SlideShare a Scribd company logo
1 of 116
นาวาอากาศโท วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
นายทหารหลักนิยม ศูนย์การสงครามทางอากาศ กองบัญชาการยุทธทางอากาศ
หลักนิยมและหลักการสงครามทางอากาศ
ศู น ย์ ก า ร ส ง ค ร า ม ท า ง อ า ก า ศ ก อ ง บั ญ ช า ก า ร ยุ ท ธ ท า ง อ า ก า ศ
นาวาอากาศโท วชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
การศึกษา
 เตรียมทหารรุ่นที่ ๒๓
 นายเรืออากาศรุ่นที่ ๓๐
 เสนาธิการทหารอากาศรุ่นที่ ๔๑
 การสงครามทางอากาศรุ่นที่ ๔
 RAAF Command and Staff College No’52
การทางาน
 ยุทธการ - F-5 A/B/E/F – 1,000 Hrs, Instructor Pilot
 วิชาการ - อาจารย์โรงเรียนเสนาธิการทหารอากาศ
 นายทหารหลักนิยม ศูนย์การสงครามทางอากาศ
๑. แนวคิดด้านยุทธศาสตร์ทางอากาศ
๒. อิทธิพลที่ทาให้เกิดการพัฒนาทฤษฎีสงครามทางอากาศ
ของไทย
๓. หลักการสงครามทางอากาศของไทย
๔. แนวโน้มการพัฒนาหลักนิยมและหลักการสงครามของไทย
แนวทางการบรรยาย
แนวคิดด้านยุทธศาสตร์ทางอากาศ
อิตาลี - ตุรกี
1 9 1 1
การพัฒนาแรกเริ่มของการบินทหาร
กาลังทางอากาศในสงครามโลกครั้งที่ ๑
1914-19181914-19181914-19181914-19181914-19181914-1918
เรือเหาะแบบ C.23A ของกองการบินทหารเรืออังกฤษ ใช้ในภารกิจลาดตระเวนชายฝั่ง
บทบาท: ตรวจการณ์
ลาดตระเวน
การบินติดต่อ
กาลังทางอากาศในสงครามโลกครั้งที่ ๑
เรือเหาะแบบ C.23A ของกองการบินทหารเรืออังกฤษ ใช้ในภารกิจลาดตระเวนชายฝั่ง
ลาดับการใช้กาลังทางอากาศ
1914-1918 World War I
1914 Aerial Killer Combat
Flying Circus
1916 Verdun Battle
Genesis of TAC AIR OPS
ZEPPELINS attack London
1917 GOTHA
Strategic Bombardment
1 เมษายน1918
สถาปนากองทัพอากาศอังกฤษ
เป็นกองทัพอิสระ
Strategic Air Power
Control of The Air
Close Air Support
Development of Bomber
ช่วงต่อระหว่างสงคราม
The Interwar Years
Air Power Theorists: The True Believers
• General Giulio Douhet
• Air Marshal Hugh Montague Trenchard
• Genreral William Billy Mitchell
แนวความคิดของดูเอ้
ไม่มีสิ่งใดจะมาหยุดยั้งหรือต้านทาน
การโจมตีของอากาศยานได้
การครองอากาศ จะได้มาจากการทาลาย
ขุมกาลังทางอากาศของข้าศึก
โจมตีเป้าหมายทางพลเรือน เพื่อทาลายขวัญ
กาลังใจในการต่อสู้ของประชาชน
แนวความคิดของดูเอ้
 การควบคุมอากาศได้ทั้งหมด
 ต้องเริ่มโจมตีก่อน
 ป้อมบินรบในอากาศ
 ยุทธศาสตร์การโจมตีด้วยระเบิด
 Terror Campaign
 เครื่องบินขับไล่: คุ้มกันและตอบโต้ทางอากาศ
 การจัดตั้งกองทัพอากาศอิสระ
แนวความคิดของเทรนเชิร์ด
“ความเป็นเจ้าอากาศ”ต้องได้มาและ
ต่อสู้เพื่อรักษาสิ่งนี้ตลอดไป
ฝูงบินทิ้งระเบิดยุทธศาสตร์
สามารถเข้าทาลายระบบผลิต
และการติดต่อสื่อสารได้
ต้องดารงรักษาระบบส่งกาลังบารุงให้รอดพ้นจาก
การโจมตีทางอากาศของข้าศึก ขณะเดียวกัน
ก็ต้องพยายามตัดขาดการส่งกาลังบารุงของข้าศึก
รวมการควบคุม กระจายการปฏิบัติ
แนวความคิดของเทรนเชิร์ด
 กาลังทางอากาศต้องใช้ในเชิงรุก
 ใช้กาลังทางอากาศในเชิงรับเป็นการเปล่าประโยชน์
 กาลังทางอากาศสามารถตัดสินผลแพ้ชนะได้
 กาลังทางอากาศสามารถแทนที่กาลังภาคพื้นได้
 เพิ่มการโจมตีทางยุทธศาสตร์
 กาลังทางอากาศขยายผลทางจิตวิทยา
แนวความคิดของมิทเชล
จาเป็นต้องครองอากาศให้ได้
ก่อนที่จะปฏิบัติการอย่างอื่น
กาลังทางอากาศ สามารถหยิบยื่น
สงครามเข้าไปถึงในเขตหลังของข้าศึก
แนวความคิดของมิทเชล
“ไม่ว่าจะมองในแง่ของทหารหรือ
เศรษฐศาสตร์ กาลังทางอากาศไม่เพียง
มีอานาจเหนือพื้นดินเท่านั้น แต่ยัง
รวมถึงเหนือพื้นน้าด้วย”
Mitchell, 1925
แนวความคิดของมิทเชล
 ความได้เปรียบจากความเร็วและความอ่อนตัว
 ความเป็นอิสระในการรบทั้ง ๓ มิติ
 ความได้เปรียบทางอากาศต้องมาจากความ
สามารถในการรบทางอากาศ
 สามารถนาชัยชนะมาได้อย่างรวดเร็ว
 เป้าหมายโจมตีที่ระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม
 ความเหนือกว่ากาลังรบภาคพื้นทั้งปวง
Air Power in World War II
1939-1945
Air Power in World War II
Strategic Bombing
The Air War At Sea
The Tactical Air Force
Korea
The Post-World War II period
1950 – 1953
The Post-World War II period
Vietnam
1955 – 1975
The Post-World War II period
Vietnam
1955 – 1975
The Post-Vietnam Period
• Colonel John Boyd
• Colonel John Warden
แนวความคิดของจอห์น บอยด์
The key to victory was to act more quickly
than your opponents
แนวความคิดของจอห์น บอยด์
ของข้าศึก
Observe
Orient
Act
Decide
OODA Loops O
O
D
A
สังเกตุ
รู้
ตัดสินทำ
ของฝ่ายเรา
A
O
O
D
Speed Action
แนวความคิดของวอร์เดน
“Inside Out Warfare”
“Simultaneity”
“Enemy as a system”
“Five Ring Model”
“Parallel Warfare”
“Precision Warfare”
CENTER OF GRAVITY
IDENTIFIED >ANALYSED >DESTROY เพื่อชัยชนะ
LEADERSHIP
ORGANIC ESSENTIALS
INFRASTRUCTURE
POPULATION
FIELD MILITARY
The Gulf War
1 9 9 1
The Gulf War
1. INSIDE-OUT WARFARE VS ALL-OUT WAR
2. SIMULTANEITY STRATEGIC PARALYSIS
3. PARALLEL WARFARE
4. INSTANT THUNDER VS ROLLING THUNDER
5. ALL ALONE WINNER - ONE SIDE AFFAIR
6. END STATE
7. DEATH by a Thousand CUTS
8. HIGHWAY of DEATH
9. RMA : Revolution in Military Affairs
Post- Gulf War
KOSOVO
Air Power – the weapon of political choice
1 9 9 8
Post- Gulf War
USA-IRAQ
2 0 0 3
21st Century Warfare
การปฏิบัติการร่วม / ผสม จะเป็นปัจจัยสาคัญของการรบ
เพื่อให้ประสบผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
Post- Gulf War
อิทธิพลที่ทาให้เกิดการพัฒนา
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศ
ของไทย
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
ที่ไหน อย่างไร
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
ความเชื่อมโยงที่ขาดสาย ?
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
ประวัติศาสตร์และบทเรียนจากการทาสงครามทางอากาศในอดีต
เทคโนโลยีและขีดความสามารถของกาลังทางอากาศที่มีในปัจจุบัน
สภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์และภัยคุกคามที่ชาติต้องเผชิญ
แนวทางการใช้กาลังทางอากาศเฉพาะของ ทอ.ไทย
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
ศิลปะที่มีความสาเร็จในตัวเอง
Culture Value
คุณค่าแห่งวิถีไทย
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
วัฒนธรรมในการทางาน
การถ่ายทอดจาก Generation สู่ Generation
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
การศึกษา
- ความคิดของนักการ
สงครามทางอากาศ
- ประวัติ/รูปแบบของ
การทาสงครามทาง
อดีต/ปัจจุบัน/อนาคต
Training
Exercise
ความเชื่อมั่นใน
ความสาเร็จของ
การใช้กาลังทาง
อากาศ ทอ.
หลักสากล
ของ
กาลังทางอากาศ
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
วิสัยทัศน์ของผู้บังคับบัญชา
การจัดองค์กร
การพัฒนาเทคโนโลยี
การพัฒนาระบบอาวุธ ยุทโธปกรณ์
ฯ ล ฯ
แนวทางในการใช้กาลังทางอากาศในอนาคต
แนวทางการใช้กาลัง
ทางอากาศในอนาคต
ทฤษฎี
หลักการสงคราม
หลักนิยม
คู่มือการใช้กาลังทางอากาศ
วิถีกองทัพอากาศ
ค่านิยมกองทัพอากาศ
การพัฒนาศิลป์ -สู่-ศาสตร์
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
ที่ ไ ห น
ขีดความสามารถ ธรรมชาติ คุณสมบัติ
ของ
กาลังทางอากาศ
ทฤษฎีการสงครามทางอากาศของไทย
อ ย่ า ง ไ ร
ประสบการณ์+ยุทโธปกรณ์ที่มี
ปัญญาสู้เทคโนโลยี
การถ่ายทอดวิถีการยุทธ
จากรุ่นสู่รุ่น
ทฤษฎี
หลักการการสงครามทางอากาศ
นักการทหารแห่งกองทัพอากาศ
หลักการสงครามทางอากาศ
P r i n c i p l e o f W a r
นาวาอากาศเอกวชิรศักดิ์ พูสิทธิ์
นายทหารหลักนิยม
ศูนย์การสงครามทางอากาศ
สงครามกับหลักการสงคราม
การพัฒนาหลักการสงคราม
• บทเรียนจากสงครามที่ประสบผลสาเร็จ
• ใช้เป็นหลักในการบริหารการรบทั้งระดับยุทธศาสตร์
ยุทธการ ยุทธวิธี
• ไม่ใช่สูตรสาเร็จ หรือ กฎตายตัวที่จะทาให้ได้ชัยชนะ
• ถ้าละเลย โอกาสพ่ายแพ้จะมีสูง
หลักการสงคราม
“หลักการสงครามจะเป็นแนวทางในการสู้รบทั้ง
ในระดับยุทธศาสตร์ ยุทธการ และยุทธวิธี
รวมทั้งเป็นหลักฐานอันยั่งยืนของหลักนิยมทาง
ทหารของสหรัฐ ฯ”
หลักการสงคราม
Joint and Service Doctrine
• ใช้ในกระบวนการวางแผน ตัดสินใจ
• ใช้ตรวจสอบ วิเคราะห์ยุทธศาสตร์การรบใน
อดีต ปัจจุบันและอนาคต ทั้งสาเร็จ/ล้มเหลว
• ใช้กาหนดกรอบในการวางแผน
หลักการสงคราม
•ใช้ประกอบการวิเคราะห์ วิจารณ์แผน
ยุทธศาสตร์การรบมากกว่า นาไปกาหนดการรบ
• ฝ่ายศัตรูก็ใช้เช่นเดียวกัน
• ไม่ใช่ Checklist
หลักการสงคราม
• ประวัติศาสตร์การรบที่ประสบความสาเร็จ
• สถานการณ์ สภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
• ต้องมีการทบทวน
• มุ่งวัตถุประสงค์ / จากัดกรอบ
การจัดทาหลักการสงคราม
• หลักวัตถุประสงค์สาคัญที่สุด
• อันตรายจากการนาไปใช้ไม่ถูกต้องเพื่อ
สนองตอบความต้องการในการรบในหนทาง
การจัดทาหลักการสงคราม
• ไม่ใช่นาหลักการไปจับสถานการณ์
• ไม่ใช่นาสถานการณ์ไปหาหลักการ
• นาผลที่ต้องการไปจับต่อหลักการ
• วิเคราะห์ภาพการยุทธรวมก่อน
การนาหลักการสงครามไปใช้
Maximalist
Minimalist
การนาหลักการสงครามไปใช้
รูปแบบการนาไปใช้
หลักการสงครามทางอากาศของไทย
กองทัพอากาศกาหนดหลักการสงครามทาง
อากาศขึ้นตามความเหมาะสมของธรรมชาติ
ภารกิจและเทคโนโลยีของกาลังทางอากาศ
หลักการสงครามทางอากาศ
หลักนิยม ทอ.๓๙
๑. หลักวัตถุประสงค์ (Objective)
๒. หลักการรุก (Offensive)
๓. หลักการรวมกาลัง (Concentration of Force)
๔. หลักการออมกาลัง (Economy of Force)
๕. หลักการจู่โจม (Surprise)
หลักการสงคราม: หลักนิยม ทอ.๓๙
๖. หลักการรักษาความลับและความมั่นคงปลอดภัย
(Security)
๗. หลักเอกภาพของความพยายาม (Unity of Effort)
๘. หลักการดาเนินกลยุทธ (Manoeuvre)
๙. หลักความง่าย (Simplicity)
๑๐. ขวัญ (Morale)
หลักการสงคราม: หลักนิยม ทอ.๓๙
1. Unity of Command
2. Objective
3. Offensive
4. Mass
5. Maneuver
6. Economy of Force
7. Security
8. Surprise
9. Simplicity
Principle of War : Comparison
1. Selection and
Maintenance of the Aim
2. Maintenance of Morale
3. Security
4. Surprise
5. Offensive Action
6. Concentration of Force
7. Economy of Effort
8. Flexibility
9. Cooperation
10. Sustainability
1. Selection and
Maintenance of the Aim
2. Concentration of Force
3. Cooperation
4. Economy of Effort
5. Security
6. Offensive Action
7. Surprise
8. Flexibility
9. Administration
10. Morale
Principle of War : Comparison
1. Aggressiveness
2. Surprise
3. Fire Power and Maneuver
4. Perfection in the Execution
Russian Air Arms
แนวโน้มในการพัฒนาหลักการ
สงครามทางอากาศของไทย
• ธรรมชาติกาลังทางอากาศ ภารกิจ เทคโนโลยี
• รูปแบบของสงครามทางอากาศที่พัฒนาไป
• เอกลักษณ์เฉพาะในแนวทางของตนเอง
• ความสาคัญของหลักการ
• บทพรรณนาและอรรถาธิบาย (Context)
• แนวความคิดและหลักนิยม (Doctrine & Concept)
อิทธิพลที่ส่งผลต่อการจัดทาหลักการสงคราม
• ลักษณะทางภูมิรัฐศาสตร์ การเมือง การทหาร
• การจัด/วางกาลังทางอากาศและอวกาศ
• การจัด/วางกาลังร่วม/ผสม
• ภาพรวมของสงครามที่มีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย
• การวินิจฉัยความเหมาะสม ข้อดี/ข้อเสีย
• แนวทางการรบ/ภัยคุกคาม
อิทธิพลที่ส่งผลต่อการจัดทาหลักการสงคราม
• ขีดความสามารถของกองทัพ/ยุทโธปกรณ์และ
การจัดการด้านกาลังพล
• อิทธิพลจากชาติอื่น
• ประวัติศาสตร์การรบ
• ลักษณะขององค์กรที่มีผลต่อการประสานงาน
อิทธิพลที่ส่งผลต่อการจัดทาหลักการสงคราม
ศาสตร์แห่งการคิดค้น
และ
ศิลป์ ในนาเอาหลักการไปใช้
หลักการสงครามทางอากาศ
มีพื้นฐานจากอดีตที่มั่นคง
แต่ไม่หยุดนิ่งเพียงเท่านี้
หลักการสงครามทางอากาศ
Offensive Initiative
Unity of Command Unity of Effort
Mass Focus
Economy of Force Economy of Effort
Maneuver Orchestration
Simplicity Clarity
Changes in Principle of War
The Principle of War in The 21st Century, William T. Johnsen and Staff, Air University
หลักนิยมของสงครามทางอากาศ
ความรู้เกี่ยวกับหลักนิยม
Creating The Royal Thai Air Force Doctrine Process
การพัฒนาหลักนิยม ทอ.
หลักนิยมปฏิบัติการของกองทัพอากาศ
หลักนิยมกาลังทางอากาศ
หลักนิยมกองทัพอากาศกับการนาไปประยุกต์ใช้
หลักนิยมพื้นฐานกองทัพอากาศ (ฉบับร่าง, ศกอ.บยอ.)
ตารา/เอกสารด้านหลักนิยม
ขาดความรู้และความเข้าใจ ๐.๐ %
มีความรู้พอสมควรแต่ขาดความเข้าใจ ๔๔.๔ %
มีความรู้และความเข้าใจพอสมควร ๓๘.๙ %
มีความรู้และความเข้าใจเป็นอย่างดี ๑๖.๗ %
ผลการประเมินระดับของพฤติกรรมในการเรียนรู้
เรื่องหลักนิยม
เอกสารวิจัยส่วนบุคคล เรื่อง หลักนิยมกองทัพอากาศกับการนาไปประยุกต์ใช้, นาวาอากาศตรีสฤษดิ์พร สุนทรกิจ
หลักนิยมเป็นความเชื่อของกลุ่มชนที่มีวิถีชีวิต
ร่วมกัน ที่ต่างเชื่อในสิ่งเดียวกันว่า เป็นหนทางที่ดี
ที่สุด ในการดาเนินกิจกรรมให้สาเร็จลุล่วงไปได้
เพราะหลักนิยม มีรากฐานมาจากความเชื่อทาง
ศาสนา จากคาว่า "DOCTRINA." ในภาษาลาติน
ซึ่งแปลว่าคาสอน, ลัทธิ หลักอันเป็นความเชื่อ
และเป็นที่ยอมรับของผู้คน
หลักนิยม
เป็นศัพท์เฉพาะที่ใช้ในบางองค์กร
บางองค์กรอาจไม่ใช้ชื่อเรียกเดียวกันนี้
หลักนิยม
ภัยคุกคามที่คาดว่าจะมี
ความต้องการในการเผชิญและกาจัดภัยคุกคาม
แนวทางที่เชื่อว่าจะนาไปสู่หนทางแห่งความสาเร็จ
หลักนิยม
มิได้เกิดจากความต้องการที่จะมีหลักนิยม
เหตุจูงใจ
หลักนิยม
คือความเชื่อในศิลป์ แห่งความสาเร็จที่นามา
ร่ายเรียงให้เป็นศาสตร์ที่สามารถเข้าใจได้
และเชื่อถือร่วมกัน
หลักนิยมกองทัพอากาศ
 ข้อมูลและหลักการอันเป็นธรรมชาติ
เบื้องต้นของการเตรียมกาลัง และการใช้
กาลังกองทัพอากาศ ประกอบด้วยหลัก
นิยมต่าง ๆ ที่เป็นแนวทางให้หน่วย
เกี่ยวข้องยึดถือปฏิบัติ เพื่อบรรลุภารกิจ
ที่ได้รับมอบหมาย
“Air and space Doctrine is a
statement of officially sanctioned beliefs
and warfighting principles that describe
and guide the proper use of air and
space force in military operations.”
DOCTRINE: USAF
“Fundamental principles by
which military forces guide their
actions in support of objectives.
Doctrine is authoritative but
requires judgement in application,
it is dynamic and must be reviewed
f o r r e l e v a n c e ”
DOCTRINE: RAF
Doctrine is Prescriptive
Doctrine is Authoritative
Doctrine is not Directive
DOCTRINE RAAF
Doctrine Process: RAF
Doctrine Components:RAAF
History
Context
Technology
Culture
Theory
D
O
C
T
R
I
N
E
RAAF Doctrine
The Air Power Doctrine Board
The Air Power Doctrine Working Party
Service Units
The RAAF Air Power Studies Centre
The Air Power Manual
RAAF Staff College
RAAF Doctrine
• การกาหนดหลักนิยมของ ทอ.ไทย ของคณะทางาน
สอส. พ.ศ.๒๕๒๗
• หลักนิยมพื้นฐานของกองทัพอากาศ ๒๕๒๗
• หลักนิยมกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๓๐
• หลักนิยมกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๓๗
• หลักนิยมกองทัพอากาศ พ.ศ.๒๕๓๙
หลักนิยมกองทัพอากาศ ๕ ฉบับ
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๒๗, พ.ศ.๒๕๓๐ - ลับ
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๗ และ พ.ศ.๒๕๓๙ - ปกปิด
การจัดชั้นความลับของหลักนิยม ทอ.
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๒๗, พ.ศ.๒๕๓๐ - USAF & RAF
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๗ - Gulf War 1991
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๙ – ทบทวนฉบับ พ.ศ.๒๕๓๗
ใหม่
อิทธิพลที่มีผลต่อการจัดทาหลักนิยม ทอ.
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๒๗ - หลักนิยมพื้นฐาน
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๐ - หลักนิยมปฏิบัติการ
• ฉบับ พ.ศ.๒๕๓๗ และฉบับ พ.ศ.๒๕๓๙ - รวม?
รูปแบบของหลักนิยม ทอ.
หลักนิยมกองทัพอากาศ ๒๕๓๙
แหล่งที่มาของหลักนิยม
 ผลประโยชน์ วัตถุประสงค์ ยุทธศาสตร์ชาติ
 เอกสารว่าด้วยการใช้กาลังทหาร ยุทธศาสตร์ และการ
สงคราม ประวัติศาสตร์สงคราม บทเรียนและ
ประสบการณ์
 สิ่งแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อประเทศชาติและการใช้กาลัง
เช่น ลักษณะทางภูมิรัฐศาสตร์ สถานการณ์โลกและ
ภูมิภาค ภัยคุกคาม และพันธมิตร
 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประโยชน์ของหลักนิยม
เป็นแนวทางในการปฏิบัติการของ ทอ.
เป็นหลักในการวางแผน และกาหนดแนวความคิดใน
การดาเนินการทั้งปวงของ ทอ.
เป็นพื้นฐานสาหรับการพัฒนา การจัดหน่วย การวาง
กาลัง และใช้กาลังให้มีประสิทธิภาพ
เป็นแนวทางให้หน่วยเกี่ยวข้องและเหล่าทัพอื่นได้
ศึกษาและเข้าใจในธรรมชาติและหลักการปฏิบัติของ
กองทัพอากาศ
หลักนิยมพื้นฐาน
• ความหมาย
• ธรรมชาติของกาลังทางอากาศ
• ที่มา ขอบเขต เจตนาและภารกิจของกาลังทาง
อากาศ
• หลักการสงครามทางอากาศ
• ปัจจัยสาคัญที่มีผลโดยตรงต่อประสิทธิภาพและ
ความสาเร็จในการปฏิบัติภารกิจ
หลักนิยมปฏิบัติการ
• ความหมาย
• การปฏิบัติการของกองทัพอากาศ
• การปฏิบัติการทางอากาศยุทธศาสตร์
• การปฏิบัติการทางอากาศยุทธวิธี
• การป้องกันภัยทางอากาศ
• เอกลักษณ์และข้อพิจารณาที่สาคัญในการ
ปฏิบัติการทางอากาศ
หลักนิยมปฏิบัติการร่วม
• ความหมาย
• ความสาคัญของการปฏิบัติการร่วม
• หลักการของการปฏิบัติการร่วม
หลักนิยมปฏิบัติการผสม
• ความหมาย
• หน่วยบัญชาการพันธมิตรหรือผสม
• การจัดหน่วยบัญชาการพันธมิตรหรือผสม
• การพัฒนาหลักนิยมในการปฏิบัติการผสม
หลักนิยมกองทัพอากาศ ๒๕๓๙
• หลักนิยมที่ได้รับความนิยมมากที่สุด
• แสดงคุณสมบัติและขีดความสามารถของ
กาลังทางอากาศอย่างเป็นสากล
• จะสมบูรณ์ชัดเจนหากมีการพัฒนาต่อเนื่อง
• ขาดวัฒนธรรมในการยึดถือ/พัฒนาใช้
จิ ต วิ ญ ญ า น ถ่ า ย ท อ ด ศ รั ท ธ า ป ฏิ บั ติ
ห ลั ก นิ ย ม
แนวโน้มการพัฒนาหลักนิยมและ
หลักการสงครามทางอากาศของไทย
สิ่งใดคือปัญหาของหลักนิยม ทอ.
วัฒนธรรมองค์กรไม่เกื้อหนุน
ขาดความสนใจ
ความเห็นหลากหลาย
ความหวั่นเกรงใน “หลักนิยม”
ความเชื่อมต่อจากยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายกระทรวงกลาโหม นโยบายกองทัพอากาศ หลักนิยม
แนวทางการใช้กาลังทางอากาศ ทอ.
• การปะทะกันขนาดย่อยตามแนวชายแดนหรือทะเล
อาณาเขต
•สงครามจากัดเขตที่ฝ่ายเราใช้กาลังทางอากาศแต่เพียง
ฝ่ายเดียว
•สงครามจากัดเขตที่มีการใช้กาลังทางอากาศทั้งสองฝ่าย
•การใช้กาลังทางอากาศโจมตีตอบโต้การก่อการร้าย
การใช้กาลังทางอากาศของ ทอ.ในอนาคต พล.อ.ต.พุฑฒิ มังคละพฤกษ์
แนวทางการใช้กาลังทางอากาศ ทอ.
..สามารถปฏิบัติการรบได้หนึ่งด้าน และป้องกันอีก
หนึ่งด้านในเวลาเดียวกัน...
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศของกระทรวงกลาโหม
นโยบายการปฏิบัติงานกองทัพอากาศ ปีงบประมาณ ๒๕๔๘
แนวทางการใช้กาลังทางอากาศ ทอ.
สิ่งใดคือปัญหาของหลักนิยม ทอ.
แนวโน้มการ
พัฒนาหลัก
นิยมจาก
หลักนิยม
ของชาติ
มหาอานาจ
ธรรมชาติของประเทศ
ความแตกต่างของทรัพยากร
ขีดความสามารถของเทคโนโลยี
ภัยคุกคาม
?
สภาวะแวดล้อมของปัจจุบัน
แนวความคิดในการปฏิบัติการ
สภาวะแวดล้อมและแนวความคิดในอดีต
ก
า
ร
ศึ
ก
ษ
า
ห
ลั
ก
นิ
ย
ม
ยุทธศาสตร์
บทเรียน
RTAF Doctrine Organizations
Creating The Royal Thai Air Force Doctrine Process, Gp Capt Nitaya Imanothai, RTAF, April 1997
Adopting
Chief of Staff RTAF
Educating
Institute of Higher Education
Air Warfare Center
RTAF Wings
Application
RTAF Wings
Gathering Information
and Analyzing Data
Directorate of Operation
Directorate of Intelligence
Air Warfare Center
Developing Ideas
RTAF Doctrine
Working Group
Testing Ideas
and Evaluating Results
Air Warfare Center
RTAF Wing
Educating The Force
Creating The Royal Thai Air Force Doctrine Process, Gp Capt Nitaya Imanothai, RTAF, April 1997
RTAF Wings
Tactical Doctrine
Institute of Higher Education
Basic Doctrine
Basic Doctrine
Operational Doctrine
Air Warfare Center
Operational Doctrine
Tactical Doctrine
กองทัพอากาศสากลกับหลักนิยม
• สหรัฐอเมริกา - The United States Air Force College of
Aerospace Doctrine, Research and Education (USAF
CADRE)
• อังกฤษ – Royal Air Force Air Warfare Centre
• ออสเตรเลีย – RAAF Air Power Development Centre
• นิวซีแลนด์ – Air Power Development Centre
• ฟิลิปปินส์ – The Office of Special Studies
หนทางข้างหน้า
คาสั่งคณะกรรมการพัฒนาขีดความสามารถใน
การปฏิบัติภารกิจของ ทอ.ที่ ๙/๔๗
เรื่อง แต่งตั้งคณะเจ้าหน้าที่ทางาน
เตรียมการจัดทาหลักนิยมและยุทธศาสตร์ ทอ.
ลง ๒ ธ.ค.๒๕๔๗
ภารกิจ
ตรวจสอบ ศึกษาหลักนิยม
กาหนดประเภทของหลักนิยมที่ ทอ.จาเป็นต้องใช้
ศึกษารูปแบบ โครงสร้าง ปัจจัย องค์ประกอบสาคัญของ
หลักนิยม
จัดทาแผนงานการจัดทาหลักนิยม
จัดทาข้อเสนอแนะกระบวนการใช้งานหลักนิยม
แบบจาลองการพัฒนาหลักนิยม ทอ.
แบบจาลองการพัฒนาหลักนิยม ทอ.
ปัจจัยสาคัญที่เกี่ยวข้อง
การวิเคราะห์ข้อมูลและปัจจัยที่ส่งอิทธิพลต่อหลักนิยม
ยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายด้านการเมือง
นโยบายด้านการทหาร
บทเรียน/ประวัติศาสตร์
การปฏิบัติด้วยกาลังกองทัพ
การบริหารจัดการกองทัพ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แนวคิดในการบริหารจัดการแบบใหม่
แนวคิดเรื่องความสามารถในการแข่งขัน
แนวคิดการปฏิรูประบบงบประมาณแผ่นดิน
แนวคิดเรื่องภัยคุกคามทางเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง
ปัจจัยสาคัญที่เกี่ยวข้อง
แก่นสาคัญ รูปแบบ บทประพันธ์และร่ายเรียง
ผู้ใช้หลักนิยมกองทัพอากาศ
กระบวนการ วงรอบการจัดทา/ให้ความรู้เรื่องหลักนิยม
การเผยแพร่
ความสัมพันธ์เชื่อมโยง ภารกิจ - โครงสร้างกองทัพอากาศ
การสร้างวัฒนธรรมองค์กรแห่งการเรียนรู้ในศาสตร์และ
ศิลป์ ของการทางานร่วมกัน
หนทางข้างหน้า
เอกภาพแห่งความพยายาม
ระบบการจัดทา/วงรอบที่เหมาะสม
ศึกษา/วิเคราะห์แนวทาง
หลักนิยมที่ชาว ทอ.เห็นชอบและยอมรับ
รูปแบบของหลักนิยมและหลักการสงคราม
เป็นเอกลักษณ์ของตนเอง
หลักนิยมและหลักการสงครามทางอากาศ
ศู น ย์ ก า ร ส ง ค ร า ม ท า ง อ า ก า ศ ก อ ง บั ญ ช า ก า ร ยุ ท ธ ท า ง อ า ก า ศ

More Related Content

What's hot

สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Suksawat Sanong
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system kasidid20309
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560krulef1805
 
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc25561กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556Taraya Srivilas
 
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5อะลิ้ตเติ้ล นก
 
หลักการสงคราม
หลักการสงครามหลักการสงคราม
หลักการสงครามminiindy
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนjirupi
 
บทความชุดนักการสงคราม
บทความชุดนักการสงครามบทความชุดนักการสงคราม
บทความชุดนักการสงครามWashirasak Poosit
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้พัน พัน
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันชิตชัย โพธิ์ประภา
 

What's hot (20)

สงครามโลก
สงครามโลกสงครามโลก
สงครามโลก
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
ชีววิทยาเรื่องการหายใจ respiration system
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc25561กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
 
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
ของไหล ฟิสิกส์เพิ่มเติม3 ม.5
 
หลักการสงคราม
หลักการสงครามหลักการสงคราม
หลักการสงคราม
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียนแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน
 
บทความชุดนักการสงคราม
บทความชุดนักการสงครามบทความชุดนักการสงคราม
บทความชุดนักการสงคราม
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอกนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอกนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอกนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอกนิกอย่างง่าย
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึมสูตรพื้นที่ผิวปริซึม
สูตรพื้นที่ผิวปริซึม
 
ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้ทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 

More from Washirasak Poosit

Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverEarly Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverWashirasak Poosit
 
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพบรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพWashirasak Poosit
 
อบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการอบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการWashirasak Poosit
 
บรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Educationบรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military EducationWashirasak Poosit
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อWashirasak Poosit
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังWashirasak Poosit
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าWashirasak Poosit
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงWashirasak Poosit
 
The infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnThe infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnWashirasak Poosit
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional SecuritytWashirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8Washirasak Poosit
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1Washirasak Poosit
 

More from Washirasak Poosit (20)

Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter WeverEarly Air Power Theorists: Major General Walter Wever
Early Air Power Theorists: Major General Walter Wever
 
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพบรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
บรรยายวิชาการบริหารคุณภาพ
 
อบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการอบรมข้าราชการ
อบรมข้าราชการ
 
บรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Educationบรรยาย Professional Military Education
บรรยาย Professional Military Education
 
Thai National Security Law
Thai National Security LawThai National Security Law
Thai National Security Law
 
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนาเล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
เล่าเรื่องหนังสือชุดสถาบันสถาปนา
 
เรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อเรื่องเล่าของพ่อ
เรื่องเล่าของพ่อ
 
ลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟังลุงเล่าให้ฟัง
ลุงเล่าให้ฟัง
 
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่าเรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
เรื่องเล่าของพ่อท่องป่า
 
บทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึงบทกวีและบทรำพึง
บทกวีและบทรำพึง
 
The infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavnThe infinite journey kobenhavn
The infinite journey kobenhavn
 
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional SecuritytAn Essay on, The Expansion of  ASEAN: Implications for Regional Securityt
An Essay on, The Expansion of ASEAN: Implications for Regional Securityt
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า2
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า3
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า4
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า5
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า6
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า7
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า8
 
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
โรงเรียนที่บ้านอนุบาลจ๋าจ้า1
 

บรรยายหลักนิยม วทอ.