาดับขั ้นตอนเพื่อการให้ ได้ ชยชนะอย่างเด็ดขาด
ั
อาจประกอบไปด้ วยยุทธวิธีต่าง ๆ เช่น
๖.๑ การทาให้ ข้าศึกอ่อนกาลังลงด้ วยวิธีการลวง
๖.๒ การโดดเดี่ยวกาลังข้ าศึก
๖.๓ การประกบติดข้ าศึก
๖.๔ การตัดสายการส่งกาลังบารุง
๖.๕ การมุ่งกาลังไปยังจุดอ่อนของข้ าศึก
๖.๖ การสร้ างความสับสนในการปองกันของฝ่ ายข้ าศึก
้
๖.๗ การรักษาสายการบัญชาการของฝ่ ายเรา
๖.๘ ตัดสายการบังคับบัญชาฝ่ ายข้ าศึก
๖.๙ การจัดกระบวนรูปแบบในการโจมตีโดยวางกาลังหลักไปยังจุดศูนย์ดลทาง
ุ
ยุทธศาสตร์ และกาลังรองไปยังระดับปฏิบติการและยุทธวิธี
ั
๖.๑๐ การวางแผนการโจมตีแบบคู่ขนาน ( Paralysis) ด้ วยกาลังทางบก กาลัง
ทางเรื อและกาลังทางอากาศโดยจัดลาดับการเผชิญหน้ ากับฝ่ ายข้ าศึกตามขีดความสามารถ
ของระบบอาวุธที่มีจากระยะไกลมายังระยะใกล้
ทั ้งนี ้ในกระบวนการดาเนินกลยุทธ์ตามแนวทางเหล่านี ้ ผู้บญชาการจะต้ องระลึก
ั
และคานึงถึงเปาหมายของการรบอยู่ตลอดเวลา
้
๑๙

แนวความคิดในการจัดระบบสาขาเสนาธิการร่ วม (General Staff Branch)
ประเทศที่มีกาลังรบจากัดทั ้งทางด้ านเทคโนโลยี ขีดความสามารถ กาลังพลและ
งบประมาณ จะต้ องมีการสร้ างระบบหรื อนวัตกรรมการรบใหม่เพื่อให้ สามารถนาขีด
ความสามารถที่ตนเองมีไปใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ในการจัดโครงสร้ างนี ้
กระบวนการวางแผนถือได้ ว่าเป็ นสิงสาคัญหรื อเป็ นหัวใจของการรบ การระดมความคิดและ
่
มันสมองของอานาจจากทุกเหล่าทัพเพื่อการใช้ กาลังอย่างประสานสอดคล้ องโดยลดปั ญหา
การปฏิบติการร่ วมเป็ นสิงที่นกยุทธศาสตร์ หรื อนักการทหารทุกคนต้ องการ การปรับเปลียน
ั
่ ั
่
รูปแบบองค์กรนี ้ต้ องอาศัยการศึกษาแนวคิดและวิธีการอย่างละเอียดรอบคอบ พิจารณาผลดี
เปรี ยบเทียบกับผลเสีย เมื่อได้ ข้อสรุปแล้ วจึงตัดสินใจดาเนินการปรับเปลียนรูปแบบของ
่
องค์กร การนา ARDO ไปประยุกต์ใช้ มิใช่การปรับเปลียนรูปแบบขององค์กร แต่เป็ นการ
่
จัดการเพื่อให้ เกิดการประสานการดาเนินการให้ เกิดความอ่อนตัวในการบัญชาการและ
ตัดสินใจ โดยมอบอานาจให้ แก่ผ้ บญชาการและฝ่ ายเสนาธิการที่ได้ รับการฝึ กฝนร่ วมกัน
ู ั
มาแล้ วนาไปปฏิบติให้ เกิดประสิทธิภาพอย่างเป็ นรูปธรรม
ั
แนวความคิดในการจัดรูปแบบองค์กรเพื่อเตรี ยมการรบ พิจารณาแบ่งออกได้ เป็ น ๒
ส่วนง่าย ๆ คือ ส่วนการรบ ( Combat Effort) และ ส่วนสนับสนุนธุรการ ( Administration
Support Effort)
General Staff Branch

Combat Effort
Combat Echelon
Combat Support Echelon

War Room
Headquarter
Admin. Branch

Administrative support Effort

Logistic
Manpower

การจัดฝ่ ายเสนาธิการสาขา ( General Staff Branch) ในแนวความคิดของ ARDO
จะแบ่งออกเป็ นส่วนรับผิดชอบดังนี ้ คือ
Intelligence, Engineering, Signal /
๒๐

Communications, Logistics, Man Power & Personnel, Air Liaison Officer และ
Artillery
Commander

Artillery

Intelligence

General
Staff
Branch

Engineering

Signals/
Communica
tions

Air Liaison
Officer

Manpower
&
Personnel

Logistics

จากการจัดฝ่ ายเสนาธิการสาขาของแต่ละเหล่าทัพนี ้จะนามา “ผนึกกาลัง ” ในรูปแบบ
ของโครงข่ายฝ่ ายเสนาธิการร่ วมดังนี ้

The General Staff (GSO) – Synergist – Integral Constant “Jointness”
Joint Supreme GHQ
BGHQ

GSC

Inf

OGHQ
Strategic
Operational
Tactical
Integration Axis ‟
Operation chain

Eng

Sig

Log

Horizontal High Harmony
GSB

“Backbone”

Services chain
Differentiation
Axis - Building
Army
Navy
Air Force
๒๑

จุดสาคัญหลักของโครงข่ายนี ้คือ แกนของฝ่ ายเสนาธิการ ( General Staff Core:
GSC) ซึงจะเชื่อมโยงแนวความคิดในการทาการรบจากฝ่ ายเสนาธิการร่ วมในกองบัญชาการ
่
ทหารสูงสุดลงมายังฝ่ ายเสนาธิการร่ วมสาขาในพื ้นที่การรบตั ้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ
และยุทธวิธี ซึงในแต่ละระดับก็ยงประกอบไปด้ วยฝ่ ายเสนาธิการของแต่ละส่วนที่คิดร่ วมกัน
่
ั
อย่างสมานฉันท์
ในการปฏิบติงานร่ วมกันนี ้ “นักผนึกกาลัง ” (Synergist) หรื อฝ่ ายเสนาธิการร่ วม
ั
จะต้ องได้ รับการศึกษาหลักนิยม ทฤษฎีสงคราม วิเคราะห์สงคราม การฝึ กฝนในการใช้
ความคิดวางแผนและฝึ กซ้ อมด้ วยเกมส์สงครามที่มีสถานการณ์เสมือนจริ ง จนสามารถ
ปฏิบติงานร่ วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพดังที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น
ั
การออกแบบห้ องยุทธการหรื อ War Room ก็มีสวนสาคัญที่จะช่วยให้ การ
่
ประสานงาน การประชุมเร่ งด่วนเพื่อปรับเปลียนการปฏิบติการเป็ นไปด้ วยความสะดวก
่
ั
รวดเร็ ว ทั ้งนี ้คณะทางานจะต้ องคานึงถึงและยึดถือความง่ายในการปฏิบติการไว้ เป็ นหลัก
ั
ตัวอย่างในการออกแบบ War Room อาจจัดได้ ในลักษณะดังนี ้

War room Structure
INTEL

Central Control desk
XX

EC

Conference Area
Staff and Fire Support Positions
ARTY
AF
ADA

AH
๒๒

Main Control Position in the War Room
Map Board
Operational Maps
General INTEL

COMM Operator
COMM
POST

Operational Maps
Main INTEL

Aerial Photos

War Room OPS Officer

OPS Log

“White”
Map

War Diary

Situation
Map

Chief of Staff

COMM
POST

Tables:
Unit Status,
Reports and
Orders

Intelligence Officer Commander General Staff

COMM Operator

Operations
Officer

สรุปโดยรวมแล้ ว ARDO ก็คือการสร้ างนวัตกรรมใหม่ที่เหมาะสมให้ กบองค์กรการรบ
ั
เพื่อสนองตอบต่อรูปแบบของสงครามที่เปลียนแปลงไป ด้ วยกาลังและขีดความสามารถที่
่
ตนเองมีอยู่ โดยใช้ เทคนิคในการสานรวมแนวความคิดและกาลังของทุกเหล่าทัพเข้ าด้ วยกัน
ให้ ได้ อย่างเป็ นรูปธรรม ซึงต้ องการการปรับเปลียนหลักนิยม การค้ นหาแนวทางอันเป็ น
่
่
เอกลักษณ์ของตนเอง ผนวกกับการสร้ างความเชื่อ ความศรัทธาและการอุทิศตนเพื่อ
เปาหมายสุดท้ ายคือ การให้ ได้ รับชัยชนะหรื อมีอานาจเหนือฝ่ ายตรงข้ ามอย่างรวดเร็ ว ความ
้
มุ่งมันและตั ้งใจที่จะคิดค้ นหาวิธีการและปรับเปลียนตนเองเพื่อความสาเร็ จในการรบนี ้ถือ
่
่
เป็ นปั จจัยสาคัญที่สดของ ARDO
ุ
สรุ ป
๑. นิยามของ ARDO ก็คือ “วิธีการที่ทาให้ ข้าศึกหมดอานาจในการใช้ กาลังทางทหาร
ต่อต้ านฝ่ ายเรา อันเป็ นผลมาจากการทาลายจาเพาะไปยังขีดความสามารถในการทาการรบ
ของข้ าศึก มากกว่าการทาลายทุกสิงทุกอย่าง”
่
๒๓

๒. แนวความคิดหลักในการให้ ได้ มาซึงอานาจเหนือฝ่ ายข้ าศึกคือ การควบคุมข้ าศึก
่
(Take Control) โดยการลดปั จจัยแห่งอานาจในระบบของข้ าศึก เพื่อมิให้ ข้าศึกสามารถใช้
กาลังของตนเพื่อบรรลุเปาประสงค์ที่ตนต้ องการได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความขัดข้ อง
้
ที่จะดาเนินการสู้รบต่อไป อันจะนาไปสูการตัดสินใจที่จะเลิกต่อสู้และยอมจานนในที่สด
่
ุ
๓. พื ้นฐานของ ARDO (Fundamentals of ARDO) ประกอบไปด้ วยความต้ องการ
ดังนี ้
๓.๑ ความค้ นคิดอันหลักแหลมในกระบวนการการตัดสินใจทางทหาร
(Ingenious Military Decision Making Process)
๓.๒ การผนึกกาลังอย่างสูง (High Synergy)
๓.๓ ความอ่อนตัวของการบัญชาการ (Flexible Command)
๔. หัวใจหลักของ
ARDO (Cornerstones of ARDO) หรื อปั จจัยหลักในการนาเอา
ทฤษฎีของ AROD ไปสูการปฏิบติให้ บงเกิดผลได้ จาเป็ นต้ องมีการพัฒนาในองค์ประกอบ
่
ั
ั
ดังต่อไปนี ้
๔.๑ หลักนิยมการรบทางทหาร (Common General Warfare doctrine)
๔.๒ โครงสร้ างฝ่ ายเสนาธิการร่ วมตั ้งแต่ระดับกองพัน (Staff structure from
brigade-level and up)
๔.๓ หลักนิยมการบัญชาการและควบคุมที่ปรับให้ สอดคล้ องกับเปาประสงค์
้
(Aim Oriented Command and control Doctrine)
๔.๔ การฝึ กฝนเตรี ยมการที่มีลกษณะเฉพาะในระดับของฝ่ ายเสนาธิการ
ั
(Unique Training of General Staff Officer)
๕. พื ้นฐานในกระบวนการวางแผนอันหลักแหลม (
Fundamentals of Ingenious
Planning) ผู้บญชาการรบ จะต้ องพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการกาหนด
ั
“เจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชา ” (Commander’s Intent) และ ”แนวความคิดในการ
ั
ปฏิบติการ” (Concept of Operations) โดยต้ องศึกษาถึงปั จจัยที่จะนามาเป็ นพื ้นฐานในการ
ั
วางแผนว่า สิงใดที่จะสร้ างแรงกระทบหรื อเป็ นจุดชี ้ขาดต่อการเปลียนแปลงในการ
่
่
“ตัดสินใจ” ของฝ่ ายข้ าศึก และ “สถานการณ์การปฏิบติการที่ฝ่ายเราต้ องการ ” เพื่อบีบบังคับ
ั
ให้ ฝ่ายข้ าศึกยอมแพ้ ด้วยความไม่ค้ มค่าที่จะฝื นปฏิบติการต่อไปหรื อต้ องประสบความล่ม
ุ
ั
๒๔

สลายในกาลังทหารของตน ทั ้งนี ้ ผู้บญชาการรบจะต้ องค้ นหาสภาวะปฏิบติการที่เป็ น
ั
ั
เอกลักษณ์หรื อกลยุทธ์ที่ “ประดิษฐ์ คิดค้ น ” ขึ ้นอย่างชาญฉลาดตามสถานการณ์ในการรบ
จาเพาะนั ้น ๆ ด้ วยการผนึกกาลังของขีดความสามารถที่ตนเองมีอยู่ ความเชี่ยวชาญของผู้
บัญชาการเช่นนี ้ ต้ องการการฝึ กฝนและการศึกษาเรี ยนรู้ในเรื่ องการสงครามชั ้นสูง
๖. หลักการเพื่อการก้ าวไปสูความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ ว เริ่ มด้ วย
่
การตัดขีดความสามารถของข้ าศึกไม่ให้ ใช้ กาลังอย่างเป็ นระบบและเกิดประสิทธิภาพ อันจะ
เป็ นผลให้ เกิดการสูญเสียการควบคุมโดยเฉพาะในจุดของผลประโยชน์และอานาจสาคัญ
ของฝ่ ายข้ าศึก ผลจากการสร้ างสภาวการณ์ดงกล่าว จะทาให้ เกิดความไม่สมดุลย์ในระบบ
ั
ของข้ าศึกและเกิดการหมดทนทางทางกายภาพ ซึงจะทาให้ ข้าศึกต้ องตัดสินใจหยุดการ
่
ปฏิบติการเนื่องไม่เกิดประโยชน์อนใดที่จะสู้รบต่อไป ยอมจานนและทาสัญญายอมแพ้ ใน
ั
ั
ที่สด ในการดาเนินการ จะต้ องใช้ การผนึกกาลังในขั ้นสูง (High Synergy) และ ความอ่อนตัว
ุ
ในการบัญชาการ ( Flexible Command) เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบติการสูงสุด
ั
และด้ วยทรัพยากรอันจากัด
๗. กระบวนการความคิดอันหลักแหลม (Ingenious Thinking)
๗.๑ ชี ้ชัดในระบบของข้ าศึกให้ ได้ (ลักษณะและขอบเขตการจัดการของข้ าศึก)
ทั ้งนี ้จะต้ องตั ้งคาถามที่ว่า “สิงใดที่จะลดแรงจูงใจในการสู้รบของฝ่ ายข้ าศึกได้ ” และ “จะลด
่
ขีดความสามารถของข้ าศึกอย่างไร” ในประเด็นนี ้ฝ่ ายเสนาธิการจะต้ องร่ างหนทางปฏิบติใน
ั
ทุกกรณีที่เป็ นไปได้ เพื่อนาไปเสริ มต่อเจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชาเพื่ออนุมติหนทางปฏิบติ
ั
ั
ั
ต่อไป
๗.๒ ชี ้ชัดในระบบกาลังหลักของข้ าศึก
๗.๓ ชี ้ชัดจุดด้ อยอันเป็ นอันตรายในกาลังหลักของฝ่ ายข้ าศึก
๗.๔ ชี ้ชัดจุดอ่อนอันเป็ นอันตรายที่ข้าศึกใช้ ปองกันจุดด้ อย
้
.
๗.๕ มุ่งเน้ นกาลังหลักของฝ่ ายเราไปยังจุดอ่อนดังกล่าวจนเกิดการสมดุลย์ทาง
ทหาร (Neutralize) ซึงจุดนี ้จะเป็ นจุดที่ฝ่ายข้ าศึกเริ่ มที่จะต้ องพิจารณาเพื่อตัดสินใจในการ
่
ดาเนินการรบใหม่
๗.๖ ลาดับขั ้นตอนเพื่อการให้ ได้ ชยชนะอย่างเด็ดขาดประกอบด้ วยการทาให้
ั
ข้ าศึกอ่อนกาลังลงด้ วยวิธีการลวง การโดดเดี่ยวกาลังข้ าศึก การประกบติดข้ าศึก การตัดสาย
๒๕

การส่งกาลังบารุง การมุ่งกาลังไปยังจุดอ่อนของข้ าศึก การสร้ างความสับสนในการปองกัน
้
ของฝ่ ายข้ าศึก การรักษาสายการบัญชาการของฝ่ ายเรา การตัดสายการบังคับบัญชาฝ่ าย
ข้ าศึก การจัดกระบวนรูปแบบในการโจมตีโดยวางกาลังหลักไปยังจุดศูนย์ดลทางยุทธศาสตร์
ุ
และกาลังรองไปยังระดับปฏิบติการและยุทธวิธี การวางแผนการโจมตีแบบคู่ขนานด้ วยกาลัง
ั
ทางบก กาลังทางเรื อและกาลังทางอากาศโดยจัดลาดับการเผชิญหน้ ากับฝ่ ายข้ าศึกตามขีด
ความสามารถของระบบอาวุธที่มีจากระยะไกลมายังระยะใกล้
_________________________________________________
๒๖

ภาคผนวก

More Related Content

Viewers also liked

บรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force Leadershipบรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force LeadershipWashirasak Poosit
 
บรรยาย War termination
บรรยาย War terminationบรรยาย War termination
บรรยาย War terminationWashirasak Poosit
 
อสมมาตรฏอลีบาน
อสมมาตรฏอลีบานอสมมาตรฏอลีบาน
อสมมาตรฏอลีบานWashirasak Poosit
 
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยมเงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยมWashirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)Washirasak Poosit
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)Washirasak Poosit
 
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรักบรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรักWashirasak Poosit
 
บรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter Performanceบรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter PerformanceWashirasak Poosit
 
บรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia Defenceบรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia DefenceWashirasak Poosit
 
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลียนโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลียWashirasak Poosit
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาWashirasak Poosit
 
บรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a systemบรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a systemWashirasak Poosit
 
บรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid Dominanceบรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid DominanceWashirasak Poosit
 
เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้Washirasak Poosit
 
สมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบสมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบWashirasak Poosit
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวWashirasak Poosit
 
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30Mบรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30MWashirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)
อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)
อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)Washirasak Poosit
 

Viewers also liked (20)

บรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force Leadershipบรรยาย Air Force Leadership
บรรยาย Air Force Leadership
 
บรรยาย War termination
บรรยาย War terminationบรรยาย War termination
บรรยาย War termination
 
อสมมาตรฏอลีบาน
อสมมาตรฏอลีบานอสมมาตรฏอลีบาน
อสมมาตรฏอลีบาน
 
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยมเงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
เงื่อนสะท้อนแห่งหลักนิยม
 
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
อบรมข้าราชการ ๔ (คุณภาพชีวิต)
 
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บรรยายยุทธศาสตร์ชาติในการต่อสู้การก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
บทความยุทธศาสตร์ชาติในการสู้รบกับการก่อการร้าย (สหรัฐอเมริกา)
 
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรักบรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
บรรยายสงครามสหรัฐ อิรัก
 
Histslides2
Histslides2Histslides2
Histslides2
 
บรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter Performanceบรรยาย Fighter Performance
บรรยาย Fighter Performance
 
บรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia Defenceบรรยาย Malaysia Defence
บรรยาย Malaysia Defence
 
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลียนโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
นโยบายยุทธศาสตร์ออสเตรเลีย
 
ดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหาดินแดนแห่งปัญหา
ดินแดนแห่งปัญหา
 
บรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a systemบรรยาย Enemy as a system
บรรยาย Enemy as a system
 
บรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid Dominanceบรรยาย Rapid Dominance
บรรยาย Rapid Dominance
 
เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้เรื่องมันเป็นอย่างนี้
เรื่องมันเป็นอย่างนี้
 
สมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบสมรรถนะนักบินรบ
สมรรถนะนักบินรบ
 
สงครามโคโซโว
สงครามโคโซโวสงครามโคโซโว
สงครามโคโซโว
 
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30Mบรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
บรรยายเปรียบเทียบสมรรถนะ Gripen,F-16 CD,SU-30M
 
อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)
อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)
อบรมข้าราชการ ๒ (Quality Air Force)
 

More from Washirasak Poosit

Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverEarly Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverWashirasak Poosit
 
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพบรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพWashirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการอบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการWashirasak Poosit
 
บรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Educationบรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military EducationWashirasak Poosit
 
บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.Washirasak Poosit
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อWashirasak Poosit
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าWashirasak Poosit
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงWashirasak Poosit
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional SecuritytWashirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1Washirasak Poosit
 

More from Washirasak Poosit (20)

Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverEarly Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
 
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพบรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
 
อบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการอบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการ
 
บรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Educationบรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Education
 
บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.บรรยายหลักนิยม วทอ.
บรรยายหลักนิยม วทอ.
 
Thai National Security Law
Thai National Security LawThai National Security Law
Thai National Security Law
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อ
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟัง
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึง
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
 

สรุปผลการสัมมนา Rapid Dominance

  • 1. ศูนย์ การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ ____________________________________________________________ สรุ ปผลการสัมมนา เรื่ อง การปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชัยชนะเหนือที่ม่ นของฝ่ ายตรงข้ ามในเวลาอันสัน ั ั ้ คุณลักษณะ รากฐานและการประยุกต์ ใช้ ARDO – Achieving Rapid-Dominance (Effect-Based) Operations: Characteristics, Origins and Implementation By Dr.Hanan Shai Shcwartz โดย นาวาอากาศโท วชิ รศักดิ์ พูสิทธิ์ กล่ าวทั่วไป: หลักนิยมการปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชยชนะเหนือที่มนของฝ่ ายตรงข้ ามหรื อมีอานาจ ั ั ั่ เหนือฝ่ ายตรงข้ ามในเวลาอันสั ้น ( Achieving Rapid Dominance Operations: ARDO) นี ้ เป็ นทฤษฎีหรื อแนวความคิดในการรบที่ถกนามาใช้ ในสงครามอ่าวเปอร์ เซียครังที่ ๒ (The ู ้ Second Gulf War) หลักนิยมนี ้ แสดงให้ เห็นถึงการใช้ หน่วยทหารขนาดเล็ก ประสานการ ปฏิบติกบกองกาลังขนาดใหญ่ในการเข้ ายึดครองที่หมายโดยใช้ เวลาสั ้นที่สด โดยมีจดเด่น ั ั ุ ุ อยู่ที่ความอ่อนตัวของการปฏิบติการในสภาวะแวดล้ อมที่เปลียนแปลงตลอดเวลา เป็ น ั ่ แนวทางการจัดกองกาลังสมัยใหม่เพื่อต่อสู้กบฝ่ ายตรงข้ ามทั ้งกองกาลังตามแบบและองค์กร ั การก่อการร้ าย ทั ้งนี ้ การได้ รับชัยชนะอย่างรวดเร็ วถือเป็ นสิงสาคัญที่จะช่วยในเรื่ องของการ ่ ประหยัดงบประมาณ ลดการจัดเสริ มทัพและการสูญเสียกาลังพลลงได้
  • 2. ๒ สาเหตุที่ ARDO เป็ นที่กล่าวขวัญถึงในการจัดกาลังของกองทัพสมัยใหม่ เนื่องมาจาก: ๑) ARDO สามารถปรับแนวทางการปฏิบติการให้ เข้ ากับสภาวะแวดล้ อมที่เป็ นพล ั วัตร (Dynamic) อันเป็ นคุณลักษณะของสถานการณ์ในปั จจุบนนี ้ได้ ั ๒) ความต้ องการในการจัดเตรี ยมกองทัพเพื่อต่อสู้กบกาลังฝ่ ายตรงข้ ามที่มีลกษณะ ั ั ของกาลังทางทหารทั ้งในรูปแบบปกติและการก่อการร้ าย ๓) ความต้ องการในการลดค่าใช้ จ่ายในการทาการรบเพื่อให้ ได้ ชยชนะ ั ARDO มีรากฐานสาคัญอยู่ที่ ความเป็ นมืออาชีพคุณภาพสูงของผู้บัญชาการ (High Professional Quality of the Commanders) ในทุกระดับชั ้น รวมไปถึงความ เหนือกว่าทางด้ านเทคโนโลยี โดยได้ รับการแผนแบบเพื่อการไปสูชยชนะต่อฝ่ ายตรงข้ ามที่แม้ ่ั จะมีความเหนือกว่าฝ่ ายเราในหลาย ๆ ด้ าน ความเป็ นมืออาชีพคุณภาพสูงของผู้บัญชาการ เป็ นผลเนื่องมาจาก ปั จจัยพื ้นฐาน ๒ ประการ คือ ๑) รากฐานแห่ งกลยุทธ์ ในการวางแผนร่ วม ( Stratagem-based joint approach planning) ซึงเป็ นตัวกาหนดและชี ้ชัดในเวลาอันรวดเร็ วว่า สิงใดที่ ่ ่ เป็ นตัวการผลักดันให้ ฝ่ายตรงข้ ามต้ องต้ องถอยไปอยู่ในจุดที่ไม่สามารถ ปองกันตนเองได้ ้ ๒) การปรับกลยุทธ์ ในการกระจายการควบคุม ( Stratagem-oriented decentralized control) ซึงมีเปาประสงค์ในการมอบอานาจให้ แก่ผ้ ู ่ ้ บัญชาการทุกระดับชั ้น ในอันที่จะสามารถตัดสินใจแก้ ไขปั ญหาฉุกเฉินซึงอาจ ่ เกิดขึ ้นโดยมิได้ เตรี ยมการมาก่อนด้ วยตนเอง อย่างรวดเร็ วและทันต่อ สถานการณ์ โดยยังคงรักษาความสอดคล้ องในการปฏิบติการกับกองกาลัง ั อื่น ๆ ARDO (EBO) คืออะไร การศึกษาวิเคราะห์แนวความคิดในเรื่ อง ARDO หรื อ การปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชยชนะ ั ั หรื อ มีอานาจเหนือฝ่ ายตรงข้ ามในเวลาอันรวดเร็ วนี ้ ถือเป็ นทฤษฎีทางการทหารที่แสดงให้
  • 3. ๓ เห็นถึงแนวทาง แนวความคิดเกี่ยวกับปั จจัย สิงแวดล้ อม และการจัดองค์กรในกระบวนการ ่ วางแผนและตัดสินใจสาหรับฝ่ ายเสนาธิการและผู้บงคับบัญชา (ผู้ บญชาการ) เพื่อนาไป ั ั พิจารณาใช้ ในการดาเนินสงครามให้ ประสบชัยชนะ ในการศึกษาวิเคราะห์นี ้ มีความจาเป็ น อย่างยิ่งที่จะต้ องสร้ างความเชื่อและความเข้ าใจในนิยามและมุมมองของคาว่า “สงคราม ” และการเป็ น “ผูบญชาการ ” (หรื อผู้บงคับบัญชา) ที่มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน ้ ั ั เรื่ องของการวางแผนและการตัดสินใจที่เหมาะสมต่อสถานการณ์และเหตุการณ์ที่เกิดขึ ้น เฉพาะหน้ าให้ เป็ นไปในทิศทางเดียวกันและสอดคล้ องกับสภาวะแวดล้ อมและรูปแบบของ สงครามที่จะต้ องเผชิญ สาหรับผู้บญชาการแล้ ว ั “ชัยชนะ” ในสงครามถือเป็ นเปาหมายสูงสุดและเป็ นหน้ าที่ที่ ้ ผู้บญชาการจะต้ องรับผิดชอบ หน้ าที่ของผู้บญชาการ ( ั ั Commander) ดังกล่าวนี ้มี กระบวนการในการดาเนินการคือ ๑. การตัดสินใจ (To Decide) ๒. การควบคุม (To Control) ๓. การนา (To Lead) และ ๔. การฝึ กซ้ อม (To Train) ให้ มีความพร้ อม อย่างไรก็ตาม สงครามในยุคปั จจุบน ประสิทธิภาพ ( Effectiveness) และความ ั เด็ดขาด ( Decisveness) ใน “ชัยชนะ ” จะเข้ ามามีสวนเกี่ยวข้ องในการวางแผน ่ นอกเหนือจากการใช้ กาลังทาลายล้ างฝ่ ายตรงข้ ามอย่างปฏิเสธไม่ได้ เคลาเซวิทซ์ได้ กล่าวถึงสงครามว่า “สงคราม คือการปะทะกันระหว่ างความ ประสงค์ ท่ตรงกันข้ าม ( War is the collision between opposite wills)” ดังนั ้น ในการ ี วางแผนเตรี ยมการเพื่อทาสงคราม จึงควรที่จะเริ่ มพิจารณาจากคาว่า “ความประสงค์ (Will)” หรื อ “ความตั ้งใจ” ที่แตกต่างกันนี ้ก่อน ในอดีต สถาปั ตยกรรมของสงคราม จะมุ่งเน้ นไปยัง การรบที่เรี ยกว่า “การทาลายล้ างกันให้ สนซาก ( Annihilation)” นันคือ ผู้ชนะ คือผู้ที่เหลือ ิ้ ่ กาลังในสนามรบมากกว่า ทาลายทุกสิงทุกอย่างเพื่อให้ สิ ้นซึงความตั ้งตนอยู่ได้ ทั ้งชีวิตและ ่ ่ ทรัพย์สนจนผู้แพ้ ไม่มีทั ้งกาลัง ความสามารถหรื อความเป็ นตัวตนที่จะยืนหยัดต่อสู้ได้ อีก ิ ต่อไป แต่การสงครามในปั จจุบน การทาลายล้ างเช่นนี ้ต้ องใช้ กาลังและขีดความสามารถที่ ั มหาศาลในขณะที่ “ชัยชนะ” คือการเปลียนวัตถุประสงค์ในการทาสงครามของข้ าศึก ดังนั ้น ่
  • 4. ๔ การให้ ได้ ”ชัยชนะ” จึงควรมุ่งเน้ นไปยัง “การหยุดการต้านทานด้วยกาลังทหารจากฝ่ ายตรง ข้าม เพือมิ ให้เขาได้บรรลุเป้ าหมายทางการเมือง” เท่านั ้น ด้ วยนิยามที่ชดเจนและเป็ นจริ งใน ่ ั สถานการณ์ของโลกในยุคปั จจุบนนี ้ การทาสงครามจึงเป็ นเพียง ั “การทาลายขีด ความสามารถของข้าศึกมิ ให้สามารถใช้กาลังทางทหารของตนให้เกิ ดประสิทธิ ภาพ” ได้ จากข้ อพิจารณาดังกล่าว ทาให้ คานิยามของ ARDO คือ “วิธีการที่ทาให้ ข้าศึก หมดอานาจในการใช้ กาลังทางทหารต่ อต้ านฝ่ ายเรา อันเป็ นผลมาจากการทาลาย จาเพาะไปยังขีดความสามารถในการทาการรบของข้ าศึก มากกว่ าการทาลายทุกสิ่ง ทุกอย่ าง ” (A method of bringing enemy’s armed resistance to an end as a consequence of destroying his capability to fight rather than annihilating him) ในทางทฤษฎี ARDO จะใช้ พื ้นฐานตามแนวความคิดของเคลาเซวิทซ์ที่กล่าวไว้ ใน หนังสือ On War ว่า “เมื่อเราใช้ คาว่า ทาลายฝ่ ายข้ าศึก นันหมายถึง การใช้ กาลังฝ่ ายเรา ่ ทาลายเฉพาะกาลังฝ่ ายข้ าศึกเพื่อมิให้ ข้าศึกสามารถต่อต้ านได้ อีกต่อไป เพียงแค่ประการนี ้ ประการเดียวนี่เองเราที่หมายถึง ” ดังนั ้น จะเห็นได้ ว่าคุณลักษณะของ ARDO นี ้มีลกษณะ ั ในทางตรงกันข้ ามกับการทาสงครามแบบทาลายล้ างให้ สิ ้นซาก โดยจะมุ่งเน้ นไปยังการให้ ได้ รับชัยชนะอย่างรวดเร็ วและการถนอมรักษาชีวิตที่จะต้ องสูญเสียไปในระหว่างการทา สงคราม รวมทั ้งความเชื่อที่ว่า “การรบด้ วยสมองย่อมมีประสิทธิภาพกว่าการรบด้ วยกาลัง ” และด้ วยกาลังที่น้อยกว่าก็สามารถท้ าทายและเอาชนะข้ าศึกที่มีกาลังมากกว่าได้ แนวความคิดหลักในการให้ ได้ มาซึงอานาจเหนือฝ่ ายข้ าศึกคือ ่ การควบคุมข้ าศึก (Take Control) โดยการลดปั จจัยแห่งอานาจในระบบของข้ าศึก เพื่อให้ ๑. ข้ าศึกไม่สามารถใช้ กาลังของตนเพื่อบรรลุเปาประสงค์ได้ อย่างมีประสิทธิภาพ ้ ๒. ข้ าศึกตัดสินใจที่จะเลิกต่อสู้เนื่องจากความขัดข้ องที่จะต้ องปฏิบติการต่อไป ั ๓. ข้ าศึกยอมจานน อย่างไรก็ตาม สภาวะแวดล้ อมของการรบในปั จจุบน มีปัจจัยต่าง ๆ มากมายที่เข้ ามา ั เกี่ยวข้ อง รูปแบบของสงครามที่แปรเปลียนจากสงครามตามแบบไปเป็ นสงครามนอกแบบ ่ รวมถึงตัวแปรอีกนานับประการที่นกการทหารจะต้ องนามาใช้ ร่วมในการพินิจพิเคราะห์ ั Clausewitz, On War, Prinston University Press, p.90, 1976
  • 5. ๕ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ลักษณะของ “สงครามอสมมาตร ( Asymmetric Warfare)” ที่มีรูปแบบ ของสงครามที่ “ยังความเป็ นมนุษย์ (Human War)” ซึงเป็ นการทาสงครามเพื่อช่วงชิงชัยชนะ ่ The Asymmetric War “Inhuman” War “Human” War Subdue Demolish Own Forces Enemy Forces Subdue Common Principles of War Own Forces Enemy Forces Demolition! No Principles Principle of War Common Values Values Sanctity of Life Life Wish Death Wish Sanctity of Life Life Wish Sanctity of Life ระหว่างฝ่ ายเรากับฝ่ ายตรงข้ ามที่ยงคงคานึงในหลักการของสงคราม ( Principles of War) ั และคุณค่าแห่งความเป็ นมนุษย์ ( Sanctity of Life) ส่วนสงครามที่ “ปราศจากความเป็ น มนุษย์ ( Inhuman War)” นั ้น เป็ นการมุ่งหวังที่จะทาลายล้ างให้ อีกฝ่ ายหนึงสูญสิ ้นไป ่ ปราศจากหลักการและปรารถนาซึงชีวิตของฝ่ ายตรงกันข้ าม ข้ อพิจารณาเหล่านี ้มีสวนสาคัญ ่ ่ มากในการวางแผน กาหนดรูปแบบ ขนาดของสงครามและวิธีการดาเนินกลยุทธ์ที่จะใช้ ต่อสู้ ซึงผู้บญชาการหรื อนักการทหารในระดับผู้ตดสินใจ ( Decision Maker) จะต้ องนามาใช้ เป็ น ่ ั ั ส่วนประกอบในการวิเคราะห์ด้วยเสมอ
  • 6. ๖ พืนฐานของ ARDO (Fundamentals of ARDO) ้ เมื่อเข้ าใจในพื ้นฐานของสงครามกันแล้ วว่า สงครามในปั จจุบนมีองค์ประกอบและ ั ปั จจัยที่เกี่ยวข้ องหลายประการ ทั ้งปั จจัยที่นกการทหารมีความคุ้นเคยจากการศึกษา ั ประวัติศาสตร์ การสงครามต่าง ๆ ในอดีตกับปั จจัยของการสงครามที่มีรูปแบบเปลียนแปลง ่ ไปในปั จจุบนและอนาคตอันใกล้ เพื่อให้ แนวความคิดของ ARDO ดาเนินการได้ ประสบ ั ผลสาเร็ จเป็ นรูปธรรม จึงจาเป็ นต้ องวางพื ้นฐานในหลักการที่ถือเป็ นปั จจัยและเป็ น องค์ประกอบสาคัญซึงนักการทหารจะนาไปศึกษาวิเคราะห์อย่างใคร่ ครวญ นันก็คือ ่ ่ ๑. การค้ นคิดวิธีการอันหลักแหลมในกระบวนการการตัดสินใจทางทหาร ( Ingenious Military Decision Making Process) เพื่อให้ การวางแผนเพื่อสูชยชนะประสบ ่ั ความสาเร็ จ ๒. การผนึกกาลังในขั ้นสูง (High Synergy) เพื่อให้ การใช้ กาลังของฝ่ ายเราเป็ นไปอย่าง มีประสิทธิภาพ ๓. ความอ่อนตัวของการบัญชาการ (Flexible Command) เพื่อวางรากฐานใน กระบวนการการควบคุมและบัญชาการให้ มีประสิทธิภาพและทันต่อสถานการณ์การ รบที่เปลียนแปลงไป ่ หัวใจหลักของ ARDO (Cornerstones of ARDO) จากพื ้นฐานของ ARDO ดังที่กล่าวมาแล้ ว องค์ประกอบสาคัญอันเป็ นหัวใจหลักของ ARDO ที่องค์กรผู้นาไปจาเป็ นต้ องมี เพื่อใช้ เป็ นวิถีหรื อแนวทางนาไปสูการปฏิบติเพื่อให้ ่ ั บรรลุผลก็คือ ๑. หลักนิยมการรบทางทหาร (Common General Warfare doctrine) หลักนิยมการรบทางทหารสาหรับ ARDO ประกอบไปด้ วยการจัดกาลัง หลักการ ใช้ กาลังร่ วม ฝ่ ายเสนาธิการร่ วม การเชื่อมโยงระบบเปาหมาย การมอบหมายกาลัง ไปจนถึง ้ กลยุทธ์ (เล่ห์เหลียม) ในการทาสงครามตามขีดจากัดที่ตนมีอยู่ หัวใจหลักอยู่ที่การสร้ าง ่ ความเข้ าใจในความอ่อนตัวเพื่อการปฏิบติงานและใช้ กาลังร่ วมกันตั ้งแต่ระดับกองพัน โดย ั ยืดถือเอาผลของการปฏิบติเฉพาะในยุทธบริ เวณหรื อพื ้นที่การรบหนึง ๆ เป็ นหลัก โดยมีผ้ ู ั ่ บัญชาการที่มีความเชี่ยวชาญ (จากประสบการณ์และการฝึ กฝนอบรมอย่างเข้ มงวด) เป็ นผู้
  • 7. ๗ ควบคุมตัดสินใจ หลักนิยมของ ARDO จะต่างจากหลักนิยมการรบร่ วมทัวไปที่ความอ่อนตัว ่ ของระบบและการจัดองค์กรที่ให้ อานาจแก่ผ้ บญชาการในพื ้นที่การรบ อย่างไรก็ตาม ู ั แนวความคิดนี ้จะต้ องปรับให้ เหมาะสมตามสถานะด้ านกาลังของแต่ละประเทศและต้ อง สร้ างความเชื่อในผลสาเร็ จร่ วมกัน การใช้ หลักนิยมที่ไม่เหมาะสมต่อการจัดกาลังที่ตนเองมี หรื อการใช้ ยทธวิธีตามรูปแบบโดยไม่มีการปรับแปลงตามความเหมาะสมต่อสถานการณ์ที่ ุ ต้ องการการช่วงชิงความได้ เปรี ยบต่อฝ่ ายตรงข้ ามก่อน จะก่อให้ เกิดความเสียงและเป็ น ่ อันตราย ดังนั ้น ARDO จึงใช้ ”จังหวะ”ของการรบด้ วยกาลังที่มีอยู่ให้ เกิดประโยชน์สงสุด ู อย่าง “ทุกวิถีทาง” ๒. โครงสร้ างฝ่ ายเสนาธิการร่ วมตั ้งแต่ระดับกองพัน (Staff structure from brigadelevel and up) ประเด็นของการจัดฝ่ ายเสนาธิการร่ วมในทุกระดับนี ้ ถือเป็ นสิงสาคัญประการหนึง ่ ่ ที่จะทาให้ ARDO ประสบความสาเร็ จ นันก็คือเป็ นการ “ผนึกกาลัง ” ตั ้งแต่ระดับล่างขึ ้นไป ่ ตั ้งแต่ในพื ้นที่การรบ จนถึงระดับผู้วางแผน การวางโครงสร้ างนี ้จะต้ องมีหลักนิยมหรื อแผน รองรับเพื่อนาไปปฏิบติใช้ ที่ชดเจน แนวทางในการดาเนินการเพื่อจัดโครงสร้ างฝ่ ายเสนาธิ ั ั การร่ วมนี ้แม้ ปฏิเสธไม่ได้ ว่าจะก่อเกิดปั ญหาในการปฏิบติงานร่ วมกัน แต่การให้ การศึกษา ั และการฝึ กฝนเตรี ยมการจะช่วยลดปั ญหาที่เกิดขึ ้นได้ แต่ต้องได้ รับการฝึ กปฏิบติอย่างจริ งจัง ั โดยเฉพาะในระดับผู้กาหนดนโยบาย ผู้วางแผนและผู้ตดสินใจ ั ๓. หลักนิยมการบัญชาการและควบคุมที่ปรับให้ สอดคล้ องกับเปาประสงค์ ้ (Aim Oriented Command and control Doctrine) การวางหลักนิยมการบัญชาการใน ARDO อาจจาเป็ นต้ องมีการปรับเปลียนไป ่ ตามสถานการณ์ ประเด็นนี ้ถือเป็ นประเด็นสาคัญที่มีการถกเถียงกันเป็ นอย่างมาก โดยเฉพาะในเรื่ องของระบบ ซึงอาจพิจารณาระบบการควบคุมได้ ๒ ประการคือ ่ “ระบบ ควบคุมแบบรวมการ ( Centralized Control)” และ “ระบบการกระจายการควบคุม (Decentralized Control)” ซึงจะมีจดได้ เปรี ยบและเสียเปรี ยบในแต่ละระบบแตกต่างกัน ่ ุ ดังนี ้ Control Method Advantage Disadvantage Centralized High synchronization Slow respond Decentralized Fast respond Low synchronization
  • 8. ๘ ในระบบควบคุมแบบรวมการ ( Centralized Control) จะมีข้อได้ เปรี ยบคือ ผู้ บัญชาการสามารถที่จะรักษาจังหวะและความต่อเนื่องในการปฏิบติการได้ เนื่องจากการ ั วิเคราะห์หนทางปฏิบติ การสังการไปจนถึงการใช้ กาลังสามารถดาเนินการไปได้ อย่าง ั ่ สอดคล้ องและมีเอกภาพ ข้ อเสียเปรี ยบของระบบนี ้ก็คือ การรอผลการปฏิบติและการ ั ตอบสนองต่อสถานการณ์โดยเฉพาะในกรณีที่สถานการณ์มีการเปลียนแปลงอย่างรวดเร็ วใน ่ พื ้นที่การรบกระทาได้ ลาช้ า ส่วนระบบการกระจายการควบคุม (Decentralized Control) จะ ่ ตอบสนองต่อการเปลียนแปลงในพื ้นที่ได้ อย่างทันท่วงที โดยผู้บญชาการในพื ้นที่การรบ ่ ั สามารถตัดสินใจแก้ ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ ้นและมีการเปลียนแปลงเฉพาะหน้ าได้ อย่าง ่ รวดเร็ ว แต่ข้อเสียเปรี ยบก็คือการสร้ างจังหวะของการรบและความสอดคล้ องในการ ปฏิบติการรบโดยองก์รวมจะลดลง รวมทั ้งต้ องอาศัยขีดความสามารถและประสิทธิภาพของ ั ผู้บญชาการในสนามรบเป็ นอย่างสูง ทฤษฎีของ ARDO เชื่อว่าการกระจายการควบคุมโดย ั การใช้ ผ้ นาหรื อผู้บญชาการรบที่มีประสิทธิภาพ ด้ วยเล่ห์เหลียมกลยุทธ์เฉกเช่นกับผู้นาทัพ ู ั ่ ทางทหารในอดีตจะทาให้ การรบที่มีความเคลือนไหวของสถานการณ์สงสามารถบรรลุ ่ ู ประสบผลสาเร็ จได้ แนวความคิดของ ARDO ในเรื่ องของการบัญชาการและควบคุมที่ปรับให้ สอดคล้ อง กับเปาประสงค์นี ้มีพื ้นฐานทางความคิดในการดาเนินการง่าย ๆ คือ ผู้มีอานาจเป็ นผู้กาหนด ้ เปาหมาย กาหนดอานาจสังการและเชื่อมันในผู้ใต้ บงคับบัญชา ส่วนผู้ใต้ บงคับบัญชาจะเป็ น ้ ่ ่ ั ั ผู้ปฏิบติ ตั ้งแต่การริ เริ่ มหาหนทางปฏิบติ การกาหนดภารกิจ การนาไปปฏิบติอย่างอิสระและ ั ั ั เชื่อมัน และท้ ายที่สดคือ การอุทิศตนเพื่อจุดมุ่งหมายในระดับสูง ่ ุ ๔. การฝึ กฝนเตรี ยมการที่มีลกษณะเฉพาะในระดับของฝ่ ายเสนาธิการ ั (Unique Training of General Staff Officer) ทฤษฎีหรื อแนวความคิดอันเลิศหรูจะประสบผลสาเร็ จไม้ ได้ หากปราศจากความ เข้ าใจ ความเชื่อและการฝึ กฝนอย่างหนักจนกระทังนาไปสูการปฏิบติจริ ง การระดมมันสมอง ่ ่ ั ของผู้นาทางทหารหรื อนักการทหาร เป็ นสิงสาคัญที่กองทัพจะต้ องเตรี ยมการโดยกาหนดเป็ น ่ นโยบาย แนวทางและขั ้นตอนที่เป็ นเอกลักษณ์สาหรับกองทัพของตน การเตรี ยมผู้นามิใช่ เพียงการให้ การศึกษา แต่จะต้ องสร้ างอุดมการณ์และความเชื่อในการอยู่รอดของกองทัพ
  • 9. ๙ และประเทศชาติด้วย ความใกล้ ชิดของบุคลากรในระดับผู้กาหนดนโยบาย ผู้วางแผนและผู้ ตัดสินใจในอันที่จะสร้ างกาลังทั ้งในรูปแบบและนอกรูปแบบเพื่อการรบที่นาชัยชนะมาให้ อย่างรวดเร็ วนี ้ถือเป็ นนวัตกรรมใหม่ที่ประเทศเล็ก ๆ จาเป็ นต้ องแสวงหาหนทางของตนเอง เพื่อปรับเปลียน ปรับปรุงกองทัพโดยมุ่งเอาประสิทธิผลและความสาเร็ จเป็ นหลัก ่ ความเป็ นไปได้ ในการสร้ างความเชื่อจากหลักการสูการปฏิบติ อาจพิจารณาได้ จาก ่ ั แบบจาลอง Order of Training ดังต่อไปนี ้ H.Qs exercises Planning exercises Battle analysis Theory learning ด้ วยแบบจาลองนี ้ จะเห็นได้ ถงความสาคัญในการเรี ยนรู้และการสร้ างความเชื่อใน ึ ทฤษฎีของการทาสงครามแบบ ARDO ซึงนาไปสูการฝึ กวิเคราะห์สงคราม การวางแผนเพื่อ ่ ่ การฝึ กใช้ กาลังและท้ ายที่สดคือ การฝึ กซ้ อมรบที่จดโดยส่วนบัญชาการให้ มีความเหมือนจริ ง ุ ั ทั ้งในด้ านการวางแผนและระบบบัญชาการและควบคุมที่มีทั ้งความไม่แน่นอนและแรงเสียด ทานจากสงคราม ในกระบวนการนี ้จะต้ องให้ ความสาคัญในคุณค่าของไหวพริ บและสติ ปั ญหาแห่งความเป็ นมืออาชีพด้ วยการศึกษาทฤษฎีและหลักนิยมทางทหาร (Acquire professional intellectual values by learning military theory and doctrine) จากนั ้นก็นา หลักนิยมหรื อทฤษฎีที่ศกษานี ้ไปใช้ ในการวิเคราะห์และศึกษาการสงครามในทางลึกเพื่อให้ ึ เห็นลักษณะของการนาหลักการหรื อทฤษฎีไปใช้ ให้ เห็นจริ ง แล้ วนาไปฝึ กซ้ อมปฏิบติอย่าง ั เสมือนจริ งดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว เมื่อการเตรี ยมความพร้ อมทั ้งการฝึ กศึกษาและการซ้ อม เป็ นไปอย่างครบถ้ วนทุกกระบวนการแล้ ว จะก่อให้ เกิดความเชื่อมัน การวางโครงสร้ าง ่
  • 10. ๑๐ อานาจในการบังคับบัญชา ซึงเป็ นผลให้ เกิดการอุทิศตนเพื่อเปาหมายในระดับสูงต่อไป ดัง ่ ้ ภาพที่แสดงต่อไปนี ้ Training Professional mutual trust Delegation of authority Dedication to superior’s aim จากแนวความคิดดังที่ได้ กล่าวมาแล้ ว สามารถนามาแสดงในรูปของ “แบบจาลอง ARDO Diamond” ซึงจะแสดงให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ในพื ้นฐานและหัวใจหลักของ ARDO ่ อันเป็ นแนวทางในการวางรากฐานของ ARDO ได้ ชดเจนขึ ้นดังนี ้ ั ARDO DIAMOND Fundamentals Ingenious Military Decision Making Process High Synergy *Commanders *General Staff Branch Flexible Command *Supreme H.Q Common General Warfare Doctrine Diamond General Aim-Orient C&C Doctrine
  • 11. ๑๑ Unique Cornerstones Staff training พืนฐานในกระบวนการวางแผนอันหลักแหลม ้ (Fundamentals of Ingenious Planning) โดยธรรมชาติของกระบวนการวางแผนทางทหารแล้ ว ไม่มีสงใดสาคัญยิ่งไปกว่า ิ่ ความหลักแหลมในการค้ นคิด ค้ นหาหรื อแม้ แต่การสร้ างวิธีการ ด้ วยประสบการณ์ จินตนาการและวิจารณญาณของผู้บญชาการรบ ประการพื ้นฐานของผู้บญชาการที่จะนาทัพ ั ั ไปสูชยชนะคือ เจตคติ (Attitude) ทางความคิดในเรื่ องวัตถุประสงค์ของสงคราม ชัยชนะและ ่ั กลยุทธ์ (Stratagem) หรื อเล่ห์เหลียมในการเอาชนะฝ่ ายตรงข้ าม ด้ วยประสบการณ์ ความ ่ ชานาญและความคิดค้ นของผู้บญชาการนี ้จะแปรเป็ น “เจตนารมณ์ ของผู้บัญชาการ ั (Commander’s Intent)” และ “แนวความคิดในการปฏิบัตการ ( Concept of ิ Operations)” ซึงเป็ นพื ้นฐานอันสาคัญยิ่งที่จะใช้ เป็ นแนวทางในการนาการรบให้ ได้ ชยชนะ ่ ั ต่อไป ในการศึกษาวิเคราะห์พื ้นฐานในกระบวนการวางแผนอันหลักแหลมนี ้ ในอันดับแรก ผู้บญชาการทหารจะต้ องทาความเข้ าใจในนิยามของคาว่า ั “เจตนารมณ์ ของ ผู้บังคับบัญชา” ให้ ชดเจนและถูกต้ องเสียก่อน ตามคู่มือการรบ FM 101-5 หน้ าที่ ๕-๙ ของ ั กาลังปองกันอิสราเอลได้ ให้ ความหมายไว้ ว่า “เจตนารมณ์ ของผู้บังคับบัญชา คือ ความ ้ ประสงค์ ของผู้บังคับบัญชาที่กล่ าวไว้ อย่ างชัดเจนและกระชับถึงสิ่งที่กาลังทหาร จะต้ องปฏิบัติ เพื่อให้ บรรลุส่ ูสถานะสุดท้ ายที่ต้องการ โดยสัมพันธ์ กับกาลังของ ข้ าศึกและภูมิประเทศ เจตนารมณ์ นีจะต้ องสามารถเชื่อมโยงระหว่ างแนวความคิด ้ ในการปฏิบัตการ ( Concept of Operations) ไปสู่การปฏิบัตภารกิจ ( Mission) โดย ิ ิ กล่ าวถึง พันธกิจหลัก,ร่ วมกับภารกิจ, เพื่อให้ เป็ นรากฐานแก่ ผ้ ูใต้ บังคับบัญชานาไป เป็ นจุดตังต้ นในการปฏิบัตภารกิจ เมื่อเกิดสถานการณ์ ท่ไม่ อาจคาดหมายขึนหรือ ้ ิ ี ้ แนวความคิดในการปฏิบัตการเดิมไม่ สามารถใช้ ได้ ผลอีกต่ อไป ” เจตนารมณ์นี ้ โดย ิ ปกติจะอธิบายด้ วยประโยคเพียง ๔-๕ ประโยคและสามารถบังคับใช้ ได้ ในทุกระดับ ปฏิบติการ อย่างไรก็ตาม ปั ญหาที่ประสบในขั ้นตอนของการกาหนดเจตนารมณ์ของ ั ผู้บงคับบัญชานี ้ก็คือ ปั จจัยแวดล้ อมและกระบวนการในการกาหนดเจตนารมณ์ล้วนเป็ นสิงที่ ั ่
  • 12. ๑๒ ก่อร่ างขึ ้นจากความไม่แน่นอน ปราศจากกฎเกณ์หรื อแนวทางอันตายตัวที่ผ้ บญชาการจะ ู ั สามารถหยิบไปใช้ เตรี ยมการหรื อวางแผนล่วงหน้ าได้ อย่างสะดวกดาย ส่วนนิยามของ “แนวความคิดในการปฏิบัตการ ” นั ้นหมายถึง “คาอธิบายถึง ิ วิธีการหรือแผนการณ์ ในการใช้ กาลังทหารอย่ างจาเพาะเจาะจง เพื่อให้ บรรลุ เปาหมายหรือวัตถุประสงค์ ท่ตงไว้ ...ประเด็นสาคัญของแนวความคิดนีก็คือ ้ ี ั้ ้ คาอธิบายวิธีการ ” เช่นเดียวกัน ปั ญหาที่ผ้ บญชาการต้ องตั ้งคาถามเสมอก็คือ วิธีการหรื อ ู ั แผนการแบบไหนที่จะนาไปสูการบรรลุวตถุประสงค์ที่ต้องการ และที่ยากยิ่งไปกว่านั ้นก็คือ ่ ั การเชื่อมโยงระหว่างแนวความคิดในการปฏิบติการให้ สอดคล้ องกับเจตนารมณ์ของ ั ผู้บงคับบัญชา ั อะไรคือการวางแผนอันหลักแหลมในการกาหนดเจตนารมณ์ ของผู้บังคับบัญชา เพื่อเป็ นการวางแนวทางหลักในพิจารณากาหนดเจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชา ั ปั จจัยที่จะนามาเป็ นพื ้นฐานในการวางแผนอาจประกอบด้ วยคาถามที่มีประเด็นดังต่อไปนี ้ ๑. สิงใดที่จะสร้ างแรงกระทบหรื อเป็ นจุดชี ้ขาดต่อการเปลียนแปลงในการ ่ ่ “ตัดสินใจ” ของฝ่ ายข้ าศึก ๒. “สถานการณ์ การปฏิบัตการที่ฝ่ายเราต้ องการ ” เพื่อบีบบังคับให้ ฝ่ายข้ าศึก ิ ยอมแพ้ ด้วยความไม่ค้ มค่าที่จะฝื นปฏิบติการต่อไปหรื อต้ องประสบความล่มสลายในกาลัง ุ ั ทหารของตน อะไรคือการวางแผนอันหลักแหลมในการสร้ างแนวความคิดในการปฏิบัตการ ิ เช่นเดียวกัน แนวทางหลักในการกาหนดแนวความคิดในการปฏิบติการ อาจได้ จาก ั คาถามที่ว่า “จะทาอย่างไร (มีวิธีการอย่างไร) ทีจะทาให้เกิ ดสภาวะการปฏิ บติการทีส่งผล ่ ั ่ กระทบอย่างเด็ดขาดต่อฝ่ ายข้าศึกอย่างต่อเนือง ่ ด้ วยการรวมความพยายามและการ ่ ประกอบกาลังทีกลมกลืนสอดคล้ องในการปฏิบัตการ” ิ DART Working Paper #02-4 December 2002, Hicks & Associates,Inc.
  • 13. ๑๓ บทบาทอันเป็ นเอกลักษณ์ ของผู้บัญชาการ คาถามดังที่กล่าวมาข้ างต้ น อาจดูเป็ นคาถามสามัญที่นกการทหารหรื อผู้บญชาการ ั ั ทหารนามาใช้ หาคาตอบเพื่อเป็ นแนวทางสูการปฏิบติอยู่แล้ วเสมอมา แต่หวใจสาคัญที่ ่ ั ั ผู้บญชาการจะต้ องมีหรื อสร้ างให้ บงเกิดแก่ตนเองคือ การค้ นหาสภาวะปฏิบัตการที่เป็ น ั ั ิ เอกลักษณ์ และเหมาะสมในสถานการณ์ จาเพาะนัน ๆ ซึงถ้ าไม่สามารถค้ นคว้ าหา ้ ่ บทเรี ยนหรื อแนวทางตัวอย่างได้ ผู้บญชาการจะต้ อง ประดิษฐ์ คิดค้ นมันขึนมาเอง และนี่ ั ้ คือความเชี่ยวชาญที่ต้องการสาหรับการเป็ นผู้บญชาการในสนามรบ ส่วนการหาหนทางใน ั การปฏิบติ (Courses of Action) และการกาหนดรายละเอียดวิธีปฏิบติการนั ้นจะเป็ นหน้ าที่ ั ั ของฝ่ ายเสนาธิการโดยตรง ผู้บญชาการทหารที่ได้ รับการจารึกไว้ ในประวัติศาสตร์ ไม่ว่าจะ ั เป็ น อเล็กซานเดอร์ มหาราช ฮานนิบาล นโปเลียน หรื อ รอมเมล์ ต่างเป็ นผู้ที่ค้นพบหรื อ คิดค้ นสภาวะปฏิบติการในสนามรบอันเอกลักษณ์ที่โดดเด่นและสามารถนาทัพไปสูชยชนะ ั ่ั มาแล้ วทั ้งสิ ้น เซอร์ วินสตัน เชอร์ ชิล ได้ กล่าวไว้ ว่า “สงครามสามารถเอาชนะได้ดวยการ ้ ประหัตประหารและกลยุทธ์ นายทหารทียิ่งใหญ่ย่อมเลือกการแสวงหากลยุทธ์ เพือชัยชนะ ่ ่ มากกว่าการใช้กาลังเพือฆ่าฟั นกัน ” ข้ อคิดเหล่านี ้จะเป็ นสิงยืนยันแนวคิดของ ARDO และ ่ ่ กระตุ้นให้ ผู้บญชาการแสวงหายุทธวิธีเพื่อเอาชนะด้ วยประสบการณ์ ด้ วยกาลังทัพที่มีอยู่ ั อย่างเป็ น ไปได้ มากกว่าการแสวงหายุทโธปกรณ์และอาวุธราคาสูงที่มิอาจเป็ นไปได้ ต่อคาถามที่ว่า การปฏิบติการเพื่อให้ ได้ ชยชนะหรื อมีอานาจเหนือที่มนฝ่ ายตรงข้ าม ั ั ั่ ในเวลาอันสั ้น ( Rapid Dominance: RD) ตามทฤษฎีของ ARDO เหตุใดจึงมิได้ ม่งเน้ นหรื อ ุ ให้ ความสาคัญในเรื่ องของ “การข่าว (Intelligence)” และ “การใช้ เทคโนโลยีด้านระบบอาวุธ และระบบบัญชาการและควบคุมชั ้นสูง ” เลย ยกตัวอย่างการศึกษาเรื่ อง RDD ของ สหรัฐอเมริ กา ซึงมุ่งเน้ นการปฏิบติการไปยังการสานรวม (Integrate) ของยุทธศาสตร์ การรบ ่ ั เทคโนโลยีและนวัตกรรมการรบอันประกอบไปด้ วย ความรู้อย่างสมบูรณ์ด้านการข่าวทั ้งฝ่ าย เรา ฝ่ ายข้ าศึกและสภาวะแวดล้ อมของสงคราม ( Complete Knowledge of Self, Adversary and Environment) จากเทคโนโลยีด้านการข่าวชั ้นสูง, การควบคุมสภาวะ แวดล้ อม ( Control of Environment) ด้ วยระบบอาวุธ ( Weapons System) แบบของอาวุธ กับเทคโนโลยีลองหน ( Weapons Platforms with Stealth Technology) และระบบหุ่นยนต์ ่ (Robotics System), การสร้ างความรวดเร็ ว ( Rapidity) จากเทคโนโลยีของระบบ Sensor
  • 14. ๑๔ ระบบสือสารและคอมพิวเตอร์ , และการปฏิบติการอันเฉียบขาดหลักแหลม ( Brilliance of ่ ั Execution) องค์ประกอบดังที่กล่าวมานี ้จะนาไปสูสภาวะการตะลึงงันและหวาดหวัน ่ ่ (Shock and Awe) ซึงจะส่งผลให้ ฝ่ายตรงข้ ามยอมจานนต่อความต้ องการของฝ่ ายเราได้ ่ อย่างรวดเร็ ว คาอธิบายของ ARDO ในเรื่ องนี ้อยู่ที่คาถามที่ว่า “หากประเทศของท่ านจาเป็ นที่ จะต้ องรบเพื่อรักษาผลประโยชน์ เกียรติภมิและศักดิ์ศรีของชาติ โดยที่ท่านไม่ มี ู เทคโนโลยีท่ก้าวหน้ าอันใดเลย รวมทังไม่ มีข้อมูลด้ านการข่ าวหรือการข่ าวสรุ ปว่ า ี ้ กาลังของท่ านไม่ อาจเปรียบเทียบกับฝ่ ายตรงข้ ามได้ ท่ านจะสู้หรือไม่ ?” คาตอบที่ น่าจะเป็ นไปได้ มากที่สดก็คือ “ต้ องสู้” แต่จะ “สู้ อย่างไร” ใช่หรื อไม่ ผลของเทคโนโลยีนั ้นเป็ น ุ เพียงการสร้ างมือที่ยาวขึ ้นหรื อสายตาที่ยาวขึ ้น แต่ทฤษฎีของ ARDO จะนานักยุทธศาสตร์ จากจุดสูงสุดคืนสูสามัญ ( Back to Basic) ของการรบ ที่กลยุทธ์และเล่ห์เหลียมครองความ ่ ่ เป็ นเจ้ าในสนามรบโดยการ “ฉวยโอกาส ” ด้ วยหลักการหรื อแนวความคิดนี ้จะทาให้ ARDO สามารถนาไปใช้ ได้ ในทุกสมรภูมิตั ้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ ยุทธวิธี รวมไปถึงการรบ นอกแบบ สงครามกองโจรไปจนถึงการก่อการร้ าย อย่างไรก็ตามแนวความคิดทั ้ง ๒ ด้ านคือ ทั ้งของสหรัฐ ฯ และอิสราเอลมีสงที่คล้ ายคลึงกันคือ การมุ่งเปาหมายการโจมตีไปยังความ ิ่ ้ มุ่งมันและขีดความสามารถในการรบของฝ่ ายข้ าศึก ( Adversary’s Will and Ability to ่ Fight) ทั ้งทางกายภาพและทางจิตวิทยา รวมทั ้งความ “หลักแหลม ( Brilliance)” ในการใช้ ระบบของกาลังที่ตนเองมีอยู่ และที่สาคัญคือ “การเรี ยนรู้ทีจะสร้างอิ ทธิ พลหรื อควบคุมความ ่ ประสงค์ของฝ่ ายตรงข้ามด้วยกาลังของฝ่ ายเราทีมีอยู่ได้เช่นไร ” คงเหลือเพียง “วัฒนธรรม ่ ทางทหาร (Culture) และธรรมเนียมการรบ (Tradition)” เท่านั ้นที่แตกต่างกัน ทฤษฎี ARDO ของอิสราเอลยังชี ้ให้ เห็นอันตรายของเทคโนโลยีว่า หนทางที่จะสู้กน ั ระหว่างเทคโนโลยีกบเทคโนโลยีของทั ้งสองฝ่ ายนั ้นเป็ นไปไม่ได้ เนื่องจากจะต้ องมีฝ่ายหนึงที่ ั ่ นาหน้ าอยู่เสมอ การยึดถือเทคโนโลยีที่มากเกินความจาเป็ นคือจุดอ่อนที่ฝ่ายข้ าศึกเรี ยนรู้ได้ เพราะการใช้ เทคโนโลยีก็คือการปรากฏตัวของยุทธวิธีการรบ เทคโนโลยีได้ เปลียนศิลปะแห่ง ่ การสงคราม (Art of War) เป็ นประดิษฐ์ แห่งสงคราม ( Craft of War) เพิกเฉยในสายสัมพันธ์ ของคุณภาพทางอารมณ์และความสาคัญในการบัญชาการและควบคุมด้ วยจิตวิญญาณของ ความเป็ นมนุษย์ รวมทั ้งเป็ นการสร้ างผู้บงคับบัญชาในรูปแบบ “สถาปนิก ”(Engineer Model ั
  • 15. ๑๕ of Command) มากกว่าผู้บงคับบัญชาในรูปแบบแห่ง “ปรัชญา” (Philosophy Model of ั Command) หลักการเพื่อการก้ าวไปสู่ความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ว ๑. แบบจาลองหลักการเพื่อการก้ าวไปสู่ความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ว ผู้บญชาการทหารทัวไปย่อมเข้ าใจในพื ้นฐาน ทฤษฎีหรื อขั ้นตอนการรบอย่างถ่องแท้ ั ่ อยู่แล้ ว อย่างไรก็ตาม การนาแนวความคิด ทฤษฎี ขั ้นตอนหรื อหลักการมาสูการออก ่ แบบจาลองเพื่อให้ เห็นภาพโครงสร้ างที่ชดเจน ถือเป็ นสิงสาคัญในอันที่จะสร้ างความเข้ าใจ ั ่ และความเชื่อที่เป็ นอันหนึงอันเดียวกันสูการยอมรับในแวดวงทหารและการสงคราม ่ ่ ARDO (EBO) victory – Principle stages Stage 5 - Political Victory „ Realization of National Interests „ The elimination of political Resistance Stage 4 - Military Victory „ Achieving the Military Goals „ Elimination of Military Resistance Stage 3 „ Capitulation Stage 2 „ Decision ‟ to give up „ Futility in continued combat Stage 1 „Physical helplessness „System tipping of balance Depriving enemies ability to operate his forces as an effective system resulting loosing control (dominance) over vital (dominant) assets Physical annihilation of the enemy’s forces แบบจาลองหลักการเพื่อการก้ าวไปสูความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ วนี ้ ่ เริ่ มด้ วยการตัดขีดความสามารถของข้ าศึกไม่ให้ ใช้ กาลังอย่างเป็ นระบบและเกิด
  • 16. ๑๖ ประสิทธิภาพ อันจะเป็ นผลให้ เกิดการสูญเสียการควบคุมโดยเฉพาะในจุดของผลประโยชน์ และอานาจสาคัญของฝ่ ายข้ าศึก ทั ้งนี ้จะไม่ใช่การทาลายล้ างทางกายภาพในกาลังของฝ่ าย ข้ าศึก ในขั ้นที่ ๑ จากการสร้ างสภาวการณ์ดงกล่าว จะส่งผลกระทบต่อเนื่องให้ เกิดความไม่ ั สมดุลย์ในระบบของข้ าศึกและเกิดการหมดทนทางทางกายภาพที่จะใช้ ทาการสู้รบเพื่อบรรลุ วัตถุประสงค์ของตนเอง ในขั ้นที่ ๒ ข้ าศึกตัดสินใจที่จะหยุดการปฏิบติการเนื่องไม่บงเกิดผล ั ั หรื อประโยชน์อนใดที่จะทาการสู้รบต่อไป ขั ้นที่ ๓ คือการยอมจานนและทาสัญญายอมแพ้ ั ของข้ าศึก จากนั ้นคือการประกาศชัยชนะทางทหาร ( Military Victory) ในขั ้นที่ ๔ และ ท้ ายที่สดในขั ้นที่ ๕ คือ การได้ รับชัยชนะทางการเมือง (Political Victory) ุ ๒. การผนึกกาลังในขันสูง (High Synergy) ้ การใช้ กาลังโดยการผนึกกาลังทั ้งมวลนี ้ มีวตถุประสงค์เพื่อการเอาชนะฝ่ ายตรงข้ าม ั อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและด้ วยทรัพยากรอันจากัด อันเป็ นผลมาจากการสานความ ร่ วมมืออย่างเป็ นจังหวะในการเข้ าทาการรบทั ้งในเชิงรุกและเชิงรับ ดังที่กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น ทฤษฎีการผนึกกาลังนี ้ ถือเป็ นที่สดในการระดมสรรพกาลัง ุ เข้ าสูสงครามอย่างมีประสิทธิภาพ มีโครงสร้ างที่ใช้ ค ้าจุน เกื ้อกูล สนับสนุนและปองกันซึงกัน ่ ้ ่ และกันทั ้งในระบบรวมและในลักษณะการตัดสินใจและยืนหยัดอย่างเป็ นเอกภาพใน สนามรบ มีฝ่ายเสนาธิการร่ วมที่ทั ้งร่ วมคิด ร่ วมกิน ร่ วมนอนและร่ วมใจในการสนับสนุนกาลัง ในส่วนของตนผนวกเข้ าสูการรบตั ้งแต่ระดับย่อยจนถึงระดับใหญ่ การนาแนวความคิดไปสู่ ่ การปฏิบติอาจเป็ นเรื่ องที่ไม่ง่าย แต่การสู้รบที่มีลกษณะของการรุกคืบ การโจมตีและยึด ั ั ครองเป็ นจุดดังเช่นในสงครามสหรัฐ ฯ ‟ อิรักครังล่าสุด ได้ พิสจน์ถงการผนึกกาลังทั ้งทางบก ้ ู ึ ระบบอาวุธจากเรื อ การใช้ กาลังทางอากาศ การส่งกาลังบารุง การบินคุ้มครองเพื่อการรุกคืบ และการโจมตีตามแบบเพื่อเข้ ายึดเมืองและพื ้นที่ตามเส้ นทางนั ้นได้ รับผลสาเร็ จอย่างน่า พอใจ โครงสร้ างการจัดการถือเป็ นสิงสาคัญที่ผ้ บญชาการหรื อผู้ที่มีอานาจตัดสินใจจะต้ อง ่ ู ั ออกแบบให้ มีความอ่อนตัวและเกิดการประสานสอดคล้ องในกาลังทุกรูปแบบที่ตนมีให้ สามารถมุ่งไปยังเปาหมายหรื อเจตนารมณ์ที่ต้องการให้ จงได้ ้ ๓.ความอ่ อนตัวในการบัญชาการ (Flexible Command)
  • 17. ๑๗ ความอ่อนตัวในการบัญชาการมีวตถุประสงค์เพื่อให้ เกิดผลตอบสนองจากการ ั ปฏิบติการร่ วมกับการประสานงานอย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ ว โดยต้ องรักษาการผนึก ั กาลังให้ คงที่แม้ ในยามที่เกิดความไม่แน่นอนของสถานการณ์หรื อแม้ กระทังขณะถูกจู่โจมจน ่ เสียกระบวนการรบ การธารงรักษาเปาหมายถือเป็ นสิงสาคัญและจะได้ มาจาก “เจตนารมณ์ ้ ่ ของผูบงคับบัญชารวมกับแนวความคิดในการปฏิ บติการ (เจตนารมณ์บวกวิ ธีการ)” หลักการ ้ ั ั นี ้มีความสาคัญอยู่ที่ความอ่อนตัว อันเป็ นผลจากความต้ องการที่จะรบให้ เร็ วในขณะที่ ธรรมชาติของสงครามคือ การที่ไม่สามารถคาดหมายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ ้นได้ (ในการ วิเคราะห์จะตัดตัวแปรเรื่ องการข่าว เพื่อให้ เห็นถึงขีดความสามารถต่าสุดที่ฝ่ายเรามี) ดังนั ้น การเลือก “จังหวะ” ที่เหมาะสมที่สดเพื่อให้ ได้ ชยชนะและการโจมตีไปยังจุดอ่อนของข้ าศึกจึง ุ ั เป็ นสิงจาเป็ นอย่างยิ่งในแนวทางของ ARDO ่ กระบวนการวางแผนอันหลักแหลม (Ingenious Planning) กระบวนการความคิดอันชาญฉลาด (Ingenious Thinking) เป็ นที่ทราบดีว่า การแปลงศิลปเป็ นศาสตร์ โดยเฉพาะในด้ านการทหารและการ ์ สงครามนั ้น เป็ นสิงที่มีความยากลาบากและอาจเป็ นไปไม่ได้ เนื่องจากปั จจัยที่เกี่ยวข้ องใน ่ การสงคราม ความคลุมเครื อของสงคราม ( F o g o f W a r) และความติดขัดในสงคราม (F r i c t i o n) นั ้นจะบดบังให้ เกิดความไม่แน่นอนของสถานการณ์ ซึงส่งผลอย่างสูงต่อการ ่ วางแผนและการตัดสินใจของผู้บงคับบัญชา อย่างไรก็ตามกระบวนการหรื อแนวความคิดที่ ั จะกล่าวเป็ นลาดับต่อไปนี ้ อาจใช้ เป็ นวิถีทางหรื อพื ้นฐานในการพิจารณาเพื่อสร้ าง แนวความคิดในการเตรี ยมการและวางแผนการรบต่อไป ๑. ชี ้ชัดในระบบของข้ าศึกให้ ได้ (ลักษณะและขอบเขตการจัดการของข้ าศึก) ทั ้งนี ้ จะต้ องตั ้งคาถามที่ว่า “สิ่งใดทีจะลดแรงจูงใจในการสูรบของฝ่ ายข้าศึกลงได้ ” และ “จะลดขีด ่ ้ ความสามารถของข้าศึกได้อย่างไร” ในประเด็นนี ้ฝ่ ายเสนาธิการจะต้ องร่ างหนทางปฏิบติใน ั ทุกกรณีที่เป็ นไปได้ เพื่อนาไปเสริ มต่อเจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชาเพื่ออนุมติหนทางปฏิบติ ั ั ั ที่ดีที่สดต่อไป ุ ๒. ชี ้ชัดในระบบกาลังหลักของข้ าศึก (จุดศูนย์ดล, แหล่งของขีดความสามารถ) ุ ๓. ชี ้ชัดจุดด้ อยอันเป็ นอันตรายในกาลังหลักของฝ่ ายข้ าศึก
  • 18. ๑๘ ๔. ชี ้ชัดจุดอ่อนอันเป็ นอันตรายที่ข้าศึกใช้ ปองกันจุดด้ อย ประเด็นนี ้ผู้บญชาการ ้ ั จะต้ องค้ นหาจุดอ่อนของฝ่ ายข้ าศึกให้ ได้ หรื อมิฉะนั ้นจะต้ องสร้ างจุดอ่อนให้ แก่ฝ่ายข้ าศึก ด้ วยวิธีการต่าง ๆ เช่น การใช้ การลวง (Deception) เป็ นต้ น ๕. มุ่งเน้ นกาลังหลักของฝ่ ายเราไปยังจุดอ่อนดังกล่าวจนเกิดการสมดุลย์ในการรบ (Neutralize) ซึงจุดนี ้จะเป็ นจุดที่ฝ่ายข้ าศึกจะต้ องพิจารณาเพื่อปรับเปลียนความประสงค์ ่ ่ หรื อตัดสินใจที่จะยุติการรบต่อไป ๖. ตัวอย่างของแนวความคิดหรื อลาดับขั ้นตอนเพื่อการให้ ได้ ชยชนะอย่างเด็ดขาด ั อาจประกอบไปด้ วยยุทธวิธีต่าง ๆ เช่น ๖.๑ การทาให้ ข้าศึกอ่อนกาลังลงด้ วยวิธีการลวง ๖.๒ การโดดเดี่ยวกาลังข้ าศึก ๖.๓ การประกบติดข้ าศึก ๖.๔ การตัดสายการส่งกาลังบารุง ๖.๕ การมุ่งกาลังไปยังจุดอ่อนของข้ าศึก ๖.๖ การสร้ างความสับสนในการปองกันของฝ่ ายข้ าศึก ้ ๖.๗ การรักษาสายการบัญชาการของฝ่ ายเรา ๖.๘ ตัดสายการบังคับบัญชาฝ่ ายข้ าศึก ๖.๙ การจัดกระบวนรูปแบบในการโจมตีโดยวางกาลังหลักไปยังจุดศูนย์ดลทาง ุ ยุทธศาสตร์ และกาลังรองไปยังระดับปฏิบติการและยุทธวิธี ั ๖.๑๐ การวางแผนการโจมตีแบบคู่ขนาน ( Paralysis) ด้ วยกาลังทางบก กาลัง ทางเรื อและกาลังทางอากาศโดยจัดลาดับการเผชิญหน้ ากับฝ่ ายข้ าศึกตามขีดความสามารถ ของระบบอาวุธที่มีจากระยะไกลมายังระยะใกล้ ทั ้งนี ้ในกระบวนการดาเนินกลยุทธ์ตามแนวทางเหล่านี ้ ผู้บญชาการจะต้ องระลึก ั และคานึงถึงเปาหมายของการรบอยู่ตลอดเวลา ้
  • 19. ๑๙ แนวความคิดในการจัดระบบสาขาเสนาธิการร่ วม (General Staff Branch) ประเทศที่มีกาลังรบจากัดทั ้งทางด้ านเทคโนโลยี ขีดความสามารถ กาลังพลและ งบประมาณ จะต้ องมีการสร้ างระบบหรื อนวัตกรรมการรบใหม่เพื่อให้ สามารถนาขีด ความสามารถที่ตนเองมีไปใช้ ได้ อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ในการจัดโครงสร้ างนี ้ กระบวนการวางแผนถือได้ ว่าเป็ นสิงสาคัญหรื อเป็ นหัวใจของการรบ การระดมความคิดและ ่ มันสมองของอานาจจากทุกเหล่าทัพเพื่อการใช้ กาลังอย่างประสานสอดคล้ องโดยลดปั ญหา การปฏิบติการร่ วมเป็ นสิงที่นกยุทธศาสตร์ หรื อนักการทหารทุกคนต้ องการ การปรับเปลียน ั ่ ั ่ รูปแบบองค์กรนี ้ต้ องอาศัยการศึกษาแนวคิดและวิธีการอย่างละเอียดรอบคอบ พิจารณาผลดี เปรี ยบเทียบกับผลเสีย เมื่อได้ ข้อสรุปแล้ วจึงตัดสินใจดาเนินการปรับเปลียนรูปแบบของ ่ องค์กร การนา ARDO ไปประยุกต์ใช้ มิใช่การปรับเปลียนรูปแบบขององค์กร แต่เป็ นการ ่ จัดการเพื่อให้ เกิดการประสานการดาเนินการให้ เกิดความอ่อนตัวในการบัญชาการและ ตัดสินใจ โดยมอบอานาจให้ แก่ผ้ บญชาการและฝ่ ายเสนาธิการที่ได้ รับการฝึ กฝนร่ วมกัน ู ั มาแล้ วนาไปปฏิบติให้ เกิดประสิทธิภาพอย่างเป็ นรูปธรรม ั แนวความคิดในการจัดรูปแบบองค์กรเพื่อเตรี ยมการรบ พิจารณาแบ่งออกได้ เป็ น ๒ ส่วนง่าย ๆ คือ ส่วนการรบ ( Combat Effort) และ ส่วนสนับสนุนธุรการ ( Administration Support Effort) General Staff Branch Combat Effort Combat Echelon Combat Support Echelon War Room Headquarter Admin. Branch Administrative support Effort Logistic Manpower การจัดฝ่ ายเสนาธิการสาขา ( General Staff Branch) ในแนวความคิดของ ARDO จะแบ่งออกเป็ นส่วนรับผิดชอบดังนี ้ คือ Intelligence, Engineering, Signal /
  • 20. ๒๐ Communications, Logistics, Man Power & Personnel, Air Liaison Officer และ Artillery Commander Artillery Intelligence General Staff Branch Engineering Signals/ Communica tions Air Liaison Officer Manpower & Personnel Logistics จากการจัดฝ่ ายเสนาธิการสาขาของแต่ละเหล่าทัพนี ้จะนามา “ผนึกกาลัง ” ในรูปแบบ ของโครงข่ายฝ่ ายเสนาธิการร่ วมดังนี ้ The General Staff (GSO) – Synergist – Integral Constant “Jointness” Joint Supreme GHQ BGHQ GSC Inf OGHQ Strategic Operational Tactical Integration Axis ‟ Operation chain Eng Sig Log Horizontal High Harmony GSB “Backbone” Services chain Differentiation Axis - Building Army Navy Air Force
  • 21. ๒๑ จุดสาคัญหลักของโครงข่ายนี ้คือ แกนของฝ่ ายเสนาธิการ ( General Staff Core: GSC) ซึงจะเชื่อมโยงแนวความคิดในการทาการรบจากฝ่ ายเสนาธิการร่ วมในกองบัญชาการ ่ ทหารสูงสุดลงมายังฝ่ ายเสนาธิการร่ วมสาขาในพื ้นที่การรบตั ้งแต่ระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ และยุทธวิธี ซึงในแต่ละระดับก็ยงประกอบไปด้ วยฝ่ ายเสนาธิการของแต่ละส่วนที่คิดร่ วมกัน ่ ั อย่างสมานฉันท์ ในการปฏิบติงานร่ วมกันนี ้ “นักผนึกกาลัง ” (Synergist) หรื อฝ่ ายเสนาธิการร่ วม ั จะต้ องได้ รับการศึกษาหลักนิยม ทฤษฎีสงคราม วิเคราะห์สงคราม การฝึ กฝนในการใช้ ความคิดวางแผนและฝึ กซ้ อมด้ วยเกมส์สงครามที่มีสถานการณ์เสมือนจริ ง จนสามารถ ปฏิบติงานร่ วมกันได้ อย่างมีประสิทธิภาพดังที่ได้ กล่าวมาแล้ วข้ างต้ น ั การออกแบบห้ องยุทธการหรื อ War Room ก็มีสวนสาคัญที่จะช่วยให้ การ ่ ประสานงาน การประชุมเร่ งด่วนเพื่อปรับเปลียนการปฏิบติการเป็ นไปด้ วยความสะดวก ่ ั รวดเร็ ว ทั ้งนี ้คณะทางานจะต้ องคานึงถึงและยึดถือความง่ายในการปฏิบติการไว้ เป็ นหลัก ั ตัวอย่างในการออกแบบ War Room อาจจัดได้ ในลักษณะดังนี ้ War room Structure INTEL Central Control desk XX EC Conference Area Staff and Fire Support Positions ARTY AF ADA AH
  • 22. ๒๒ Main Control Position in the War Room Map Board Operational Maps General INTEL COMM Operator COMM POST Operational Maps Main INTEL Aerial Photos War Room OPS Officer OPS Log “White” Map War Diary Situation Map Chief of Staff COMM POST Tables: Unit Status, Reports and Orders Intelligence Officer Commander General Staff COMM Operator Operations Officer สรุปโดยรวมแล้ ว ARDO ก็คือการสร้ างนวัตกรรมใหม่ที่เหมาะสมให้ กบองค์กรการรบ ั เพื่อสนองตอบต่อรูปแบบของสงครามที่เปลียนแปลงไป ด้ วยกาลังและขีดความสามารถที่ ่ ตนเองมีอยู่ โดยใช้ เทคนิคในการสานรวมแนวความคิดและกาลังของทุกเหล่าทัพเข้ าด้ วยกัน ให้ ได้ อย่างเป็ นรูปธรรม ซึงต้ องการการปรับเปลียนหลักนิยม การค้ นหาแนวทางอันเป็ น ่ ่ เอกลักษณ์ของตนเอง ผนวกกับการสร้ างความเชื่อ ความศรัทธาและการอุทิศตนเพื่อ เปาหมายสุดท้ ายคือ การให้ ได้ รับชัยชนะหรื อมีอานาจเหนือฝ่ ายตรงข้ ามอย่างรวดเร็ ว ความ ้ มุ่งมันและตั ้งใจที่จะคิดค้ นหาวิธีการและปรับเปลียนตนเองเพื่อความสาเร็ จในการรบนี ้ถือ ่ ่ เป็ นปั จจัยสาคัญที่สดของ ARDO ุ สรุ ป ๑. นิยามของ ARDO ก็คือ “วิธีการที่ทาให้ ข้าศึกหมดอานาจในการใช้ กาลังทางทหาร ต่อต้ านฝ่ ายเรา อันเป็ นผลมาจากการทาลายจาเพาะไปยังขีดความสามารถในการทาการรบ ของข้ าศึก มากกว่าการทาลายทุกสิงทุกอย่าง” ่
  • 23. ๒๓ ๒. แนวความคิดหลักในการให้ ได้ มาซึงอานาจเหนือฝ่ ายข้ าศึกคือ การควบคุมข้ าศึก ่ (Take Control) โดยการลดปั จจัยแห่งอานาจในระบบของข้ าศึก เพื่อมิให้ ข้าศึกสามารถใช้ กาลังของตนเพื่อบรรลุเปาประสงค์ที่ตนต้ องการได้ อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดความขัดข้ อง ้ ที่จะดาเนินการสู้รบต่อไป อันจะนาไปสูการตัดสินใจที่จะเลิกต่อสู้และยอมจานนในที่สด ่ ุ ๓. พื ้นฐานของ ARDO (Fundamentals of ARDO) ประกอบไปด้ วยความต้ องการ ดังนี ้ ๓.๑ ความค้ นคิดอันหลักแหลมในกระบวนการการตัดสินใจทางทหาร (Ingenious Military Decision Making Process) ๓.๒ การผนึกกาลังอย่างสูง (High Synergy) ๓.๓ ความอ่อนตัวของการบัญชาการ (Flexible Command) ๔. หัวใจหลักของ ARDO (Cornerstones of ARDO) หรื อปั จจัยหลักในการนาเอา ทฤษฎีของ AROD ไปสูการปฏิบติให้ บงเกิดผลได้ จาเป็ นต้ องมีการพัฒนาในองค์ประกอบ ่ ั ั ดังต่อไปนี ้ ๔.๑ หลักนิยมการรบทางทหาร (Common General Warfare doctrine) ๔.๒ โครงสร้ างฝ่ ายเสนาธิการร่ วมตั ้งแต่ระดับกองพัน (Staff structure from brigade-level and up) ๔.๓ หลักนิยมการบัญชาการและควบคุมที่ปรับให้ สอดคล้ องกับเปาประสงค์ ้ (Aim Oriented Command and control Doctrine) ๔.๔ การฝึ กฝนเตรี ยมการที่มีลกษณะเฉพาะในระดับของฝ่ ายเสนาธิการ ั (Unique Training of General Staff Officer) ๕. พื ้นฐานในกระบวนการวางแผนอันหลักแหลม ( Fundamentals of Ingenious Planning) ผู้บญชาการรบ จะต้ องพัฒนาขีดความสามารถของตนเองในการกาหนด ั “เจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชา ” (Commander’s Intent) และ ”แนวความคิดในการ ั ปฏิบติการ” (Concept of Operations) โดยต้ องศึกษาถึงปั จจัยที่จะนามาเป็ นพื ้นฐานในการ ั วางแผนว่า สิงใดที่จะสร้ างแรงกระทบหรื อเป็ นจุดชี ้ขาดต่อการเปลียนแปลงในการ ่ ่ “ตัดสินใจ” ของฝ่ ายข้ าศึก และ “สถานการณ์การปฏิบติการที่ฝ่ายเราต้ องการ ” เพื่อบีบบังคับ ั ให้ ฝ่ายข้ าศึกยอมแพ้ ด้วยความไม่ค้ มค่าที่จะฝื นปฏิบติการต่อไปหรื อต้ องประสบความล่ม ุ ั
  • 24. ๒๔ สลายในกาลังทหารของตน ทั ้งนี ้ ผู้บญชาการรบจะต้ องค้ นหาสภาวะปฏิบติการที่เป็ น ั ั เอกลักษณ์หรื อกลยุทธ์ที่ “ประดิษฐ์ คิดค้ น ” ขึ ้นอย่างชาญฉลาดตามสถานการณ์ในการรบ จาเพาะนั ้น ๆ ด้ วยการผนึกกาลังของขีดความสามารถที่ตนเองมีอยู่ ความเชี่ยวชาญของผู้ บัญชาการเช่นนี ้ ต้ องการการฝึ กฝนและการศึกษาเรี ยนรู้ในเรื่ องการสงครามชั ้นสูง ๖. หลักการเพื่อการก้ าวไปสูความมีอานาจเหนือข้ าศึกในเวลาอันรวดเร็ ว เริ่ มด้ วย ่ การตัดขีดความสามารถของข้ าศึกไม่ให้ ใช้ กาลังอย่างเป็ นระบบและเกิดประสิทธิภาพ อันจะ เป็ นผลให้ เกิดการสูญเสียการควบคุมโดยเฉพาะในจุดของผลประโยชน์และอานาจสาคัญ ของฝ่ ายข้ าศึก ผลจากการสร้ างสภาวการณ์ดงกล่าว จะทาให้ เกิดความไม่สมดุลย์ในระบบ ั ของข้ าศึกและเกิดการหมดทนทางทางกายภาพ ซึงจะทาให้ ข้าศึกต้ องตัดสินใจหยุดการ ่ ปฏิบติการเนื่องไม่เกิดประโยชน์อนใดที่จะสู้รบต่อไป ยอมจานนและทาสัญญายอมแพ้ ใน ั ั ที่สด ในการดาเนินการ จะต้ องใช้ การผนึกกาลังในขั ้นสูง (High Synergy) และ ความอ่อนตัว ุ ในการบัญชาการ ( Flexible Command) เพื่อให้ เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบติการสูงสุด ั และด้ วยทรัพยากรอันจากัด ๗. กระบวนการความคิดอันหลักแหลม (Ingenious Thinking) ๗.๑ ชี ้ชัดในระบบของข้ าศึกให้ ได้ (ลักษณะและขอบเขตการจัดการของข้ าศึก) ทั ้งนี ้จะต้ องตั ้งคาถามที่ว่า “สิงใดที่จะลดแรงจูงใจในการสู้รบของฝ่ ายข้ าศึกได้ ” และ “จะลด ่ ขีดความสามารถของข้ าศึกอย่างไร” ในประเด็นนี ้ฝ่ ายเสนาธิการจะต้ องร่ างหนทางปฏิบติใน ั ทุกกรณีที่เป็ นไปได้ เพื่อนาไปเสริ มต่อเจตนารมณ์ของผู้บงคับบัญชาเพื่ออนุมติหนทางปฏิบติ ั ั ั ต่อไป ๗.๒ ชี ้ชัดในระบบกาลังหลักของข้ าศึก ๗.๓ ชี ้ชัดจุดด้ อยอันเป็ นอันตรายในกาลังหลักของฝ่ ายข้ าศึก ๗.๔ ชี ้ชัดจุดอ่อนอันเป็ นอันตรายที่ข้าศึกใช้ ปองกันจุดด้ อย ้ . ๗.๕ มุ่งเน้ นกาลังหลักของฝ่ ายเราไปยังจุดอ่อนดังกล่าวจนเกิดการสมดุลย์ทาง ทหาร (Neutralize) ซึงจุดนี ้จะเป็ นจุดที่ฝ่ายข้ าศึกเริ่ มที่จะต้ องพิจารณาเพื่อตัดสินใจในการ ่ ดาเนินการรบใหม่ ๗.๖ ลาดับขั ้นตอนเพื่อการให้ ได้ ชยชนะอย่างเด็ดขาดประกอบด้ วยการทาให้ ั ข้ าศึกอ่อนกาลังลงด้ วยวิธีการลวง การโดดเดี่ยวกาลังข้ าศึก การประกบติดข้ าศึก การตัดสาย
  • 25. ๒๕ การส่งกาลังบารุง การมุ่งกาลังไปยังจุดอ่อนของข้ าศึก การสร้ างความสับสนในการปองกัน ้ ของฝ่ ายข้ าศึก การรักษาสายการบัญชาการของฝ่ ายเรา การตัดสายการบังคับบัญชาฝ่ าย ข้ าศึก การจัดกระบวนรูปแบบในการโจมตีโดยวางกาลังหลักไปยังจุดศูนย์ดลทางยุทธศาสตร์ ุ และกาลังรองไปยังระดับปฏิบติการและยุทธวิธี การวางแผนการโจมตีแบบคู่ขนานด้ วยกาลัง ั ทางบก กาลังทางเรื อและกาลังทางอากาศโดยจัดลาดับการเผชิญหน้ ากับฝ่ ายข้ าศึกตามขีด ความสามารถของระบบอาวุธที่มีจากระยะไกลมายังระยะใกล้ _________________________________________________