SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
20/03/2554                                                                                                                                                             1 

 




                                  Operation Odyssey Dawn – ปฏิบติการทางทหารบนข้ อจํากัด
                                                               ั
                                                                                                                             พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง
                                                                                                                          นักวิชาการด้านความมันคงอิสระ
                                                                                                                                                ่



                                              ่
            จากเมื่อคืนวันที่ 19 มี.ค. 54 ที่ผานมา ได้มีขีปนาวุธร่ อนโทมาฮอร์ค หรื อ Cruise Missile Tomahawk
จํานวนกว่า 110 ลูกถูกปล่อย โดยมีเป้ าหมายคือเป้ าหมายทางยุทธศาสตร์ของประเทศลิเบีย พร้อมทั้งมีการใช้
เครื่ องบินเข้าปฏิบติทางอากาศโจมตีเป้ าหมายทางยุทธศาสตร์ ในลิเบียไปพร้อมๆ กัน ที่ส่งผลให้มีผเู ้ สี ยชีวิต
                   ั
                                        ่
48 คน และ บาดเจ็บกว่า 150 คนนั้น ถือได้วาเป็ นการปฏิบติการทางทหารหลังจากที่ประชุมคณะมนตรี ความ
                                                     ั
มันคงแห่ งสหประชาชาติ (UNSC) ได้อนุมติให้ใช้ “ทุกมาตรการที่จาเป็ น” เพื่อปกป้ องประชาชนลิเบียจาก
  ่                                 ั                       ํ
การโจมตีของรัฐบาลกัดดาฟี ด้วยมติ 10-0 โดยมีชาติที่งดออกเสี ยง 5 ชาติ ได้แก่ รัสเซีย จีน บราซิล เยอรมนี
                                   ่
อินเดีย เมื่อวันที่ 17 มี.ค.54 ที่ผานมา

            ปฏิบติการทางทหารในครั้งนี้ มีชื่อว่า Operation Odyssey Dawn สามารถกล่าวได้ว่าเป็ นการ
                ั
ปฏิบติการทางทหารอย่างจํากัด ทั้งตามคําแถลงการณ์ของประธานาธิ บดี โอบามา ของสหรั ฐฯ เอง และ
    ั
รู ปแบบของการปฏิบติการเองทําให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า การปฏิบติการครั้งนี้ คงเป็ นเรื่ องที่ตองดําเนินการ
                 ั                                          ั                               ้
อย่างเร่ งรี บและบนความไม่พร้อม ของสหรัฐฯ เอง ส่ วนประเทศอื่นๆ นั้นเป้ นผูร่วมในการให้การสนับสนุน
                                                                          ้

            มาถึงตรงนี้ หลายๆ ท่านอาจจะมองว่าทําไมผมถึงให้น้ าหนักสหรัฐฯ ในการกําหนดทิศทางของการ
                                                             ํ
ปฏิบติการทางทหาร ที่ผมให้น้ าหนักไปที่สหรั ฐฯ เพราะปั จจุ บน สหรั ฐฯ มี ปัจจัยที่ เอื้ อต่อการส่ งทหาร
    ั                       ํ                              ั
ออกไปทัวโลก ด้วยปั จจัยดังนี้ คือ ในระดับนโยบาย สหรัฐฯ เป็ นประเทศทีมีความชัดเจนในการกําหนด
       ่
ยุทธศาสตร์ ที่รักษาผลประโยชน์นอกประเทศ อีกทั้งกฏหมายได้ให้อานาจประธานาธิ บดี ในการรั กษา
                                                           ํ
                                                         ํ
ผลประโยชน์นอกประเทศ นอกจากนี้ สหรัฐฯเอง ยังมีกองทัพที่มีกาลังพล 5 เหล่าทัพ (กองทัพบก เรื อ
อากาศ นาวิกโยธิน และ รักษาฝั่ง) พร้อมกองกําลัง National Guard และ กําลังสํารอง ประมาณ 2 ล้านนาย

                                                              ํ
            ไม่เพียงแต่ความพร้อมในระดับนโยบาย และ ทางกองทัพมีกาลังพลจํานวนมากแล้ว สหรัฐฯ ยังมี
ประสบการณ์ในการนํากําลังทหารออกปฏิบติการหลายพื้นที่ในโลก จวบมาจนถึงปั จจุบน อีกทั้งสหรัฐฯ ยัง
                                   ั                                      ั
มีเหล่าทัพที่มีความสามารถออกไปปฏิบติการได้ทวโลกที่มีความสามารถดูแลตัวเองได้ 60 วันโดยไม่มีการ
                                  ั        ั่
20/03/2554                                                                                                                                                             2 

 

สนับสนุ นจากภายนอก จํานวน 3 หน่ วย นั้นคือ กองกําลังนาวิกโยธิ นปฏิบติการนอกประเทศ (Marine
                                                                   ั
Expeditionary Force) โดย กองกําลังนาวิกโยธิ นปฏิบติการนอกประเทศ จะมีขีดความสามารถในการ
                                                 ั
ปฏิบติการทางทหารทางบก และทางอากาศ และมีหน่ วยงานส่ งกําลังของตนเอง ซึ่ งเมื่อประกอบกําลังกับ
    ั
กําลังทางเรื อ เช่ น เรื อรบ เรื อบรรทุกเครื่ องบิน เรื อลําเลียงพล และ รวมถึงเรื อยกพลขึ้นบก จะทําให้ กอง
กําลังนาวิกโยธิ นปฏิบติการนอกประเทศ เป็ นหน่ วยที่มีความพร้อมทั้ง ทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ ใน
                     ั
ตัวเอง ซึ่งเป็ นขีดความสามารถที่ไม่มีประเทศไหนมีได้เท่า

            อย่างไรก็ตามการที่สหรัฐฯ เป็ นประเทศเดียวในโลกแต่สภาพความเป็ นจริ งในปั จจุบนของสหรัฐฯ
                                                                                        ั
กับไม่เอื้ออํานวยให้ส่งกําลังเข้าปฏิบติการทางทหารในลิเบีย เนื่ องจาก ปั จจุบน สหรัฐฯมีกาลังทหารอยู่ใน
                                     ั                                      ั          ํ
                                                 ํ                         ํ         ่
อิรักประมาณ 90,000 นายเมื่อปี ที่แล้ว และปี นี้ กาลังทหารลดลง อีกทั้งยังมีกาลังทหารอยูในอัฟกานิ สถาน
ประมาณ 90,000 นาย โดยในอิรัก สหรัฐฯ เป็ นผูจดกําลังรับผิดชอบหลัก ส่ วนในอัฟกานิ สถาน จะเป็ นการ
                                           ้ั
จัดกําลังภายใต้กรอบของ องค์การสนธิ สัญญาป้ องกันแอตแลนติกเหนื อ                                                           (North          Atlantic           Treaty
Organization : NATO) ภายใต้ชื่อ International Security Assistance Force : ISAF การที่สหรัฐฯ คงกําลัง
ทหารไว้ในอิรัก และอัฟกานิ สถาน ทําให้สหัฐฯ ถูกตั้งคําถามว่า สหรัฐฯ สู ญเสี ยชี วิตคนสหรัฐฯไป 4,430
คนในอิรัก บาดเจ็บ 36,395 คน และ สู ญเสี ยชีวิตคนสหรัฐฯไป 1,412 คนในอิรัก บาดเจ็บ 10,468 คน เพื่อ
อะไร ทําให้แรงผลักดันในประเทศให้ถอนกําลังออกจากทั้ง 2 ประเทศ ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจของ
สหรัฐฯเองก็ไม่ได้ดีและแข็งแกร่ งอย่างที่เคยเป็ นมาในอดีต

            ไม่เพียงแต่ขอจํากัดเรื่ องกําลังที่คงไว้ใน อิรักและอัฟกานิสถานแล้ว สหรัฐฯ เองยังมีแนวคิดในการ
                        ้
ทําสงครามที่ว่า Two-Major Theater War หรื อความสามารถที่จะเปิ ดสนามรบพร้อมกันได้ 2 สนามรบ แต่
                                       ํ
ด้วยข้อจํากัดทางงบประมาณ สหรัฐฯ จึงได้กาหนดสนามรบออกเป็ น 3 ประเภทคือ

                          * พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดใหญ่ (Large Theater War: LTW)

                          * พื้นที่ทีมีความขัดแย้งขนาดเล็กที่มีขาศึกมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยีสูง (STW
                                                                ้
High-Technology)

                          * พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดเล็กในพื้นที่ปิด พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง หรื อป่ าภูเขา (STW Low
Intensity)
20/03/2554                                                                                                                                                             3 

 

                                       ํ
            โดยยามปกติ สหรั ฐฯ จะบรรจุกาลังพล ที่กองบัญชาการภาคพื้นยุโรป (Command: EUCOM)
100,000 นาย ที่กองบัญชาการภาคพื้นแปซิ ฟิก (Pacific Command: PACOM) 100,000 นาย และที่
กองบัญชาการภาคพื้นกลาง (Central Command: CENTCOM) 40,000 นาย ถ้ามีความขัดแย้งในแต่ละ
ภูมิภาคการประกอบกําลังดังต่อไปนี้

                          - พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดใหญ่ (LTW): 9 กองพลทหารราบ/นาวิกโยธิ น 12 กองบิน
ต่อสู /้ ขับไล่ 6 กองเรื อบรรทุกเครื่ องบิน

                          - พื้นที่ทีมีความขัดแย้งขนาดเล็กที่มีขาศึกมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยีสูง (STW
                                                                ้
High-Tech): 1 กองพลทหารราบ/นาวิกโยธิน 5 กองบินต่อสู/้ ขับไล่ 3 กองเรื อบรรทุกเครื่ องบิน

                          - พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดเล็กในพื้นที่ปิด พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง หรื อป่ าภูเขา (STW Low-
Intensity): 3 กองพลทหารราบ/นาวิกโยธิน 3 กองบินต่อสู/้ ขับไล่ 1 กองเรื อบรรทุกเครื่ องบิน

                          โดยที่ ท้ ัง หมดจะมี ก องหนุ น 9 กองพลทหารราบ/นาวิ ก โยธิ น และ 2 กองเรื อ บรรทุ ก
เครื่ องบิน

             แนวความคิดใหม่น้ ี ได้ปรั บเปลี่ยนสมมุติฐาน จากโอกาสที่จะเกิ ด พื้นที่ความขัดแย้งขนาดใหญ่
สองพื้นที่ มาเป็ นความขัดแย้ง มีโอกาสเกิดขึ้นได้มากว่า หนึ่ งพื้นที่ ณ เวลาหนึ่ ง แต่กรอบของความขัดแย้ง
ต่างกัน บางพื้นที่ อาจจะมีความขัดแย้งในลักษณะ LTW, STW High-Tech หรื อ STW Low-Intensity
เพราะฉะนั้นการเตรี ยมกําลัง และ ประกอบกําลังขึ้น ตามสมมุติฐานใหม่น้ ีจะมีความอ่อนตัวมากขึ้น และอาจ
ทําให้ กองทัพสหรัฐ ฯ มีขีดความสามารถที่จะทําการรบในพื้นที่ความขัดแย้งมากกว่า 1 พื้นที่ในเวลา
เดียวกัน

                                            ่
            จากที่กล่าวมาในข้างต้นจะเห็นได้วา สหรัฐฯ เป็ นประเทศที่มีความสามารถในการส่ งกําลังออกนอก
                                                  ่
ประเทศ แต่ดวยข้อจํากัดที่มีคือ การมีกองกําลังคงอยูในอิรัก และ อัฟกานิ สถาน ทําให้การเปิ ดสนามรบที่ 3
           ้
นั้นเป็ นไปได้แต่ สนามรบที่ ไม่ตองใช้ก าลังพลมาก ทําให้ส่งผลสะท้อนไปยังการปฏิ บติการ Operation
                                ้      ํ                                       ั
Odyssey Dawn ว่าสหรัฐฯ จะไม่ส่งกําลังทหารเข้าไป และจะปฏิบติการทางทหารอย่างจํากัด ส่ วนประเทศ
                                                         ั
อื่นๆ นั้น มีขอจํากัดนานาประการ เช่ น ประเทศในสหภาพยุโรป ต่างประสบปั ญหาเศรษฐกิ จ และมีกอง
              ้
กําลังของตนเองอยูใน อัฟกานิสถาน ทําให้ไม่ง่ายที่จะเป็ นผูนาในการนํากองกําลังทางบกเข้าสู่ลิเบีย
                 ่                                       ้ ํ
20/03/2554                                                                                                                                                             4 

 

            ดังนั้นการปฏิบติ Operation Odyssey Dawn ที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ จึงมีความเป็ นไปได้ 3 แนวทาง
                          ั
หลังจากการทิ้งโจมตีทางอากาศและ การโจมตีโดยขีปนาวุธร่ อน ดังปรากฏในภาพที่ 1 และ มีรายละเอียด
ดังนี้


                                                              สถานการณ์ ในลิเบีย


                                                                  Operation
                                                                Odyssey Dawn


                                                                              ความเป็ น
                                                                                ไปได้
                                                                              หลังจากนี ้




         ส่ งกองกําลังทหารเข้ า                                    ใช้ สงครามนอกแบบ
                                                                                                                                 จับตัวผู้นําลิเบีย
               ไปในลิเบีย                                               จัดตังกองโจร
                                                                             ้
                                                             - แนวทางนี้เป็ นแนวทางที่มีโอกาสมาก                       - แนวทางนี้เป็ นเป็ นอีกแนวทางหนึ่งที่มี
    - แนวทางนี้หากเกิดขึ้น กําลังหลัก
                                                             แนวทางหนึ่ง เพราะ สหรัฐฯ                                  โอกาสมากอีกแนวทางหนึ่ง เพราะ
    ที่นาเข้าจะไม่ใช่ สหรัฐฯ เพราะสหรัฐฯ
        ํ
                                                             อาจจะสนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณ์ได้                           สหรัฐฯ สามารถใช้หน่วยปฏิบติการั
    ใช้ทหารไปในอิรัก และอัฟกานิสถาน
                                                             สะดวก                                                     พิเศษ เข้าดําเนินเนินการจับกุมผูนาได้
                                                                                                                                                       ้ ํ
    เกือบ 200,000 นาย
                                                                                                                       โดยใช้เวลาในการปฏิบติไม่นานมากนัก
                                                                                                                                               ั
                                                            - ข้อจํากัด หน่วยที่รับผิดชอบในเรื่ อง
    - สหรัฐฯ ยังไม่มีความพร้อมในการเปิ ด
                                                            ของสงครามนอกแบบของสหรัฐฯ                                   - การปฏิบติตามแนวทางนี้ตอง
                                                                                                                                ั              ้
    สนามรบ แห่งที่ 3 ด้วยเงื่อนไขหลาย
                                                            ในพื้นที่ของลิเบีย ปั จจุบนมีภารกิจ
                                                                                      ั                                ได้รับการสนับสนุนและยินยอมจาก
    ประการ เช่น ปั ญหาเศรษฐกิจ
                                                            บางส่ วนหรื อ เพิงจบภารกิจจาก
                                                                             ่                                         นานาประเทศ
    ปั ญหาการถอนกําลังในตะวันออกกลาง
                                                            อัฟกานิสถาน เมื่อปลายปี ที่แล้ว
                                                            ทําให้ตองใช้เวลา ฟื้ นฟู และ
                                                                    ้                                                  - ที่สาคัญหลังจากการจับคุมแล้ว
                                                                                                                             ํ
              ่
    - มีความยุงยากในเชิงปฏิบติ
                            ั
                                                            ปรับกําลังใหม่                                             ต้องหาแนวทางดําเนินการต่อ
    เพราะต้องเตรี ยมการโดยใช้เวลานาน
                                                                                                                       เพราะอาจทําให้ ความสมดุลย์ทาง
                                                            - ใช้เวลานานในการดําเนินการจน                              การเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลาง
                                                            ประสบความสําเร็ จ                                          และแอฟริ กาตอนบนมีการเปลี่ยนแปลง


                          ภาพที่ 1 แนวทางที่เป็ นไปได้ในการปฏิบติการ Operation Odyssey Dawn
                                                               ั
20/03/2554                                                                                                                                                             5 

 

            1. แนวทางที่ 1 : นํากําลังจากสหรัฐฯ หรื อ นานาชาติ เข้าสู่ ลิเบีย ซึ่งหากแนวทางนี้เกิดขึ้น กําลังหลัก
ที่นําเข้าจะมีโอกาสน้อยมากที่ เป็ น สหรั ฐฯ เพราะสหรั ฐฯ ใช้ทหารไปในอิ รัก และอัฟกานิ สถาน เกื อบ
                ็
200,000 นาย แต่กอาจะมีความเป็ นไปได้ นอกจากนี้สหรัฐฯ ยังไม่มีความพร้อมในการเปิ ด สนามรบ แห่ งที่
3 ด้วยเงื่อนไขหลาย ประการ เช่น ปั ญหาเศรษฐกิจ ปั ญหาการถอนกําลังในตะวันออกกลาง อีกทั้งยังมีความ
  ่
ยุงยากในเชิงปฏิบติ เพราะต้องเตรี ยมการโดยใช้เวลานาน
                ั

            2. แนวทางที่ 2 : การใช้สงครามนอกแบบ โดยจัดตั้งกองโจร แนวทางนี้เป็ นแนวทางที่มีโอกาสมาก
แนวทางหนึ่ง เพราะ สหรัฐฯ อาจจะสนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณ์ได้ สะดวก ข้อจํากัดที่จะเกิดขึ้นคือหน่วยที่
รับผิดชอบในเรื่ อง ของสงครามนอกแบบของสหรัฐฯ ในพื้นที่ของลิเบีย ปั จจุบนมีภารกิจ บางส่ วนหรื อ เพิ่ง
                                                                      ั
จบภารกิจจาก อัฟกานิสถาน เมื่อปลายปี ที่แล้ว ทําให้ตองใช้เวลา ฟื้ นฟู และ ปรับกําลังใหม่ แต่ก็ใช้เวลานาน
                                                   ้
ในการดําเนินการกว่าจะประสบความสําเร็ จ

                                    ํ
            3. แนวทางที่ 3 : การใช้กาลังจับตัวผูนา แนวทางนี้ เป็ นเป็ นอีกแนวทางหนึ่ งที่มี โอกาสมากอีก
                                                ้ ํ
แนวทางหนึ่ง เพราะ สหรัฐฯ สามารถใช้หน่วยปฏิบติการ พิเศษ เข้าดําเนินเนิ นการจับกุมผูนาได้ โดยใช้เวลา
                                           ั                                      ้ ํ
ในการปฏิบติไม่นานมากนัก การปฏิบติตามแนวทางนี้ ตอง ได้รับการสนับสนุ นและยินยอมจาก นานา
         ั                     ั               ้
ประเทศ ที่สาคัญหลังจากการจับคุมแล้ว ต้องหาแนวทางดําเนิ นการต่อ เพราะอาจทําให้ ความสมดุลย์ทาง
           ํ
การเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลาง และแอฟริ กาตอนบนมีการเปลี่ยนแปลง

            ด้วยข้อจํากัดที่จากที่กล่าวมาในข้างต้น ทําให้เกิดประเด็นที่น่าสนใจว่า หลายประเทศที่เข้าร่ สมเล่น
ในสถานการณ์น้ ี จะมีแนวทางอย่างไร แต่ที่แน่ๆ ไม่ว่าจะอย่างไร ราคานํ้ามันก็คงขึ้นต่อไป และ ความสงบ
สุ ขในกลุ่มประเทศอาหรับก็ยงคงต้องติดตามต่อไปว่าจะไปสู่ จุดยุติอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ไม่ว่าจะยุติอย่างไร
                          ั
สถานการณ์เหล่านี้คงได้ยติชีวิตคนไปอีกหลายชีวิต นี่แหละอํานาจและผลประโยชน์ ..............เอวัง ครับ
                       ุ

More Related Content

More from Teeranan

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_Teeranan
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern thTeeranan
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Teeranan
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55Teeranan
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politicsTeeranan
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTeeranan
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contentsTeeranan
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Teeranan
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Teeranan
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Teeranan
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Teeranan
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355Teeranan
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTeeranan
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social networkTeeranan
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailandTeeranan
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and aseanTeeranan
 
Military power
Military powerMilitary power
Military powerTeeranan
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalismTeeranan
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนTeeranan
 

More from Teeranan (20)

Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12  1_
Csrt singapore workshop draft agenda 30jul12 1_
 
Ambush southern th
Ambush southern thAmbush southern th
Ambush southern th
 
Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012Nandhakwang thailand 07132012
Nandhakwang thailand 07132012
 
Political warfare 55
Political warfare 55Political warfare 55
Political warfare 55
 
National power in_politics
National power in_politicsNational power in_politics
National power in_politics
 
Terrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airportTerrorism threat at the airport
Terrorism threat at the airport
 
New media and national security contents
New media and national security contentsNew media and national security contents
New media and national security contents
 
Atfl
AtflAtfl
Atfl
 
Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011Apcss student handbook_sp2011
Apcss student handbook_sp2011
 
Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012Asc course schedulemay2012
Asc course schedulemay2012
 
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012Asc12 1 course_flow_march_28_2012
Asc12 1 course_flow_march_28_2012
 
Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012Asc course description.april_3_2012
Asc course description.april_3_2012
 
Global issues 220355
Global issues 220355Global issues 220355
Global issues 220355
 
Terrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in ThailandTerrorist Risk in Thailand
Terrorist Risk in Thailand
 
Military PR using social network
Military PR using social networkMilitary PR using social network
Military PR using social network
 
Bomb in thailand
Bomb in thailandBomb in thailand
Bomb in thailand
 
Thailand and asean
Thailand and aseanThailand and asean
Thailand and asean
 
Military power
Military powerMilitary power
Military power
 
Militay professionalism
Militay professionalismMilitay professionalism
Militay professionalism
 
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียนภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
ภาคใต้กับประชาคมอาเซียน
 

Limited operation odysseydawn

  • 1. 20/03/2554                                                                                                                                                             1    Operation Odyssey Dawn – ปฏิบติการทางทหารบนข้ อจํากัด ั พันเอก ดร.ธีรนันท์ นันทขว้าง นักวิชาการด้านความมันคงอิสระ ่ ่ จากเมื่อคืนวันที่ 19 มี.ค. 54 ที่ผานมา ได้มีขีปนาวุธร่ อนโทมาฮอร์ค หรื อ Cruise Missile Tomahawk จํานวนกว่า 110 ลูกถูกปล่อย โดยมีเป้ าหมายคือเป้ าหมายทางยุทธศาสตร์ของประเทศลิเบีย พร้อมทั้งมีการใช้ เครื่ องบินเข้าปฏิบติทางอากาศโจมตีเป้ าหมายทางยุทธศาสตร์ ในลิเบียไปพร้อมๆ กัน ที่ส่งผลให้มีผเู ้ สี ยชีวิต ั ่ 48 คน และ บาดเจ็บกว่า 150 คนนั้น ถือได้วาเป็ นการปฏิบติการทางทหารหลังจากที่ประชุมคณะมนตรี ความ ั มันคงแห่ งสหประชาชาติ (UNSC) ได้อนุมติให้ใช้ “ทุกมาตรการที่จาเป็ น” เพื่อปกป้ องประชาชนลิเบียจาก ่ ั ํ การโจมตีของรัฐบาลกัดดาฟี ด้วยมติ 10-0 โดยมีชาติที่งดออกเสี ยง 5 ชาติ ได้แก่ รัสเซีย จีน บราซิล เยอรมนี ่ อินเดีย เมื่อวันที่ 17 มี.ค.54 ที่ผานมา ปฏิบติการทางทหารในครั้งนี้ มีชื่อว่า Operation Odyssey Dawn สามารถกล่าวได้ว่าเป็ นการ ั ปฏิบติการทางทหารอย่างจํากัด ทั้งตามคําแถลงการณ์ของประธานาธิ บดี โอบามา ของสหรั ฐฯ เอง และ ั รู ปแบบของการปฏิบติการเองทําให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า การปฏิบติการครั้งนี้ คงเป็ นเรื่ องที่ตองดําเนินการ ั ั ้ อย่างเร่ งรี บและบนความไม่พร้อม ของสหรัฐฯ เอง ส่ วนประเทศอื่นๆ นั้นเป้ นผูร่วมในการให้การสนับสนุน ้ มาถึงตรงนี้ หลายๆ ท่านอาจจะมองว่าทําไมผมถึงให้น้ าหนักสหรัฐฯ ในการกําหนดทิศทางของการ ํ ปฏิบติการทางทหาร ที่ผมให้น้ าหนักไปที่สหรั ฐฯ เพราะปั จจุ บน สหรั ฐฯ มี ปัจจัยที่ เอื้ อต่อการส่ งทหาร ั ํ ั ออกไปทัวโลก ด้วยปั จจัยดังนี้ คือ ในระดับนโยบาย สหรัฐฯ เป็ นประเทศทีมีความชัดเจนในการกําหนด ่ ยุทธศาสตร์ ที่รักษาผลประโยชน์นอกประเทศ อีกทั้งกฏหมายได้ให้อานาจประธานาธิ บดี ในการรั กษา ํ ํ ผลประโยชน์นอกประเทศ นอกจากนี้ สหรัฐฯเอง ยังมีกองทัพที่มีกาลังพล 5 เหล่าทัพ (กองทัพบก เรื อ อากาศ นาวิกโยธิน และ รักษาฝั่ง) พร้อมกองกําลัง National Guard และ กําลังสํารอง ประมาณ 2 ล้านนาย ํ ไม่เพียงแต่ความพร้อมในระดับนโยบาย และ ทางกองทัพมีกาลังพลจํานวนมากแล้ว สหรัฐฯ ยังมี ประสบการณ์ในการนํากําลังทหารออกปฏิบติการหลายพื้นที่ในโลก จวบมาจนถึงปั จจุบน อีกทั้งสหรัฐฯ ยัง ั ั มีเหล่าทัพที่มีความสามารถออกไปปฏิบติการได้ทวโลกที่มีความสามารถดูแลตัวเองได้ 60 วันโดยไม่มีการ ั ั่
  • 2. 20/03/2554                                                                                                                                                             2    สนับสนุ นจากภายนอก จํานวน 3 หน่ วย นั้นคือ กองกําลังนาวิกโยธิ นปฏิบติการนอกประเทศ (Marine ั Expeditionary Force) โดย กองกําลังนาวิกโยธิ นปฏิบติการนอกประเทศ จะมีขีดความสามารถในการ ั ปฏิบติการทางทหารทางบก และทางอากาศ และมีหน่ วยงานส่ งกําลังของตนเอง ซึ่ งเมื่อประกอบกําลังกับ ั กําลังทางเรื อ เช่ น เรื อรบ เรื อบรรทุกเครื่ องบิน เรื อลําเลียงพล และ รวมถึงเรื อยกพลขึ้นบก จะทําให้ กอง กําลังนาวิกโยธิ นปฏิบติการนอกประเทศ เป็ นหน่ วยที่มีความพร้อมทั้ง ทางบก ทางนํ้า และทางอากาศ ใน ั ตัวเอง ซึ่งเป็ นขีดความสามารถที่ไม่มีประเทศไหนมีได้เท่า อย่างไรก็ตามการที่สหรัฐฯ เป็ นประเทศเดียวในโลกแต่สภาพความเป็ นจริ งในปั จจุบนของสหรัฐฯ ั กับไม่เอื้ออํานวยให้ส่งกําลังเข้าปฏิบติการทางทหารในลิเบีย เนื่ องจาก ปั จจุบน สหรัฐฯมีกาลังทหารอยู่ใน ั ั ํ ํ ํ ่ อิรักประมาณ 90,000 นายเมื่อปี ที่แล้ว และปี นี้ กาลังทหารลดลง อีกทั้งยังมีกาลังทหารอยูในอัฟกานิ สถาน ประมาณ 90,000 นาย โดยในอิรัก สหรัฐฯ เป็ นผูจดกําลังรับผิดชอบหลัก ส่ วนในอัฟกานิ สถาน จะเป็ นการ ้ั จัดกําลังภายใต้กรอบของ องค์การสนธิ สัญญาป้ องกันแอตแลนติกเหนื อ (North Atlantic Treaty Organization : NATO) ภายใต้ชื่อ International Security Assistance Force : ISAF การที่สหรัฐฯ คงกําลัง ทหารไว้ในอิรัก และอัฟกานิ สถาน ทําให้สหัฐฯ ถูกตั้งคําถามว่า สหรัฐฯ สู ญเสี ยชี วิตคนสหรัฐฯไป 4,430 คนในอิรัก บาดเจ็บ 36,395 คน และ สู ญเสี ยชีวิตคนสหรัฐฯไป 1,412 คนในอิรัก บาดเจ็บ 10,468 คน เพื่อ อะไร ทําให้แรงผลักดันในประเทศให้ถอนกําลังออกจากทั้ง 2 ประเทศ ประกอบกับสภาพเศรษฐกิจของ สหรัฐฯเองก็ไม่ได้ดีและแข็งแกร่ งอย่างที่เคยเป็ นมาในอดีต ไม่เพียงแต่ขอจํากัดเรื่ องกําลังที่คงไว้ใน อิรักและอัฟกานิสถานแล้ว สหรัฐฯ เองยังมีแนวคิดในการ ้ ทําสงครามที่ว่า Two-Major Theater War หรื อความสามารถที่จะเปิ ดสนามรบพร้อมกันได้ 2 สนามรบ แต่ ํ ด้วยข้อจํากัดทางงบประมาณ สหรัฐฯ จึงได้กาหนดสนามรบออกเป็ น 3 ประเภทคือ * พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดใหญ่ (Large Theater War: LTW) * พื้นที่ทีมีความขัดแย้งขนาดเล็กที่มีขาศึกมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยีสูง (STW ้ High-Technology) * พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดเล็กในพื้นที่ปิด พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง หรื อป่ าภูเขา (STW Low Intensity)
  • 3. 20/03/2554                                                                                                                                                             3    ํ โดยยามปกติ สหรั ฐฯ จะบรรจุกาลังพล ที่กองบัญชาการภาคพื้นยุโรป (Command: EUCOM) 100,000 นาย ที่กองบัญชาการภาคพื้นแปซิ ฟิก (Pacific Command: PACOM) 100,000 นาย และที่ กองบัญชาการภาคพื้นกลาง (Central Command: CENTCOM) 40,000 นาย ถ้ามีความขัดแย้งในแต่ละ ภูมิภาคการประกอบกําลังดังต่อไปนี้ - พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดใหญ่ (LTW): 9 กองพลทหารราบ/นาวิกโยธิ น 12 กองบิน ต่อสู /้ ขับไล่ 6 กองเรื อบรรทุกเครื่ องบิน - พื้นที่ทีมีความขัดแย้งขนาดเล็กที่มีขาศึกมีขีดความสามารถทางเทคโนโลยีสูง (STW ้ High-Tech): 1 กองพลทหารราบ/นาวิกโยธิน 5 กองบินต่อสู/้ ขับไล่ 3 กองเรื อบรรทุกเครื่ องบิน - พื้นที่ที่มีความขัดแย้งขนาดเล็กในพื้นที่ปิด พื้นที่สิ่งปลูกสร้าง หรื อป่ าภูเขา (STW Low- Intensity): 3 กองพลทหารราบ/นาวิกโยธิน 3 กองบินต่อสู/้ ขับไล่ 1 กองเรื อบรรทุกเครื่ องบิน โดยที่ ท้ ัง หมดจะมี ก องหนุ น 9 กองพลทหารราบ/นาวิ ก โยธิ น และ 2 กองเรื อ บรรทุ ก เครื่ องบิน แนวความคิดใหม่น้ ี ได้ปรั บเปลี่ยนสมมุติฐาน จากโอกาสที่จะเกิ ด พื้นที่ความขัดแย้งขนาดใหญ่ สองพื้นที่ มาเป็ นความขัดแย้ง มีโอกาสเกิดขึ้นได้มากว่า หนึ่ งพื้นที่ ณ เวลาหนึ่ ง แต่กรอบของความขัดแย้ง ต่างกัน บางพื้นที่ อาจจะมีความขัดแย้งในลักษณะ LTW, STW High-Tech หรื อ STW Low-Intensity เพราะฉะนั้นการเตรี ยมกําลัง และ ประกอบกําลังขึ้น ตามสมมุติฐานใหม่น้ ีจะมีความอ่อนตัวมากขึ้น และอาจ ทําให้ กองทัพสหรัฐ ฯ มีขีดความสามารถที่จะทําการรบในพื้นที่ความขัดแย้งมากกว่า 1 พื้นที่ในเวลา เดียวกัน ่ จากที่กล่าวมาในข้างต้นจะเห็นได้วา สหรัฐฯ เป็ นประเทศที่มีความสามารถในการส่ งกําลังออกนอก ่ ประเทศ แต่ดวยข้อจํากัดที่มีคือ การมีกองกําลังคงอยูในอิรัก และ อัฟกานิ สถาน ทําให้การเปิ ดสนามรบที่ 3 ้ นั้นเป็ นไปได้แต่ สนามรบที่ ไม่ตองใช้ก าลังพลมาก ทําให้ส่งผลสะท้อนไปยังการปฏิ บติการ Operation ้ ํ ั Odyssey Dawn ว่าสหรัฐฯ จะไม่ส่งกําลังทหารเข้าไป และจะปฏิบติการทางทหารอย่างจํากัด ส่ วนประเทศ ั อื่นๆ นั้น มีขอจํากัดนานาประการ เช่ น ประเทศในสหภาพยุโรป ต่างประสบปั ญหาเศรษฐกิ จ และมีกอง ้ กําลังของตนเองอยูใน อัฟกานิสถาน ทําให้ไม่ง่ายที่จะเป็ นผูนาในการนํากองกําลังทางบกเข้าสู่ลิเบีย ่ ้ ํ
  • 4. 20/03/2554                                                                                                                                                             4    ดังนั้นการปฏิบติ Operation Odyssey Dawn ที่เกิดขึ้นในครั้งนี้ จึงมีความเป็ นไปได้ 3 แนวทาง ั หลังจากการทิ้งโจมตีทางอากาศและ การโจมตีโดยขีปนาวุธร่ อน ดังปรากฏในภาพที่ 1 และ มีรายละเอียด ดังนี้ สถานการณ์ ในลิเบีย Operation Odyssey Dawn ความเป็ น ไปได้ หลังจากนี ้ ส่ งกองกําลังทหารเข้ า ใช้ สงครามนอกแบบ จับตัวผู้นําลิเบีย ไปในลิเบีย จัดตังกองโจร ้ - แนวทางนี้เป็ นแนวทางที่มีโอกาสมาก - แนวทางนี้เป็ นเป็ นอีกแนวทางหนึ่งที่มี - แนวทางนี้หากเกิดขึ้น กําลังหลัก แนวทางหนึ่ง เพราะ สหรัฐฯ โอกาสมากอีกแนวทางหนึ่ง เพราะ ที่นาเข้าจะไม่ใช่ สหรัฐฯ เพราะสหรัฐฯ ํ อาจจะสนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณ์ได้ สหรัฐฯ สามารถใช้หน่วยปฏิบติการั ใช้ทหารไปในอิรัก และอัฟกานิสถาน สะดวก พิเศษ เข้าดําเนินเนินการจับกุมผูนาได้ ้ ํ เกือบ 200,000 นาย โดยใช้เวลาในการปฏิบติไม่นานมากนัก ั - ข้อจํากัด หน่วยที่รับผิดชอบในเรื่ อง - สหรัฐฯ ยังไม่มีความพร้อมในการเปิ ด ของสงครามนอกแบบของสหรัฐฯ - การปฏิบติตามแนวทางนี้ตอง ั ้ สนามรบ แห่งที่ 3 ด้วยเงื่อนไขหลาย ในพื้นที่ของลิเบีย ปั จจุบนมีภารกิจ ั ได้รับการสนับสนุนและยินยอมจาก ประการ เช่น ปั ญหาเศรษฐกิจ บางส่ วนหรื อ เพิงจบภารกิจจาก ่ นานาประเทศ ปั ญหาการถอนกําลังในตะวันออกกลาง อัฟกานิสถาน เมื่อปลายปี ที่แล้ว ทําให้ตองใช้เวลา ฟื้ นฟู และ ้ - ที่สาคัญหลังจากการจับคุมแล้ว ํ ่ - มีความยุงยากในเชิงปฏิบติ ั ปรับกําลังใหม่ ต้องหาแนวทางดําเนินการต่อ เพราะต้องเตรี ยมการโดยใช้เวลานาน เพราะอาจทําให้ ความสมดุลย์ทาง - ใช้เวลานานในการดําเนินการจน การเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลาง ประสบความสําเร็ จ และแอฟริ กาตอนบนมีการเปลี่ยนแปลง ภาพที่ 1 แนวทางที่เป็ นไปได้ในการปฏิบติการ Operation Odyssey Dawn ั
  • 5. 20/03/2554                                                                                                                                                             5    1. แนวทางที่ 1 : นํากําลังจากสหรัฐฯ หรื อ นานาชาติ เข้าสู่ ลิเบีย ซึ่งหากแนวทางนี้เกิดขึ้น กําลังหลัก ที่นําเข้าจะมีโอกาสน้อยมากที่ เป็ น สหรั ฐฯ เพราะสหรั ฐฯ ใช้ทหารไปในอิ รัก และอัฟกานิ สถาน เกื อบ ็ 200,000 นาย แต่กอาจะมีความเป็ นไปได้ นอกจากนี้สหรัฐฯ ยังไม่มีความพร้อมในการเปิ ด สนามรบ แห่ งที่ 3 ด้วยเงื่อนไขหลาย ประการ เช่น ปั ญหาเศรษฐกิจ ปั ญหาการถอนกําลังในตะวันออกกลาง อีกทั้งยังมีความ ่ ยุงยากในเชิงปฏิบติ เพราะต้องเตรี ยมการโดยใช้เวลานาน ั 2. แนวทางที่ 2 : การใช้สงครามนอกแบบ โดยจัดตั้งกองโจร แนวทางนี้เป็ นแนวทางที่มีโอกาสมาก แนวทางหนึ่ง เพราะ สหรัฐฯ อาจจะสนับสนุนอาวุธยุทโธปกรณ์ได้ สะดวก ข้อจํากัดที่จะเกิดขึ้นคือหน่วยที่ รับผิดชอบในเรื่ อง ของสงครามนอกแบบของสหรัฐฯ ในพื้นที่ของลิเบีย ปั จจุบนมีภารกิจ บางส่ วนหรื อ เพิ่ง ั จบภารกิจจาก อัฟกานิสถาน เมื่อปลายปี ที่แล้ว ทําให้ตองใช้เวลา ฟื้ นฟู และ ปรับกําลังใหม่ แต่ก็ใช้เวลานาน ้ ในการดําเนินการกว่าจะประสบความสําเร็ จ ํ 3. แนวทางที่ 3 : การใช้กาลังจับตัวผูนา แนวทางนี้ เป็ นเป็ นอีกแนวทางหนึ่ งที่มี โอกาสมากอีก ้ ํ แนวทางหนึ่ง เพราะ สหรัฐฯ สามารถใช้หน่วยปฏิบติการ พิเศษ เข้าดําเนินเนิ นการจับกุมผูนาได้ โดยใช้เวลา ั ้ ํ ในการปฏิบติไม่นานมากนัก การปฏิบติตามแนวทางนี้ ตอง ได้รับการสนับสนุ นและยินยอมจาก นานา ั ั ้ ประเทศ ที่สาคัญหลังจากการจับคุมแล้ว ต้องหาแนวทางดําเนิ นการต่อ เพราะอาจทําให้ ความสมดุลย์ทาง ํ การเมืองในภูมิภาคตะวันออกกลาง และแอฟริ กาตอนบนมีการเปลี่ยนแปลง ด้วยข้อจํากัดที่จากที่กล่าวมาในข้างต้น ทําให้เกิดประเด็นที่น่าสนใจว่า หลายประเทศที่เข้าร่ สมเล่น ในสถานการณ์น้ ี จะมีแนวทางอย่างไร แต่ที่แน่ๆ ไม่ว่าจะอย่างไร ราคานํ้ามันก็คงขึ้นต่อไป และ ความสงบ สุ ขในกลุ่มประเทศอาหรับก็ยงคงต้องติดตามต่อไปว่าจะไปสู่ จุดยุติอย่างไร แต่ที่แน่ ๆ ไม่ว่าจะยุติอย่างไร ั สถานการณ์เหล่านี้คงได้ยติชีวิตคนไปอีกหลายชีวิต นี่แหละอํานาจและผลประโยชน์ ..............เอวัง ครับ ุ