SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา
“นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้
การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่าง
รวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และ
ประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่ง
มีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กาลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ
(Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น
“นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่ง
อาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทา รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา
เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาให้
ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาใน
การเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video)
สื่ อ ห ล า ย มิ ติ ( Hypermedia) แ ล ะ อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต เ ห ล่ า นี้ เ ป็ น ต้ น
เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) +
โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธีการ มา
ปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3
ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm)
ทั้งสองสัมพันธ์กันอย่างไร
สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คาจากัดความของ เทคโนโลยีทางการ
ศึกษา ว่าเป็นการพัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์
ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของคนให้ดียิ่งขึ้น (boonpan edt01.htm)
ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/401951
การเกิดนวัตกรรมการศึกษา
1. มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่หรือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมกับสภาพงาน
2. มีการพัฒนาปรับปรุง โดยผ่านการทดลองหรือวิจัยจนมีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือได้
3. มีการนาไปปฏิบัติใน สถานการณ์จริงและปรับปรุงจนเกิดประสิทธิภาพ
นวัตกรรมในภาษาอังกฤษใช้คาว่า ?
A. Innovation
B. Technology
C. Innovate
D. Innovators
A. Innovation
กระบวนการเกิดนวัตกรรมมี........3ขั้นตอน คือ...
1. มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่หรือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมกับสภาพงาน
2. มีการพัฒนาปรับปรุง โดยผ่านการทดลองหรือวิจัยจนมีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือได้
3. มีการนาไปปฏิบัติใน สถานการณ์จริงและปรับปรุงจนเกิดประสิทธิภาพ
สภาพของนวัตกรรม
การที่จะพิจารณาว่า วิธีการ หลักปฏิบัติ แนวคิดหรือสิ่งประดิษฐ์ใดๆ เป็นนวัตกรรมหรือไม่ มี
เกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้
1. สิ่งนั้นต้องแปลกใหม่จากที่เคยปฏิบัติกันอยู่ซึ่งอาจจะใหม่ทั้งหมดหรือใหม่เพียงบางส่วน
2. การประดิษฐ์คิดค้นอาศัยวิธีระบบอย่างมีขั้นตอนที่เหมาะสม โดยคานึงถึงทรัพยากรที่ใช้
กระบวนการและผลลัพธ์
3. มีการทดลองใช้ ปรับปรุงและวิจัย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสิ่งใหม่นั้นมีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ
ได้
4. สิ่งใหม่นั้นยังไม่ใช้กันแพร่หลายหรือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนงาน เพียงแต่มีการนาไปทดลอง
ใช้ในบางกลุ่มยังไม่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป
การยอมรับนวัตกรรม
นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจะเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับบุคคล 3 ฝ่าย ได้แก่
1. นวัตกร (Innovators)
2. นักต่อต้าน (Resistors)
3. ผู้นา (Leaders)
ตามแนวคิดของ Everrette M. Rogers มีขั้นตอนดังนี้
1. ขั้นตื่นตัว (Awareness) เป็นการรับรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมเป็นครั้งแรก
2. ขั้นสนใจ (Interest) เป็นการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมในนวัตกรรมนั้น
การยอมรับนวัตกรรม
3. ขั้นไตร่ตรอง (Evaluation) เป็นการพิจารนาว่า นวัตกรรมเหมาะสมกับความต้องการและสภาพ
ปัญหาหรือไม่
4. ขั้นทดลอง (Trial) เป็นการนานวัตกรรมไปทดลองใช้ว่าได้ผลตามความต้องการหรือไม่
5. ขั้นรับไปใช้ (Adoption) เป็นการตัดสินใจรับนวัตกรรมไปใช้
การยอมรับนวัตกรรม
นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจะเป็นที่ยอมรับหรือไม่
ขึ้นอยู่กับบุคคล 3 ฝ่าย คือ
1. นวัตกร นักวางแผน ผู้นา
2. นวัตกร นักต่อต้าน ผู้ผลิต
3. นวัตกร นักต่อต้าน ผู้นา
4. ถูกทุกข้อ
3. นวัตกร นักต่อต้าน ผู้นา
การยอมรับนวัตกรรมของอินโนเทค
มี........5 .ขั้นตอนคือ..........
ขั้นตื่นตัว ขั้นสนใจ
ขั้นไตร่ตรอง ขั้นการทดลอง
ขั้นรับไปใช้
แนวคิดพื้นฐานที่ก่อให้เกิด
นวัตกรรมทางการศึกษา
1. แนวคิดในด้านความแตกต่างระหว่างบุคคล
2. แนวคิดในด้านความพร้อม
3. แนวคิดในด้านการใช้เวลาเพื่อการศึกษา
4. แนวคิดในด้านความก้าวหน้าทางวิชาการและอัตราเพิ่มของประชากร
นวัตกรรมการศึกษาที่ควรรู้
๑ การสอนแบบบทเรียนโปรแกรม
(Programmed Instruction)
๒ ชุดการสอน
(Teaching Kit)
๓ การสอนแบบศูนย์การเรียน
(Learning Center)
๑ การสอนแบบบทเรียนโปรแกรม
(Programmed Instruction)
๒ ชุดการสอน
(Teaching Kit)
๓ การสอนแบบศูนย์การเรียน
(Learning Center)
๔ การสอนเป็นคณะ
(Team teaching)
๕ การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์
(Group Dynamics)
๖ การสอนแบบจุลภาค
(Micro Teaching)
๗ การสอนแบบไม่แบ่งชั้นเรียน
(Non - Graded School)
๘ การสอนแบบจัดโรงเรียนในโรงเรียน
(School In School)
๙ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
หรือซีเอไอ
(CAI = Computer
Assisted Instruction)
การสอนแบบ Constructivism
การสอนแบบ KWL (Know Want Learned)
การสอนแบบบูรณาการ
การสอนแบบกระบวนการกลุ่ม
การสอนแบบ Multimedia
การสอนแบบไม่แบ่งชั้นเรียน
School in School
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือซีไอเอ
การสอนแบบจัดโรงเรียนในโรงเรียน
Non - Graded School
(CAI = Computer Assisted Instruction)
ที่มา : aphiwut008.blogspot.com/2010/02/blog-post_01.html K.aphiwut
คุณลักษณะนวัตกรรมการศึกษา
- เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีผู้ใดเคยทามาก่อนเลย
- สิ่งใหม่ที่เคยทามาแล้วในอดีตแต่ได้มีการรื้อฟื้นขึ้น มาใหม่
- สิ่งใหม่ที่มีการพัฒนามาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม
1. นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้นเชิง(Radical Innovation)
หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่งใหม่ที่ใหม่อย่างแท้จริง สู่สังคม โดยการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (value),
ความเชื่อ (belief ) เดิม ตลอดจนระบบคุณค่า(value system)ของสังคม อย่างสิ้นเชิง
ตัวอย่างเช่นอินเตอร์เน็ท (Internet) จัดว่าเป็นนวัตกรรมหนึ่งในยุคโลกข้อมูลข่าวสาร การ
นาเสนอระบบอินเตอร์เน็ท ทาให้ค่านิยมเดิมที่เชื่อว่า โลกข้อมูลข่าวสารจากัดอยู่ ในวงเฉพาะทั้งใน
ด้านเวลา และ สถานที่นั้น เปลี่ยนไป อินเตอร์เน็ทเปิดโอกาส ให้ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล
ไร้ขีดจากัด ทั้งในด้านของเวลา และระยะทาง การเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ ทาให้ระบบคุณค่าของ
ข้อมูลข่าวสาร เปลี่ยนแปลงไป บางคนเชื่อว่า อินเตอร์เน็ทจะเข้ามาแทนที่ระบบการส่งข้อมูล
ข่าวสารในระบบเดิม อย่างสิ้นเชิงในไม่ช้า อาทิเช่น ระบบไปรษณีย์
2. นวัตกรรม ที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป
เป็นขบวนการการค้นพบ (discover) หรือ คิดค้นสิ่งใหม่(invent)โดยการประยุกต์ ใช้แนวคิดใหม่
(new idea) หรือ ความรู้ใหม่ (new knowledge) ที่มีลักษณะต่อเนื่องไม่สิ้นสุด โดยการ
ประยุกต์ใช้ แนวคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ ของมนุษย์ และการค้นค้น เทคนิค (technique) หรือ
เทคโนโลยี (technology) ใหม่ นวัตกรรมที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป จึงมีลักษณะของการสะสม
การเรียนรู้ (cumulative learning) อยู่ในบริบท ของสังคมหนึ่ง ในปัจจุบันสังคมได้เปลี่ยนแปลง
ไปอย่างมาก เพราะผลของขบวนการโลกาภิวัตน์ ทาให้สังคมมีลักษณะไร้ขอบเขต (borderless)
เป็นสังคมของชาวโลกที่มีความหลากหลายทางด้านสังคมวัฒนธรรมและการเมือง ส่งผลให้
นวัตกรรม มีแนวโน้มที่จะเป็น ขบวนการค้นพบใหม่อย่างต่อเนื่องในระดับนานาชาติ มากกว่า ที่จะ
เป็นนวัตกรรมใหม่โดยสิ้นเชิง สาหรับสังคมหนึ่ง ๆ
ที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/384875
sukanya tui jaiodthon
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การนามาใช้ในการเรียนการสอน
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่โรงเรียนนามาใช้
1) ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียน เรียนศิลปะโดยการหัดวาดรูป ใช้โปรแกรม
Microsoft Word โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft PowerPoint
2) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Instruction ) หรือ ( CAI ) เป็นกระบวนการเรียน
การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์นาเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการ
เรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
3) นักเรียนสามารถใช้ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตศึกษาค้นคว้าข้อมูลในแต่ละกลุ่มสาระข่าวสารทาง
วิชาการอื่น จากที่ต่าง ๆ
4) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic ) หรือ ( E-mail ) เพื่อใช้รับส่งข่าวสาร ข้อมูล รูปภาพ และส่ง
งานให้ครูตรวจในแต่ละกลุ่มสาระ
5) นาระบบ e-Learning มาใช้ในการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่โรงเรียนควรนามาใช้
1) การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Learning ) หรือ E-Learning การศึกษาเรียนรู้ผ่าน
เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะ
ได้เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ
รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ
เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การ
เรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อ สื่อสารที่ทันสมัย(e-mail, web-board, chat) จึงเป็น
การเรียนสาหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and
anytime)
2) ห้องเรียนอัจฉริยะ ( Electronic Classroom ) หรือ E-Classroom เป็นการจัดระบบบริหารจัดการ
ห้องเรียน ที่ใช้การเรียนการสอนแบบ On-Line 3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E- Book ) และห้องสมุด
อิเล็กทรอนิกส์ ( E- Library ) เพื่อเสริมการเรียนการสอน ให้แก่นักเรียน ครู และสาหรับสถานศึกษาที่สอน
ในระดับประถมปลาย เนื่องจากเด็กวัยนี้กาลังอยากรู้อยากเห็นและอยากพิสูจน์ความสามารถของตนเอง
4) การสอนบนเว็บ ซึ่งสามารถใช้ได้กับทุกวิชาโดยอาจจะใช้สอนทั้งรายวิชาหรือเพื่อประกอบเนื้อหา
วิชาการสอน แบ่งได้เป็น 5 รูปแบบ คือ1) ใช้เว็บทั้งวิชา 2) ใช้เว็บเสริม3) การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ บนเว็บ
เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา4) ห้องเรียนเสมือน5) การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
แนวทางการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาในโรงเรียน
ขั้นตอนการนามาใช้ในโรงเรียน ประกอบด้วยขั้นตอน 6 ขั้นดังนี้
1. จัดทาแผนการนาเทคโนโลยี มาใช้ต้องให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ และเตรียมตัวใน
การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องให้ประสานสอดคล้องกัน การเตรียมงบประมาณรองรับให้ครอบคลุม
ค่าใช้จ่าย และคนที่จะดูแลระบบ และผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบและทาความเข้าใจด้วย
2. การพัฒนาหรือจัดหาระบบเทคโนโลยีที่ต้องการนามาเข้าใช้ จะต้องดาเนินการ
อย่างเป็นระบบ โดยการพิจารณา วิเคราะห์และคัดเลือกด้วยวิธีการที่กาหนดไว้อย่างชัดเจน และจัดหา
ผู้พัฒนาระบบและผู้ให้บริการที่จะปรับปรุงพัฒนาระบบที่จะนามาบริหารจัดการ
3. การเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความสาคัญต่อความสาเร็จและความล้มเหลว
ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการมาก เช่น การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือบุคลากรขาด
ความรู้ เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก จึงจาเป็นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้พิจารณา
ร่วมกันกับบุคลากรของโรงเรียน
4. การพัฒนาบุคลากรที่ควบคุมการใช้เทคโนโลยี เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องให้งาน
ประสบผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพ และใช้งานอย่างครบถ้วน
5. การบารุงรักษา ให้เหมาะสมกับความต้องการและการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้อง
กับเทคโนโลยีสมัยใหม่
6. การติดตาม ประเมินผล ควรประเมิน 2 ส่วนคือ ส่วนแรกต้องประเมินผลงานที่
กาหนดไว้ในแผน และประเมินความพึงพอใจในการบริการ
ตัวอย่างการนาเทคโนโลยีมาใช้ในโรงเรียน
การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน และการค้นคว้า จนทาให้ครูและ
นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนทั้งนี้โรงเรียนได้พัฒนา ระบบต่าง ๆ
ดังนี้
1. ติดตั้งระบบ Fiber optic เครือข่ายภายในโรงเรียน (LAN) และ Internet ความเร็วสูงทั้ง
ระบบ
2. พัฒนาระบบแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบทางอินเตอร์เน็ต โดย
อานวยความสะดวก ให้ผู้ปกครองสามารถตรวจสอบผลการเรียนของนักเรียนจากที่บ้านได้ และ
อบรมให้ครูส่งผลการเรียนทางอินเตอร์เน็ต เพื่อช่วยลดภาระของเจ้าหน้าที่งานทะเบียน และลดภาระของ
ครูผู้สอนในการบันทึก ปพ. ในระบบเก่า
3. การให้บริการอินเตอร์เน็ตให้แก่นักเรียนเพื่ออานวยความสะดวกในการค้นคว้าข้อมูลในการทา
รายงานหรือการเรียนการสอน
4. พัฒนาระบบ E-learning เพื่อให้มีการเรียนการสอนด้วยระบบ E-learning ที่สมบูรณ์ ครู และ
นักเรียนมีความเข้าใจในกใช้งานระบบนี้และใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน มีระบบกลั่นกรอง
เว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์
5. พัฒนาเว็บไซต์ของโรงเรียน ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายของบุคคลทั่วไป และเป็นแหล่งค้นคว้าหา
ข้อมูลสาหรับครูผู้สอนและนักเรียน รวมทั้งเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรียน และ
งานกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนให้หน่วยงานภายนอกได้รับรู้
6. นาระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) มาให้บริการในห้องสมุดออนไลน์ และสามารถ
สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้และจากห้องสมุดทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสื่อผสมในรูปคลิปวีดีโอ ภาพ การ์ตูน
animation
7. ในด้านการบริหารมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง โดยให้ทุกฝ่าย/งานใช้การอ้างอิงจาก
ฐานข้อมูลเดียวกันทั้งโรงเรียน โดยนาโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล มาใช้ในการบริหาร
ระบบงานของโรงเรียน โดยขั้นแรกจะมีการอบรมให้ครูแกนนา เพื่อถ่ายทอดต่อกับเพื่อนครูและอบรมให้
ฝ่าย/งานที่เกี่ยวข้องที่ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลร่วมกัน คือ
7.1 ฝ่ายบริหารงานวิชาการ เช่น การจัดทาตารางสอน งานทะเบียนนักเรียน งานห้องสมุด
ฯลฯ
7.2 ฝ่ายบริหารงานบุคคล เช่น งานบันทึกพฤติกรรมนักเรียน การลา มาสาย การทาความผิด
ของครู ฯลฯ
7.3 ฝ่ายบริหารทั่วไป เช่น ระบบงานสารบรรณ การรับ-ส่งหนังสือ E-office งานอาคารสถานที่
ฯลฯ
7.4 ฝ่ายบริหารงบประมาณ เช่น งานการเงิน งานพัสดุ ฯลฯ
ปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จ
จากการที่โรงเรียนได้บริหารงานแบบมีส่วนร่วม ฝ่ายบริหารกับครูมีความสัมพันธ์กัน มีการนิเทศ ติดตาม
และประเมิน
แบบกัลยาณมิตร ร่วมคิดร่วมทา ร่วมกันแก้ปัญหา มีลักษณะเป็นประชาธิปไตยสูงทาให้การดาเนินงานต่าง
ๆ ของโรงเรียนประสบความสาเร็จเป็นอย่างสูง
บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ครูศิลา สงอาจินต์ ใน การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
หมายเลขบันทึก: 342148, เขียน: 7 ปีที่แล้ว, แก้ไข, 4 ปีที่แล้ว, สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ
แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน, ความเห็น: 2, อ่าน: คลิก
คาสาคัญ (Tags) #การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
การนามาใช้ในการบริหารองค์กรทางการศึกษาในแต่ละระดับ
นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH
การใช้นวัตกรรม(Innovation)และเทคโนโลยี(Technology)ในการจัดการศึกษาคือใช้ ในการ
เรียนการสอนถ้าใช้ทั้ง2อย่างร่วมกันด้วยการนาเอาเทคนิคและสิ่งประดิษฐ์ ใหม่ ๆทางวิทยาศาสตร์
มาใช้เรียก“INNOTECH”ซึ่งมาจากคาเต็ม ว่า“InnovationTechnology”เป็นการนาเอาคา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน ขณะนี้ยังไม่มีศัพท์เฉพาะในปัจจุบันถือว่าเป็นความจาเป็นที่
โรงเรียนจะต้อง นาเอาหลักวิชาใหม่ๆประดิษฐ์สิ่งใหม่ขึ้นใช้และใช้เทคนิคใหม่ๆที่ เป็นInnovation
มาใช้ร่วมกันไปกับสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นอุปกรณ์สาเร็จรูปเป็นเครื่องช่วยสอน ซึ่งเป็นTechnology
นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนไปว่าถึงเวลาแล้วที่จะต้อง นา INNOTECH เข้ามาใช้ใน
โรงเรียนหรือสถานศึกษา.
สิ่งที่ต้องคานึงถึงเมื่อนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาการนานวัตกรรม และ
เทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาและใช้ในการเรียนการสอน ต้องคานึงถึงความสาคัญ 3 ประการ
คือ .-
1. ประสิทธิภาพ(Efficiency)ในการเรียนการสอนต้องให้ผู้เรียนผู้สอนได้เรียนและได้สอนเต็ม
ความสามารถเต็มหลักสูตรเต็มเวลาด้วยความพึงพอใจ เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์เต็ม
ความสามารถ (Full Energy) และเกิดความพอใจ (Satisfaction) เป็นที่ได้ใช้สื่อนั้น
2.ประสิทธิผล(Productivity)ในการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดประสงค์ตามที่ กาหนด
จุดประสงค์ไว้ซึ่งนักเรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์ได้ดีกว่า สูงกว่าไม่ใช้สื่อนั้น
3. ประหยัด (Economy) ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน
ต้องคานึงถึงสภาพความเหมาะสมตามฐานะแล้ว จะต้องประหยัด นั่นคือ ประหยัดทั้งเงิน
ประหยัดเวลา และประหยัดแรงงาน
ธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ ได้เสนอ
หลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี
ทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกิจการสอนของครู ควรจะดาเนินไปตามแนวของกฎ 2 ประการ
คือ
1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน
2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้าไม่สามารถ
สร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้
นอกจากนั้น ธอร์นไดค์ ยังได้กาหนดหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการ
สอนของเขาไว้ 5 ประการคือ
1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity)
2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation)
3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset)
4. คานึงถึงเรื่องเอกัตบุคคล (Individualization)
5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization)
บรุนเนอร์นักจิตวิทยาชาวอเมริกันผู้มีความสนใจในพัฒนาการของมนุษย์เกี่ยวกับความสามารถใน
การใช้วัฒนธรรมของตนเองเป็นเครื่องมือในการขยายความสามารถเพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้า
อย่างไม่มีความหยุดยั้งท่านผู้ นี้เป็นผู้เสนอวิธีการเรียนรู้ด้วยการค้นพบด้วยตนเอง
(DiscoveryLearning) เทคนิคสาคัญในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนของบรุนเนอร์ ที่ถือ
ว่าเป็นหลักการพื้นฐานของเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอน พอสรุปได้ 4 ประการ คือ
1.ในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนนักการศึกษาและครูผู้สอนทั้งหลายจะต้อง ยอมรับว่า
การจูงใจผู้เรียนหรือการสร้างความพอใจแก่ผู้เรียนให้เกิดความ รู้สึกอยากเรียนในสถานการณ์นั้น
ๆ เป็นสิ่งสาคัญ
2. จะต้องมีการจัดโครงสร้างของเนื้อหาวิชาให้เป็นลาดับขั้นตอน มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันในอัน
ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดมโนคติได้ดีที่สุด
3.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรให้สอดคล้องกับหลักพัฒนาการทางสติปัญหา เช่นควรจะ
ได้รับการสอนในสิ่งที่เป็นรูปธรรมแล้วจึงค่อยขยายมโนคตินั้นให้ เกี่ยวกับนามธรรมมากขึ้น
4. การเสริมแรงในระหว่างการสอนเป็นสิ่งจาเป็น เพราะว่าการเสริมแรงนั้นจะมีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้ของนักเรียนผู้เรียนมาก
การประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้มาใช้ในเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอน
การจัดการเรียนการสอนปัจจุบันได้นาทฤษฎีการเรียนรู้และหลักการแนวคิดทาง เทคโนโลยี
การศึกษาในทัศนะต่างๆมาใช้ร่วมกันอย่างผสมผสานเพื่อก่อให้เกิด คุณภาพของการสอน
เทคโนโลยีทางการศึกษาการใช้วัสดุอุปกรณ์เข้าช่วยในการจัดการ เรียนการสอนได้มีบทบาทอย่าง
มากในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อส่ง เสริมสนับสนุนการสอน ให้การจัดการเรียนการ
สอนบรรลุจุดประสงค์ทาให้เกิดสภาพการณ์ที่มั่นใจได้ว่า จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามจุดประสงค์
ของบทเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 4 ประการ คือ
1. ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างแข็งขัน ด้วยความพึงพอใจและเต็มใจที่จะเรียนรู้
2. ให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่างฉับพลัน ช่วยกระตุ้นผู้เรียนต้องการจะเรียนรู้ต่อไป
3. ให้ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงด้วยการให้ประสบการณ์แห่งความสาเร็จเรียนรู้ด้วยความพอใจ
4. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นขั้นตอนทีละน้อย ไม่เกิดความดับข้องใจ เรียนด้วยความสนใจ พอใจ และ
ไม่เบื่อหน่าย
จากหลักการและแนวคิดข้างต้นจะเห็นว่าการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
เป็นสิ่งจาเป็นในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันการจัดทาแผนภาพแผนภูมิหา วัสดุอุปกรณ์
ประกอบการเรียนการสอนซึ่งไม่เคยใช้มาก่อนเป็นนวัตกรรมทางการ ศึกษาการจัดให้มีการสร้าง
จัดหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการสอนเป็นสิ่งจาเป็นในการ จัดการเรียนการสอนการจัดให้ครูทา
บันทึกการสอนตามลาดับขั้นตอนการสอนของ กิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งครูไม่เคยทาการ
บันทึกมาก่อนเป็นนวัตกรรมทางการ ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสร้างบทเรียน
สาเร็จรูปใช้ในการเรียนการ สอนอย่างนี้เป็นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาขอเสนอ
แนวดาเนินการ การจัดทาบทเรียนสาเร็จรูป และบทเรียนโปรแกรม เพื่อใช้ในการเรียนการสอน.
คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้ในวงการศึกษา หรืออาจเรียกว่า คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา (Computer-
Based Education, Instructional Computer : IC, Computer-Based Instruction : CBI) มี
ความหมายเหมือนกันคือ การนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา ไม่ว่าจะ เป็นการ
จัดการเรียนการสอน การลงทะเบียน การจัดทาบัตรนักศึกษา การจัดทาผลการเรียนการสอนรวม
ไป จนถึงการออกใบรับรองการจบหลักสูตร
Robert Taylor นักเทคโนโลยีการศึกษา ได้แบ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ไว้ในหนังสือ
the Computer in the School : Tutor, Tutee โดยได้แบ่งการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ใน
โรงเรียนออกเป็น 3 ลักษณะคือ การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของติวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ใน
ลักษณะของอุปกรณ์ การเรียนการสอนและการใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของผู้เรียน (ดิเรก ธีระ
ภูธร .2545)
แต่กระบวนการในการจัดการศึกษาในภาพรวม ไม่ได้หมายถึงสถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษา
เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ทั้งนี้ยังมีหน่วยงานทางการศึกษาและองค์กรอื่นที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
บริหารและสนับสนุนการจัดการศึกษาด้วย ฉะนั้นบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่จาเป็นต้องนามาใช้ใน
การศึกษา จึงแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหาร (computer Applications into Administration)
การบริหารการศึกษานับเป็นปัจจัยสาคัญในการกาหนดทิศทาง นโยบาย อันนาไปสู่แนวทางปฏิบัติ
ในการจัดการศึกษา ทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น สิ่งสาคัญในการที่จะช่วยให้บริหาร
เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพก็คือความพร้อม ของข้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อการตัดสินใจและ
กาหนดนโยบายการศึกษา คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทในการบริหารการศึกษามากขึ้น ซึ่งช่วย
ให้การดาเนินงานตั้งอยู่บนฐานข้อมูลที่ชัดเจนถูกต้องและเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด สรุปได้ดังนี้
1.1 การบริหารงานทั่วไป เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารงานบุคคล งานธุรการ การเงิน
และบัญชีการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการจัดทาระบบฐานข้อมูล (Management Information
System :MIS) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนและบริหารการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
1.2 งานบริหารการเรียนการสอน เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารของครูผู้สอน
นอกเหนือจากงานด้านการสอนปกติ เช่น งานทะเบียน งานด้านเอกสาร การจัดตารางสอน ตาราง
สอบ การตรวจและการเก็บรวบรวมคะแนน การสร้าง-วิเคราะห์ข้อสอบ การวัดและประเมินผล
การเรียน เป็นต้น
2. คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอน (Computer -Managed Instruction)
การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนไม่ต้องเสียเวลากับการงาน
บริหาร ครูผู้สอนจะได้มีเวลาไปปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมีเวลาให้กับนักเรียน มากขึ้น เช่น
การจัดเลือกข้อสอบ การตรวจและให้คะแนนและวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บประวัตินักเรียนเฉพาะ
วิชาที่สอนเพื่อดูพัฒนาการด้านการเรียนและการ ให้คาปรึกษา และช่วยในการจัดทาเอกสาร
เกี่ยวกับการเรียนการสอนของวิชาที่สอน รวมถึงการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการเรียนการ
สอนจะทาให้ครูผู้สอนสามารถ วิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการสอนได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ ตรงกับวัตถุประสงค์และความต้องการของผู้เรียน
3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer -Assisted Instruction : CAI)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนาเสนอเนื้อหา
เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive)
คือสามารถ โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่นเดียวกับการสอนระหว่างครูกับนักเรียน
ที่อยู่ในห้องตามปกติ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลายประเภทตามวัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนได้
เรียน กล่าวคือ ประเภทติวเตอร์ ประเภทแบบฝึกหัด ประเภทการจาลอง ประเภทเกม ประเภท
แบบทดสอบซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่งหมายในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนแต่วิธีการที่แตกต่างกัน
ไป ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือช่วยลดความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เช่นผู้ที่มีผลการ
เรียนต่า ก็สามารถชดเชยโดยการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ และสาหรับผู้มีผลการ
เรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนล่วงหน้าก่อนที่ผู้สอนจะทาการสอนก็ได้
ที่มา
http://www.l3nr.org/posts/449597
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา
1.หลักการและทฤษฎี ทางจิตวิทยาการศึกษา
ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม
.....นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี้ เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner
ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่อนไข
(Conditioning Theory) ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory)
ทฤษฎีการเสริมแรง (Stimulus-Response Theory)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ พอฟลอบ (Pavlov)
กล่าว ไว้ว่า ปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่ได้มาจากสิ่งเร้า
อย่าง ใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้น
ได้ ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง
(Connectionism Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้ คือ ธอร์นไดค์ (Thorndike) ซึ่ง กล่าวไว้ว่า
สิ่งเร้าหนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด
เขาได้ค้นพบกฎการเรียนรู้ที่สาคัญคือ
.....1. กฎแห่งการผล (Law of Effect)
.....2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
.....3. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
แนวคิดของธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่ง
การเรียนรู้ ได้เสนอหลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอ
หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการ
ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ คือ
.....1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน
.....2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้า
ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้
หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนของเขา ไว้ 5 ประการ
คือ
.....1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity)
.....2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation)
.....3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset)
.....4. คานึงถึงเรื่องเอกัตบุคคล (Individualization)
.....5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง (S-R Theory หรือ Operant
Conditioning)เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกินเนอร์ (Skinner) กล่าว ว่า ปฏิกิริยาตอบสนอง
หนึ่งอาจไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทาให้เกิดการตอบสนอง
เช่นเดียวกันได้ ถ้าได้มีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้อง
แนวคิดของสกินเนอร์ นามาใช้ในการสอนแบบสาเร็จรูป หรือการสอนแบบโปรแกรม
(Program Inattention) สกินเนอร์เป็นผู้คิดบทเรียนโปรแกรมเป็นคนแรก การนาทฤษฎี
การเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้กับเทคโนโลยีการศึกษานี้จะ ใช้ในการออกแบบการ
เรียนการสอนให้เข้ากับลักษณะดังต่อไปนี้คือ
.....1. การเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน (Step by Step)
.....2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน (Interaction)
.....3. การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที (Feedback)
.....4. การได้รับการเสริมแรง (Reinforcement)
2.หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้
คาร์เพนเตอร์ และเดล(C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวล
หลักการและทฤษฏีเทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ
10 ประการ คือ
.....1.หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจที่สาคัญในกิจกรรมการ
เรียนการสอน เพราะเป็นสิ่งที่สามารถผลักดันจูงใจ มีอิทธิพลต่อพลังความสนใจ ความ
ต้องการ ของผู้เรียน
.....2.การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล ช่วยส่งเสริมความ คิด ความเข้าใจแก่
ผู้เรียนแต่ละคน การผลิตและการใช้วัสดุการเรียนการสอน ควรจะต้องสัมพันธ์กับ
ความสามารถของผู้สอนและผู้เรียน ตลอดถึงจุดมุ่งหมายของการเรียน
.....3.กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการ
ปฏิบัติเกี่ยวกับสื่อจะเป็นแบบลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน
.....4.การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้เรียนจะเรียนได้ดีจากสื่อ
เทคโนโลยีที่จัดระเบียบเป็นระบบ และมีความหมายตามความสามารถของเขา
.....5.การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วยตนเอง
มากที่ สุด
.....6.การฝึกซ้าและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ สื่อที่สามารถส่งเสริมการฝึกซ้าและมี
การ เปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าอยู่เสมอ จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ เพิ่มความคงทนในการจา
.....7.อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน อัตราหรือช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้
ต่างๆ จะ ต้องมีความสอดคล้องกับ ความสามารถอัตราการเรียนรู้และประสบการณ์
ของผู้เรียน
.....8.ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล สื่อที่มีลักษณะชัดเจน สอดคล้อง
กับ ความต้องการ ที่สัมพันธ์กับผลที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจะทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
.....9.การถ่ายโยงที่ดี โดยที่การเรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้
อย่าง อัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผู้เรียนต้องการแนะนาในการ
ปฏิบัติ เพื่อประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
.....10.การให้รู้ผลการเรียนรู้จะดีขึ้น ถ้าหากสื่อเทคโนโลยีช่วยให้ผู้เรียนรู้ผลการกระทา
ทันที หลังจากที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมไปแล้ว
แนวคิดของบูเกสสกี (Bugelski) ได้ สนับสนุนว่า การเรียนรู้จะเป็นผลจากการกระทา
ของผู้เรียน ไม่ใช้กระบวนการถ่ายทอดของผู้สอน หากแต่ผู้สอนเป็นเพียงผู้เตรียม
สถานการณ์และจัดระเบียบประสบการณ์ที่ทันสมัย ไว้ให้ เพื่อผู้เรียนจะได้เชื่อมโยง
ความรู้ใหม่ได้สะดวก ซึ่งหมายถึงว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็นตัวการประสาน
ความรู้โดยตรงแก่ผู้เรียน
3.ทฤษฎีการรับรู้
เมื่อมีสิ่งเร้าเป็นตัวกาหนดให้เกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดขึ้น ก่อน
เพราะการรับรู้เป็นหนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ ซึ่งหมายถึงการ
รับรู้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้เกิดขึ้น การเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การ
รับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์อันเป็น
ส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและการใช้สื่อ การสอนจึงจาเป็นจะต้องให้
เกิดการรับรู้ที่ถูกต้องมากที่สุด
แนวคิดของรศ.ดร.สาโรช โศภี ได้กล่าวเกี่ยวกับทฤษฎีการรับรู้ว่าการรับรู้เป็นผล
เนื่องมาจากการที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรียกว่า เครื่องรับ
(Sensory) ทั้ง 5 ชนิด คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อย
เพียงใด ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพล หรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะของผู้รับรู้ ลักษณะ
ของสิ่งเร้า
แนวคิดของ ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ และ วไลพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม
กล่าวว่า การที่จะเกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องอาศัยการรับรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยน แปลง
พฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการได้รับประสบการณ์ การรับรู้มีขบวนการที่ทาให้เกิดการ
รับรู้ โดยการนาความรู้เข้าสู่สมองด้วยอวัยวะสัมผัส และเก็บรวบรวมจดจาไว้สาหรับเป็น
ส่วนประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดมโนภาพและ ทัศนคติ ดังนั้นการมีสิ่งเร้าที่ดีและมี
องค์ประกอบของการรับรู้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็จะทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีด้วยซึ่งการรับรู้
เป็นส่วนสาคัญยิ่งต่อการรับรู้
แนวคิดของ Fleming ให้ข้อเสนอแนะว่ากระบวนการรับรู้ยังสามารถใช้ประโยชน์
ในการเรียนการสอนด้วย มีเหตุผลหลายประการที่นักออกแบบเพื่อการเรียนการสอน
จาต้อง รู้และนาหลักการของการรับรู้ไปประยุกต์ใช้กล่าวคือ
.....1.โดย ทั่วไปแล้วสิ่งต่าง ๆ เช่น วัตถุ บุคคล เหตุการณ์ หรือสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน
ถูกรับรู้ดีกว่า มันก็ย่อมถูกจดจาได้ดีกว่าเช่นกัน
.....2.ใน การเรียนการสอนจาเป็นต้องหลีกเลี่ยงการรับรู้ที่ผิดพลาด เพราะถ้าผู้เรียนรู้
ข้อความหรือเนื้อหาผิดพลาด เขาก็จะเข้าใจผิดหรืออาจเรียนรู้บางสิ่งที่ผิดพลาดหรือไม่
ตรงกับความเป็น จริง
.....3.เมื่อ มีความต้องการสื่อในการเรียนการสอนเพื่อใช้แทนความเป็นจริงเป็นเรื่อง
สาคัญ ที่จะต้องรู้ว่าทาอย่างไร จึงจะนาเสนอความเป็นจริงนั้นได้อย่างเพียงพอที่จะให้
เกิดการรับรู้ตามความ มุ่งหมาย
เอกสารอ้างอิง :
https://sites.google.com/site/phimchadaphorn554148098/thvsdi-thi-
keiywkhxng-kab-nwatkrrm-laea-thekhnoloyi-thangkar-suksa
ศตวรรษที่ 21
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน
ศตวรรษที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21
ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการ
จัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกใน
ศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด
คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กใน
ศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลง
รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึง
ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้
สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑
ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้า
เองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถ
ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้
สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย
ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก
ศิลปะ
คณิตศาสตร์
การปกครองและหน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์
วิทยาศาสตร์
ภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์
โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการ
จัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดย
การส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปใน
ทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness)
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial,
Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy)
ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการ
ทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่
ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
การสื่อสารและการร่วมมือ
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน
ทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมี
วิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้
ความรู้ด้านสารสนเทศ
ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
ความรู้ด้านเทคโนโลยี
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ
นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)
ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C
3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น)
7C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ
ทักษะในการแก้ปัญหา)
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวน
ทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น
ทีม และภาวะผู้นา)
Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร
สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้
ในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกัน
สร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการ
ดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามา
จากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For
21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิด
เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและ
ความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนิน
ชีวิต
ภาพ กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning
Framework) (http://www.qlf.or.th/)
กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems)
ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน
(Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่ง
ศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้งระบบสนับสนุนการ
เรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่
21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง
โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก
(Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งสิ่งที่เป็นตัว
ช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning
Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาหน้าที่
ของครูแต่ละคนนั่นเอง
อ้างอิงจาก
http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ประเทศไทย 4.0
หลายท่านคงได้ยินกันบ่อยๆกับคาว่า Thailand 4.0 แล้ว Thailand 4.0 คืออะไร
นโยบายนี้จะช่วยพัฒนาประเทศของเราได้อย่างไร มาทาความรู้จักกัน
Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่
ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ….ซึ่งกว่าจะมาเป็น Thailand 4.0 ก็ต้องผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 กันมา
ก่อน
 Thailand 1.0 ก็คือยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลี้ยงหมู เป็ด ไก่
นาผลผลิตไปขาย สร้างรายได้และยังชีพ
 Thailand 2.0 ซึ่งก็คือยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้เรามีเครื่องมือเข้ามาช่วย เราผลิต
เสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็นต้น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมาก
ขึ้น
 Thailand 3.0 (ซึ่งเป็นยุคปัจจุบัน ) เป็นยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออก
เหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมน เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อ
เน้นการส่งออก
ในช่วงแรก Thailand 3.0 เติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันกลับเติบโตเพียงแค่ 3-4% ต่อปี
เท่านั้น ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปานกลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการ
แข่งขันที่สูงขึ้น เราจึงต้องเปลี่ยนสู่ยุค Thailand 4.0 เพื่อให้ประเทศไทยให้กลายเป็นกลุ่ม
ประเทศที่มีรายได้สูง
ในปัจจุบันประเทศไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทามาก ได้น้อย” จึงต้องการ
ปรับเปลี่ยนเป็น “ทาน้อย ได้มาก” ก็จะต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง
“นวัตกรรม” และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย
 ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
 อย่างการเกษตรก็ต้องเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้น
การบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยีหรือ Smart Farming โดยเกษตรกรต้องร่ารวยขึ้น
และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ
 เปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพ
สูง
 เปลี่ยนจากรูปแบบบริการแบบเดิมซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่า ไปสู่บริการที่มีมูลค่าสูง
 เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานที่มีความรู้และทักษะสูง
โมเดลของ Thailand 4.0 นั่นคือ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
ซึ่งโมเดลนี้จะสาเร็จได้ ต้องใช้แนวทาง สานพลังประชารัฐ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของ
ภาคเอกชน ธนาคาร ประชาชน สถาบันศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ ประกอบกับการส่งเสริม SME
และ Startup เพื่อขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมต้องมีโครงสร้างด้านการสื่อสารและ
โทรคมนาคมที่มีคุณภาพ มีอินเตอร์เน็ตที่คลอบคลุมประชากรมากที่สุด เพื่อให้สามารถเชื่อมโยง
ทุกภาคส่วนได้อย่างไม่สะดุด
โครงสร้างของ ICT ก็จะเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จ เราจะก้าวข้ามผ่านกับดักประเทศ
รายได้ปานกลางไปสู่รายได้สูง ในยุค Thailand 4.0 ได้ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย
เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมายให้ได้
อย่างไรก็ตาม ส่วนสาคัญที่สุดที่จะทาให้ นโยบาย Thailand 4.0 ประสบผลได้เร็วขึ้น
และ จะทาให้คนไทยมีรายได้สูงได้ ก็คือ เราคนไทยนี่เอง คือคนไทยที่มีความสามารถ และมีความ
พยายาม ตั้งใจคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆที่มีคุณค่าสูง ซึ่งภาคส่วนต่างๆก็ได้พยายามช่วยกันผลักดัน
กลุ่มคนเหล่านี้ ให้เป็นกาลังของประเทศ ด้วยการสนับสนุนในทุกๆด้าน ทั้งด้านการฝึกอบรม
เงินทุนสนับสนุน ด้านกาลังใจและความเชื่อมั่น ว่าคนไทยก็สามารถทาได้
ตัวอย่างเช่น ล่าสุดนี้ สานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) โดยความร่วมมือ
จาก สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ก็ได้จัด โครงการประกวดผลงานนวัตกรรมการพัฒนาโมบาย
โซลูชันภาครัฐ ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
ประจาปี 2560 : MEGA 2017 ขึ้นเป็นปีที่ 3 ซึ่งนอกจากผู้เข้าร่วมโครงการจะได้รับความรู้
ประสบการณ์ โอกาสสร้างชื่อเสียง รวมถึงมีโอกาสต่อยอดทางธุรกิจแล้ว ยังมีเงินรางวัลและเงินทุน
สนับสนุนเพื่อพัฒนาต้นแบบรวมมูลค่าสูงสุดถึงกว่า 20 ล้านบาท โครงการนี้จะปิดรับสมัคร 30
มิ.ย. 60 นี้
ที่มา : https://www.it24hrs.com/2017/thailand-4-0/
นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีSophinyaDara
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรkruuni
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนIct Krutao
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3Kansinee Kosirojhiran
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติkanjana2536
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2wichaya2527
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานKhemjira_P
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 

What's hot (20)

แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกรแผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
แผนการสอนหน่วยปฐมนิเทศนิกร
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
โจทย์ปัญหาการคูณ ป.3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
ใบงานรูปเรขาคณิตสามมิติ
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3แบบทดสอบคิดเร็วป.3
แบบทดสอบคิดเร็วป.3
 
การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any การใช้ a/an/some/any
การใช้ a/an/some/any
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้าการนำไฟฟ้า
การนำไฟฟ้า
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
แผนการงานป.2
แผนการงานป.2แผนการงานป.2
แผนการงานป.2
 
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงานแบบประเมินการนำเสนอผลงาน
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 

Similar to นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ

นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9nuttawoot
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนDrsek Sai
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieAnn Pawinee
 
Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1pantapong
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2pantapong
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณSchool
 

Similar to นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ (20)

นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9นวัตกรรมการศึกษา9
นวัตกรรมการศึกษา9
 
Ch1 innovation
Ch1 innovationCh1 innovation
Ch1 innovation
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Map7
Map7Map7
Map7
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอนการพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
การพัฒนานวัตกรรมด้านหลักสูตรและการสอน
 
Ci13501chap3
Ci13501chap3Ci13501chap3
Ci13501chap3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1Communication innovation swu week#1
Communication innovation swu week#1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2Communication innovation swu week#5 sec2
Communication innovation swu week#5 sec2
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ท พวรรณ
ท พวรรณท พวรรณ
ท พวรรณ
 

นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาทุกหัวข้อ

  • 1. ความหมายของนวัตกรรมทางการศึกษา “นวัตกรรมการศึกษา (Educational Innovation )” หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้ การศึกษา และการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้อย่าง รวดเร็วมีประสิทธิผลสูงกว่าเดิม เกิดแรงจูงใจในการเรียนด้วยนวัตกรรมการศึกษา และ ประหยัดเวลาในการเรียนได้อีกด้วย ในปัจจุบันมีการใช้นวัตกรรมการศึกษามากมายหลายอย่าง ซึ่ง มีทั้งนวัตกรรมที่ใช้กันอย่างแพร่หลายแล้ว และประเภทที่กาลังเผยแพร่ เช่น การเรียนการสอนที่ ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer Aids Instruction) การใช้แผ่นวิดีทัศน์เชิงโต้ตอบ (Interactive Video) สื่อหลายมิติ ( Hypermedia ) และอินเทอร์เน็ต [Internet] เหล่านี้ เป็นต้น “นวัตกรรมทางการศึกษา” (Educational Innovation) หมายถึง การนาเอาสิ่งใหม่ซึ่ง อาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือการกระทา รวมทั้งสิ่งประดิษฐ์ก็ตามเข้ามาใช้ในระบบการศึกษา เพื่อมุ่งหวังที่จะเปลี่ยนแปลงสิ่งที่มีอยู่เดิมให้ระบบการจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ทาให้ ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วเกิดแรงจูงใจในการเรียน และช่วยให้ประหยัดเวลาใน การเรียน เช่น การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน การใช้วีดิทัศน์เชิงโต้ตอบ(Interactive Video) สื่ อ ห ล า ย มิ ติ ( Hypermedia) แ ล ะ อิ น เ ต อ ร์ เ น็ ต เ ห ล่ า นี้ เ ป็ น ต้ น เทคโนโลยีทางการศึกษา (Educational Technology) ตามรูปศัพท์ เทคโน (วิธีการ) + โลยี(วิทยา) หมายถึง ศาสตร์ที่ว่าด้วยวิธีการทางการศึกษา ครอบคลุมระบบการนาวิธีการ มา ปรับปรุงประสิทธิภาพของการศึกษาให้สูงขึ้นเทคโนโลยีทางการศึกษาครอบคลุมองค์ประกอบ 3 ประการ คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ (boonpan edt01.htm) ทั้งสองสัมพันธ์กันอย่างไร สภาเทคโนโลยีทางการศึกษานานาชาติได้ให้คาจากัดความของ เทคโนโลยีทางการ ศึกษา ว่าเป็นการพัฒนาและประยุกต์ระบบเทคนิคและอุปกรณ์ ให้สามารถนามาใช้ในสถานการณ์ ได้อย่างเหมาะสม เพื่อสร้างเสริมกระบวนการเรียนรู้ของคนให้ดียิ่งขึ้น (boonpan edt01.htm) ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/401951
  • 2. การเกิดนวัตกรรมการศึกษา 1. มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่หรือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมกับสภาพงาน 2. มีการพัฒนาปรับปรุง โดยผ่านการทดลองหรือวิจัยจนมีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือได้ 3. มีการนาไปปฏิบัติใน สถานการณ์จริงและปรับปรุงจนเกิดประสิทธิภาพ นวัตกรรมในภาษาอังกฤษใช้คาว่า ? A. Innovation B. Technology C. Innovate D. Innovators A. Innovation กระบวนการเกิดนวัตกรรมมี........3ขั้นตอน คือ... 1. มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่หรือปรับปรุงของเก่าให้เหมาะสมกับสภาพงาน 2. มีการพัฒนาปรับปรุง โดยผ่านการทดลองหรือวิจัยจนมีประสิทธิภาพน่าเชื่อถือได้ 3. มีการนาไปปฏิบัติใน สถานการณ์จริงและปรับปรุงจนเกิดประสิทธิภาพ สภาพของนวัตกรรม การที่จะพิจารณาว่า วิธีการ หลักปฏิบัติ แนวคิดหรือสิ่งประดิษฐ์ใดๆ เป็นนวัตกรรมหรือไม่ มี เกณฑ์ในการพิจารณาดังนี้ 1. สิ่งนั้นต้องแปลกใหม่จากที่เคยปฏิบัติกันอยู่ซึ่งอาจจะใหม่ทั้งหมดหรือใหม่เพียงบางส่วน 2. การประดิษฐ์คิดค้นอาศัยวิธีระบบอย่างมีขั้นตอนที่เหมาะสม โดยคานึงถึงทรัพยากรที่ใช้ กระบวนการและผลลัพธ์
  • 3. 3. มีการทดลองใช้ ปรับปรุงและวิจัย เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสิ่งใหม่นั้นมีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ ได้ 4. สิ่งใหม่นั้นยังไม่ใช้กันแพร่หลายหรือเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนงาน เพียงแต่มีการนาไปทดลอง ใช้ในบางกลุ่มยังไม่เป็นที่ยอมรับกันทั่วไป การยอมรับนวัตกรรม นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจะเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับบุคคล 3 ฝ่าย ได้แก่ 1. นวัตกร (Innovators) 2. นักต่อต้าน (Resistors) 3. ผู้นา (Leaders) ตามแนวคิดของ Everrette M. Rogers มีขั้นตอนดังนี้ 1. ขั้นตื่นตัว (Awareness) เป็นการรับรู้เกี่ยวกับนวัตกรรมเป็นครั้งแรก 2. ขั้นสนใจ (Interest) เป็นการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมในนวัตกรรมนั้น การยอมรับนวัตกรรม 3. ขั้นไตร่ตรอง (Evaluation) เป็นการพิจารนาว่า นวัตกรรมเหมาะสมกับความต้องการและสภาพ ปัญหาหรือไม่ 4. ขั้นทดลอง (Trial) เป็นการนานวัตกรรมไปทดลองใช้ว่าได้ผลตามความต้องการหรือไม่ 5. ขั้นรับไปใช้ (Adoption) เป็นการตัดสินใจรับนวัตกรรมไปใช้ การยอมรับนวัตกรรม นวัตกรรมที่เกิดขึ้นจะเป็นที่ยอมรับหรือไม่ ขึ้นอยู่กับบุคคล 3 ฝ่าย คือ 1. นวัตกร นักวางแผน ผู้นา
  • 4. 2. นวัตกร นักต่อต้าน ผู้ผลิต 3. นวัตกร นักต่อต้าน ผู้นา 4. ถูกทุกข้อ 3. นวัตกร นักต่อต้าน ผู้นา การยอมรับนวัตกรรมของอินโนเทค มี........5 .ขั้นตอนคือ.......... ขั้นตื่นตัว ขั้นสนใจ ขั้นไตร่ตรอง ขั้นการทดลอง ขั้นรับไปใช้ แนวคิดพื้นฐานที่ก่อให้เกิด นวัตกรรมทางการศึกษา 1. แนวคิดในด้านความแตกต่างระหว่างบุคคล 2. แนวคิดในด้านความพร้อม 3. แนวคิดในด้านการใช้เวลาเพื่อการศึกษา 4. แนวคิดในด้านความก้าวหน้าทางวิชาการและอัตราเพิ่มของประชากร นวัตกรรมการศึกษาที่ควรรู้ ๑ การสอนแบบบทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction) ๒ ชุดการสอน (Teaching Kit) ๓ การสอนแบบศูนย์การเรียน
  • 5. (Learning Center) ๑ การสอนแบบบทเรียนโปรแกรม (Programmed Instruction) ๒ ชุดการสอน (Teaching Kit) ๓ การสอนแบบศูนย์การเรียน (Learning Center) ๔ การสอนเป็นคณะ (Team teaching) ๕ การสอนแบบกลุ่มสัมพันธ์ (Group Dynamics) ๖ การสอนแบบจุลภาค (Micro Teaching) ๗ การสอนแบบไม่แบ่งชั้นเรียน (Non - Graded School) ๘ การสอนแบบจัดโรงเรียนในโรงเรียน (School In School) ๙ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือซีเอไอ (CAI = Computer Assisted Instruction)
  • 6. การสอนแบบ Constructivism การสอนแบบ KWL (Know Want Learned) การสอนแบบบูรณาการ การสอนแบบกระบวนการกลุ่ม การสอนแบบ Multimedia การสอนแบบไม่แบ่งชั้นเรียน School in School คอมพิวเตอร์ช่วยสอนหรือซีไอเอ การสอนแบบจัดโรงเรียนในโรงเรียน Non - Graded School (CAI = Computer Assisted Instruction) ที่มา : aphiwut008.blogspot.com/2010/02/blog-post_01.html K.aphiwut คุณลักษณะนวัตกรรมการศึกษา - เป็นสิ่งใหม่ที่ไม่เคยมีผู้ใดเคยทามาก่อนเลย - สิ่งใหม่ที่เคยทามาแล้วในอดีตแต่ได้มีการรื้อฟื้นขึ้น มาใหม่ - สิ่งใหม่ที่มีการพัฒนามาจากของเก่าที่มีอยู่เดิม 1. นวัตกรรมใหม่อย่างสิ้นเชิง(Radical Innovation) หมายถึง ขบวนการเสนอสิ่งใหม่ที่ใหม่อย่างแท้จริง สู่สังคม โดยการเปลี่ยนแปลงค่านิยม (value), ความเชื่อ (belief ) เดิม ตลอดจนระบบคุณค่า(value system)ของสังคม อย่างสิ้นเชิง ตัวอย่างเช่นอินเตอร์เน็ท (Internet) จัดว่าเป็นนวัตกรรมหนึ่งในยุคโลกข้อมูลข่าวสาร การ นาเสนอระบบอินเตอร์เน็ท ทาให้ค่านิยมเดิมที่เชื่อว่า โลกข้อมูลข่าวสารจากัดอยู่ ในวงเฉพาะทั้งใน ด้านเวลา และ สถานที่นั้น เปลี่ยนไป อินเตอร์เน็ทเปิดโอกาส ให้ความสามารถในการเข้าถึงข้อมูล
  • 7. ไร้ขีดจากัด ทั้งในด้านของเวลา และระยะทาง การเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้ ทาให้ระบบคุณค่าของ ข้อมูลข่าวสาร เปลี่ยนแปลงไป บางคนเชื่อว่า อินเตอร์เน็ทจะเข้ามาแทนที่ระบบการส่งข้อมูล ข่าวสารในระบบเดิม อย่างสิ้นเชิงในไม่ช้า อาทิเช่น ระบบไปรษณีย์ 2. นวัตกรรม ที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป เป็นขบวนการการค้นพบ (discover) หรือ คิดค้นสิ่งใหม่(invent)โดยการประยุกต์ ใช้แนวคิดใหม่ (new idea) หรือ ความรู้ใหม่ (new knowledge) ที่มีลักษณะต่อเนื่องไม่สิ้นสุด โดยการ ประยุกต์ใช้ แนวคิดใหม่ หรือความรู้ใหม่ ของมนุษย์ และการค้นค้น เทคนิค (technique) หรือ เทคโนโลยี (technology) ใหม่ นวัตกรรมที่มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป จึงมีลักษณะของการสะสม การเรียนรู้ (cumulative learning) อยู่ในบริบท ของสังคมหนึ่ง ในปัจจุบันสังคมได้เปลี่ยนแปลง ไปอย่างมาก เพราะผลของขบวนการโลกาภิวัตน์ ทาให้สังคมมีลักษณะไร้ขอบเขต (borderless) เป็นสังคมของชาวโลกที่มีความหลากหลายทางด้านสังคมวัฒนธรรมและการเมือง ส่งผลให้ นวัตกรรม มีแนวโน้มที่จะเป็น ขบวนการค้นพบใหม่อย่างต่อเนื่องในระดับนานาชาติ มากกว่า ที่จะ เป็นนวัตกรรมใหม่โดยสิ้นเชิง สาหรับสังคมหนึ่ง ๆ ที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/384875 sukanya tui jaiodthon -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การนามาใช้ในการเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่โรงเรียนนามาใช้ 1) ใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียน เรียนศิลปะโดยการหัดวาดรูป ใช้โปรแกรม Microsoft Word โปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft PowerPoint 2) ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ( Computer Assisted Instruction ) หรือ ( CAI ) เป็นกระบวนการเรียน การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์นาเสนอเนื้อหาเรื่องราวต่าง ๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการ เรียนแบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) 3) นักเรียนสามารถใช้ค้นหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตศึกษาค้นคว้าข้อมูลในแต่ละกลุ่มสาระข่าวสารทาง
  • 8. วิชาการอื่น จากที่ต่าง ๆ 4) จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic ) หรือ ( E-mail ) เพื่อใช้รับส่งข่าวสาร ข้อมูล รูปภาพ และส่ง งานให้ครูตรวจในแต่ละกลุ่มสาระ 5) นาระบบ e-Learning มาใช้ในการเรียนการสอนในกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่โรงเรียนควรนามาใช้ 1) การเรียนรู้ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Learning ) หรือ E-Learning การศึกษาเรียนรู้ผ่าน เครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต(Internet) หรืออินทราเน็ต(Intranet) เป็นการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนจะ ได้เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดยเนื้อหาของบทเรียนซึ่งประกอบด้วย ข้อความ รูปภาพเสียง วิดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆ จะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน Web Browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และ เพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อ ปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้เช่นเดียวกับ การ เรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการติดต่อ สื่อสารที่ทันสมัย(e-mail, web-board, chat) จึงเป็น การเรียนสาหรับทุกคน, เรียนได้ทุกเวลา และทุกสถานที่ (Learn for all : anyone, anywhere and anytime) 2) ห้องเรียนอัจฉริยะ ( Electronic Classroom ) หรือ E-Classroom เป็นการจัดระบบบริหารจัดการ ห้องเรียน ที่ใช้การเรียนการสอนแบบ On-Line 3) หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ ( E- Book ) และห้องสมุด อิเล็กทรอนิกส์ ( E- Library ) เพื่อเสริมการเรียนการสอน ให้แก่นักเรียน ครู และสาหรับสถานศึกษาที่สอน ในระดับประถมปลาย เนื่องจากเด็กวัยนี้กาลังอยากรู้อยากเห็นและอยากพิสูจน์ความสามารถของตนเอง 4) การสอนบนเว็บ ซึ่งสามารถใช้ได้กับทุกวิชาโดยอาจจะใช้สอนทั้งรายวิชาหรือเพื่อประกอบเนื้อหา วิชาการสอน แบ่งได้เป็น 5 รูปแบบ คือ1) ใช้เว็บทั้งวิชา 2) ใช้เว็บเสริม3) การใช้ทรัพยากรต่าง ๆ บนเว็บ เป็นส่วนหนึ่งของเนื้อหา4) ห้องเรียนเสมือน5) การจัดการเรียนการสอนทางไกลผ่านดาวเทียม แนวทางการนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาในโรงเรียน ขั้นตอนการนามาใช้ในโรงเรียน ประกอบด้วยขั้นตอน 6 ขั้นดังนี้ 1. จัดทาแผนการนาเทคโนโลยี มาใช้ต้องให้ผู้เกี่ยวข้องมีความเข้าใจ และเตรียมตัวใน การพัฒนาสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องให้ประสานสอดคล้องกัน การเตรียมงบประมาณรองรับให้ครอบคลุม ค่าใช้จ่าย และคนที่จะดูแลระบบ และผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบและทาความเข้าใจด้วย 2. การพัฒนาหรือจัดหาระบบเทคโนโลยีที่ต้องการนามาเข้าใช้ จะต้องดาเนินการ
  • 9. อย่างเป็นระบบ โดยการพิจารณา วิเคราะห์และคัดเลือกด้วยวิธีการที่กาหนดไว้อย่างชัดเจน และจัดหา ผู้พัฒนาระบบและผู้ให้บริการที่จะปรับปรุงพัฒนาระบบที่จะนามาบริหารจัดการ 3. การเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความสาคัญต่อความสาเร็จและความล้มเหลว ของการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการบริหารจัดการมาก เช่น การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ หรือบุคลากรขาด ความรู้ เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมาก จึงจาเป็นต้องให้ผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้พิจารณา ร่วมกันกับบุคลากรของโรงเรียน 4. การพัฒนาบุคลากรที่ควบคุมการใช้เทคโนโลยี เป็นสิ่งจาเป็นที่ต้องให้งาน ประสบผลสาเร็จและมีประสิทธิภาพ และใช้งานอย่างครบถ้วน 5. การบารุงรักษา ให้เหมาะสมกับความต้องการและการเปลี่ยนแปลงและสอดคล้อง กับเทคโนโลยีสมัยใหม่ 6. การติดตาม ประเมินผล ควรประเมิน 2 ส่วนคือ ส่วนแรกต้องประเมินผลงานที่ กาหนดไว้ในแผน และประเมินความพึงพอใจในการบริการ ตัวอย่างการนาเทคโนโลยีมาใช้ในโรงเรียน การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนการสอน และการค้นคว้า จนทาให้ครูและ นักเรียนสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เป็นประโยชน์ต่อการเรียนทั้งนี้โรงเรียนได้พัฒนา ระบบต่าง ๆ ดังนี้ 1. ติดตั้งระบบ Fiber optic เครือข่ายภายในโรงเรียน (LAN) และ Internet ความเร็วสูงทั้ง ระบบ 2. พัฒนาระบบแจ้งผลการเรียนให้นักเรียนและผู้ปกครองทราบทางอินเตอร์เน็ต โดย อานวยความสะดวก ให้ผู้ปกครองสามารถตรวจสอบผลการเรียนของนักเรียนจากที่บ้านได้ และ อบรมให้ครูส่งผลการเรียนทางอินเตอร์เน็ต เพื่อช่วยลดภาระของเจ้าหน้าที่งานทะเบียน และลดภาระของ ครูผู้สอนในการบันทึก ปพ. ในระบบเก่า 3. การให้บริการอินเตอร์เน็ตให้แก่นักเรียนเพื่ออานวยความสะดวกในการค้นคว้าข้อมูลในการทา รายงานหรือการเรียนการสอน 4. พัฒนาระบบ E-learning เพื่อให้มีการเรียนการสอนด้วยระบบ E-learning ที่สมบูรณ์ ครู และ
  • 10. นักเรียนมีความเข้าใจในกใช้งานระบบนี้และใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอน มีระบบกลั่นกรอง เว็บไซต์ที่ไม่พึงประสงค์ 5. พัฒนาเว็บไซต์ของโรงเรียน ให้เป็นที่รู้จักแพร่หลายของบุคคลทั่วไป และเป็นแหล่งค้นคว้าหา ข้อมูลสาหรับครูผู้สอนและนักเรียน รวมทั้งเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่าง ๆ ของโรงเรียน และ งานกิจกรรมต่าง ๆ ของโรงเรียนให้หน่วยงานภายนอกได้รับรู้ 6. นาระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) มาให้บริการในห้องสมุดออนไลน์ และสามารถ สืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้และจากห้องสมุดทั่วโลกไม่ว่าจะเป็นสื่อผสมในรูปคลิปวีดีโอ ภาพ การ์ตูน animation 7. ในด้านการบริหารมีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลกลาง โดยให้ทุกฝ่าย/งานใช้การอ้างอิงจาก ฐานข้อมูลเดียวกันทั้งโรงเรียน โดยนาโปรแกรมที่ใช้ในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล มาใช้ในการบริหาร ระบบงานของโรงเรียน โดยขั้นแรกจะมีการอบรมให้ครูแกนนา เพื่อถ่ายทอดต่อกับเพื่อนครูและอบรมให้ ฝ่าย/งานที่เกี่ยวข้องที่ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลร่วมกัน คือ 7.1 ฝ่ายบริหารงานวิชาการ เช่น การจัดทาตารางสอน งานทะเบียนนักเรียน งานห้องสมุด ฯลฯ 7.2 ฝ่ายบริหารงานบุคคล เช่น งานบันทึกพฤติกรรมนักเรียน การลา มาสาย การทาความผิด ของครู ฯลฯ 7.3 ฝ่ายบริหารทั่วไป เช่น ระบบงานสารบรรณ การรับ-ส่งหนังสือ E-office งานอาคารสถานที่ ฯลฯ 7.4 ฝ่ายบริหารงบประมาณ เช่น งานการเงิน งานพัสดุ ฯลฯ ปัจจัยที่ทาให้ประสบความสาเร็จ จากการที่โรงเรียนได้บริหารงานแบบมีส่วนร่วม ฝ่ายบริหารกับครูมีความสัมพันธ์กัน มีการนิเทศ ติดตาม และประเมิน แบบกัลยาณมิตร ร่วมคิดร่วมทา ร่วมกันแก้ปัญหา มีลักษณะเป็นประชาธิปไตยสูงทาให้การดาเนินงานต่าง ๆ ของโรงเรียนประสบความสาเร็จเป็นอย่างสูง บันทึกนี้เขียนที่ GotoKnow โดย ครูศิลา สงอาจินต์ ใน การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ
  • 11. หมายเลขบันทึก: 342148, เขียน: 7 ปีที่แล้ว, แก้ไข, 4 ปีที่แล้ว, สัญญาอนุญาต: ครีเอทีฟคอมมอนส์แบบ แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน, ความเห็น: 2, อ่าน: คลิก คาสาคัญ (Tags) #การจัดการนวัตกรรมและสารสนเทศ การนามาใช้ในการบริหารองค์กรทางการศึกษาในแต่ละระดับ นวัตกรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH การใช้นวัตกรรม(Innovation)และเทคโนโลยี(Technology)ในการจัดการศึกษาคือใช้ ในการ เรียนการสอนถ้าใช้ทั้ง2อย่างร่วมกันด้วยการนาเอาเทคนิคและสิ่งประดิษฐ์ ใหม่ ๆทางวิทยาศาสตร์ มาใช้เรียก“INNOTECH”ซึ่งมาจากคาเต็ม ว่า“InnovationTechnology”เป็นการนาเอาคา นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน ขณะนี้ยังไม่มีศัพท์เฉพาะในปัจจุบันถือว่าเป็นความจาเป็นที่ โรงเรียนจะต้อง นาเอาหลักวิชาใหม่ๆประดิษฐ์สิ่งใหม่ขึ้นใช้และใช้เทคนิคใหม่ๆที่ เป็นInnovation มาใช้ร่วมกันไปกับสิ่งประดิษฐ์ที่เป็นอุปกรณ์สาเร็จรูปเป็นเครื่องช่วยสอน ซึ่งเป็นTechnology นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนไปว่าถึงเวลาแล้วที่จะต้อง นา INNOTECH เข้ามาใช้ใน โรงเรียนหรือสถานศึกษา. สิ่งที่ต้องคานึงถึงเมื่อนานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาการนานวัตกรรม และ เทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษาและใช้ในการเรียนการสอน ต้องคานึงถึงความสาคัญ 3 ประการ คือ .- 1. ประสิทธิภาพ(Efficiency)ในการเรียนการสอนต้องให้ผู้เรียนผู้สอนได้เรียนและได้สอนเต็ม ความสามารถเต็มหลักสูตรเต็มเวลาด้วยความพึงพอใจ เกิดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์เต็ม ความสามารถ (Full Energy) และเกิดความพอใจ (Satisfaction) เป็นที่ได้ใช้สื่อนั้น 2.ประสิทธิผล(Productivity)ในการจัดการเรียนการสอนให้บรรลุจุดประสงค์ตามที่ กาหนด จุดประสงค์ไว้ซึ่งนักเรียนเกิดการเรียนรู้บรรลุจุดประสงค์ได้ดีกว่า สูงกว่าไม่ใช้สื่อนั้น 3. ประหยัด (Economy) ในการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการจัดการเรียนการสอน ต้องคานึงถึงสภาพความเหมาะสมตามฐานะแล้ว จะต้องประหยัด นั่นคือ ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดเวลา และประหยัดแรงงาน
  • 12. ธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ ได้เสนอ หลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยี ทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกิจการสอนของครู ควรจะดาเนินไปตามแนวของกฎ 2 ประการ คือ 1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน 2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้าไม่สามารถ สร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้ นอกจากนั้น ธอร์นไดค์ ยังได้กาหนดหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการ สอนของเขาไว้ 5 ประการคือ 1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity) 2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation) 3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset) 4. คานึงถึงเรื่องเอกัตบุคคล (Individualization) 5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization) บรุนเนอร์นักจิตวิทยาชาวอเมริกันผู้มีความสนใจในพัฒนาการของมนุษย์เกี่ยวกับความสามารถใน การใช้วัฒนธรรมของตนเองเป็นเครื่องมือในการขยายความสามารถเพื่อสร้างความเจริญก้าวหน้า อย่างไม่มีความหยุดยั้งท่านผู้ นี้เป็นผู้เสนอวิธีการเรียนรู้ด้วยการค้นพบด้วยตนเอง (DiscoveryLearning) เทคนิคสาคัญในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนของบรุนเนอร์ ที่ถือ ว่าเป็นหลักการพื้นฐานของเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอน พอสรุปได้ 4 ประการ คือ 1.ในการจัดการศึกษาและการเรียนการสอนนักการศึกษาและครูผู้สอนทั้งหลายจะต้อง ยอมรับว่า การจูงใจผู้เรียนหรือการสร้างความพอใจแก่ผู้เรียนให้เกิดความ รู้สึกอยากเรียนในสถานการณ์นั้น ๆ เป็นสิ่งสาคัญ
  • 13. 2. จะต้องมีการจัดโครงสร้างของเนื้อหาวิชาให้เป็นลาดับขั้นตอน มีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกันในอัน ที่จะทาให้ผู้เรียนเกิดมโนคติได้ดีที่สุด 3.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนควรให้สอดคล้องกับหลักพัฒนาการทางสติปัญหา เช่นควรจะ ได้รับการสอนในสิ่งที่เป็นรูปธรรมแล้วจึงค่อยขยายมโนคตินั้นให้ เกี่ยวกับนามธรรมมากขึ้น 4. การเสริมแรงในระหว่างการสอนเป็นสิ่งจาเป็น เพราะว่าการเสริมแรงนั้นจะมีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการเรียนรู้ของนักเรียนผู้เรียนมาก การประยุกต์ทฤษฎีการเรียนรู้มาใช้ในเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอน การจัดการเรียนการสอนปัจจุบันได้นาทฤษฎีการเรียนรู้และหลักการแนวคิดทาง เทคโนโลยี การศึกษาในทัศนะต่างๆมาใช้ร่วมกันอย่างผสมผสานเพื่อก่อให้เกิด คุณภาพของการสอน เทคโนโลยีทางการศึกษาการใช้วัสดุอุปกรณ์เข้าช่วยในการจัดการ เรียนการสอนได้มีบทบาทอย่าง มากในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการเรียนรู้เพื่อส่ง เสริมสนับสนุนการสอน ให้การจัดการเรียนการ สอนบรรลุจุดประสงค์ทาให้เกิดสภาพการณ์ที่มั่นใจได้ว่า จะก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามจุดประสงค์ ของบทเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ 4 ประการ คือ 1. ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้อย่างแข็งขัน ด้วยความพึงพอใจและเต็มใจที่จะเรียนรู้ 2. ให้ผู้เรียนได้รับข้อมูลย้อนกลับอย่างฉับพลัน ช่วยกระตุ้นผู้เรียนต้องการจะเรียนรู้ต่อไป 3. ให้ผู้เรียนได้รับการเสริมแรงด้วยการให้ประสบการณ์แห่งความสาเร็จเรียนรู้ด้วยความพอใจ 4. ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เป็นขั้นตอนทีละน้อย ไม่เกิดความดับข้องใจ เรียนด้วยความสนใจ พอใจ และ ไม่เบื่อหน่าย จากหลักการและแนวคิดข้างต้นจะเห็นว่าการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา เป็นสิ่งจาเป็นในการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันการจัดทาแผนภาพแผนภูมิหา วัสดุอุปกรณ์ ประกอบการเรียนการสอนซึ่งไม่เคยใช้มาก่อนเป็นนวัตกรรมทางการ ศึกษาการจัดให้มีการสร้าง จัดหาวัสดุอุปกรณ์ประกอบการสอนเป็นสิ่งจาเป็นในการ จัดการเรียนการสอนการจัดให้ครูทา บันทึกการสอนตามลาดับขั้นตอนการสอนของ กิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งครูไม่เคยทาการ บันทึกมาก่อนเป็นนวัตกรรมทางการ ศึกษาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยสร้างบทเรียน
  • 14. สาเร็จรูปใช้ในการเรียนการ สอนอย่างนี้เป็นการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาขอเสนอ แนวดาเนินการ การจัดทาบทเรียนสาเร็จรูป และบทเรียนโปรแกรม เพื่อใช้ในการเรียนการสอน. คอมพิวเตอร์ที่นามาใช้ในวงการศึกษา หรืออาจเรียกว่า คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา (Computer- Based Education, Instructional Computer : IC, Computer-Based Instruction : CBI) มี ความหมายเหมือนกันคือ การนาคอมพิวเตอร์ มาใช้ประโยชน์ในด้านการศึกษา ไม่ว่าจะ เป็นการ จัดการเรียนการสอน การลงทะเบียน การจัดทาบัตรนักศึกษา การจัดทาผลการเรียนการสอนรวม ไป จนถึงการออกใบรับรองการจบหลักสูตร Robert Taylor นักเทคโนโลยีการศึกษา ได้แบ่งการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษา ไว้ในหนังสือ the Computer in the School : Tutor, Tutee โดยได้แบ่งการนาคอมพิวเตอร์เข้ามาใช้ใน โรงเรียนออกเป็น 3 ลักษณะคือ การใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของติวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์ใน ลักษณะของอุปกรณ์ การเรียนการสอนและการใช้คอมพิวเตอร์ในลักษณะของผู้เรียน (ดิเรก ธีระ ภูธร .2545) แต่กระบวนการในการจัดการศึกษาในภาพรวม ไม่ได้หมายถึงสถานศึกษาหรือสถาบันการศึกษา เพียงอย่างเดียวเท่านั้น ทั้งนี้ยังมีหน่วยงานทางการศึกษาและองค์กรอื่นที่ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ บริหารและสนับสนุนการจัดการศึกษาด้วย ฉะนั้นบทบาทของคอมพิวเตอร์ที่จาเป็นต้องนามาใช้ใน การศึกษา จึงแบ่งเป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ คือ 1. คอมพิวเตอร์เพื่อการบริหาร (computer Applications into Administration) การบริหารการศึกษานับเป็นปัจจัยสาคัญในการกาหนดทิศทาง นโยบาย อันนาไปสู่แนวทางปฏิบัติ ในการจัดการศึกษา ทั้งในระดับประเทศและระดับท้องถิ่น สิ่งสาคัญในการที่จะช่วยให้บริหาร เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพก็คือความพร้อม ของข้อมูลในการบริหารจัดการเพื่อการตัดสินใจและ กาหนดนโยบายการศึกษา คอมพิวเตอร์จึงเข้ามามีบทบาทในการบริหารการศึกษามากขึ้น ซึ่งช่วย ให้การดาเนินงานตั้งอยู่บนฐานข้อมูลที่ชัดเจนถูกต้องและเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด สรุปได้ดังนี้ 1.1 การบริหารงานทั่วไป เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารงานบุคคล งานธุรการ การเงิน และบัญชีการประชาสัมพันธ์ รวมถึงการจัดทาระบบฐานข้อมูล (Management Information System :MIS) เพื่อประโยชน์ในการวางแผนและบริหารการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นต้น
  • 15. 1.2 งานบริหารการเรียนการสอน เป็นการนาคอมพิวเตอร์ช่วยในการบริหารของครูผู้สอน นอกเหนือจากงานด้านการสอนปกติ เช่น งานทะเบียน งานด้านเอกสาร การจัดตารางสอน ตาราง สอบ การตรวจและการเก็บรวบรวมคะแนน การสร้าง-วิเคราะห์ข้อสอบ การวัดและประเมินผล การเรียน เป็นต้น 2. คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการเรียนการสอน (Computer -Managed Instruction) การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยจัดการเรียนการสอน เพื่อช่วยให้ครูผู้สอนไม่ต้องเสียเวลากับการงาน บริหาร ครูผู้สอนจะได้มีเวลาไปปรับปรุงบทเรียนให้ทันสมัยและมีเวลาให้กับนักเรียน มากขึ้น เช่น การจัดเลือกข้อสอบ การตรวจและให้คะแนนและวิเคราะห์ข้อสอบ การเก็บประวัตินักเรียนเฉพาะ วิชาที่สอนเพื่อดูพัฒนาการด้านการเรียนและการ ให้คาปรึกษา และช่วยในการจัดทาเอกสาร เกี่ยวกับการเรียนการสอนของวิชาที่สอน รวมถึงการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการจัดการเรียนการ สอนจะทาให้ครูผู้สอนสามารถ วิเคราะห์ผู้เรียนเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบการสอนได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ตรงกับวัตถุประสงค์และความต้องการของผู้เรียน 3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (Computer -Assisted Instruction : CAI) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นกระบวนการเรียนการสอน โดยใช้สื่อคอมพิวเตอร์ ในการนาเสนอเนื้อหา เรื่องราวต่างๆ มีลักษณะเป็นการเรียนโดยตรง และเป็นการเรียน แบบมีปฏิสัมพันธ์ (Interactive) คือสามารถ โต้ตอบระหว่างผู้เรียนกับคอมพิวเตอร์ได้ เช่นเดียวกับการสอนระหว่างครูกับนักเรียน ที่อยู่ในห้องตามปกติ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีหลายประเภทตามวัตถุประสงค์ที่จะให้นักเรียนได้ เรียน กล่าวคือ ประเภทติวเตอร์ ประเภทแบบฝึกหัด ประเภทการจาลอง ประเภทเกม ประเภท แบบทดสอบซึ่งในแต่ละประเภทก็มีจุดมุ่งหมายในการให้ความรู้แก่ผู้เรียนแต่วิธีการที่แตกต่างกัน ไป ข้อดีของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนคือช่วยลดความแตกต่างระหว่างผู้เรียน เช่นผู้ที่มีผลการ เรียนต่า ก็สามารถชดเชยโดยการเรียนจากบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนได้ และสาหรับผู้มีผลการ เรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนล่วงหน้าก่อนที่ผู้สอนจะทาการสอนก็ได้ ที่มา http://www.l3nr.org/posts/449597
  • 16. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา 1.หลักการและทฤษฎี ทางจิตวิทยาการศึกษา ทฤษฎีจากกลุ่มพฤติกรรมนิยม .....นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี้ เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีหลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) ทฤษฎีการเสริมแรง (Stimulus-Response Theory) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ พอฟลอบ (Pavlov) กล่าว ไว้ว่า ปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่ได้มาจากสิ่งเร้า อย่าง ใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้น ได้ ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้ คือ ธอร์นไดค์ (Thorndike) ซึ่ง กล่าวไว้ว่า สิ่งเร้าหนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด เขาได้ค้นพบกฎการเรียนรู้ที่สาคัญคือ .....1. กฎแห่งการผล (Law of Effect) .....2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) .....3. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) แนวคิดของธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่ง การเรียนรู้ ได้เสนอหลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอ หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ คือ
  • 17. .....1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน .....2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้า ไม่สามารถสร้างความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้ หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนของเขา ไว้ 5 ประการ คือ .....1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity) .....2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation) .....3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset) .....4. คานึงถึงเรื่องเอกัตบุคคล (Individualization) .....5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง (S-R Theory หรือ Operant Conditioning)เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกินเนอร์ (Skinner) กล่าว ว่า ปฏิกิริยาตอบสนอง หนึ่งอาจไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทาให้เกิดการตอบสนอง เช่นเดียวกันได้ ถ้าได้มีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้อง แนวคิดของสกินเนอร์ นามาใช้ในการสอนแบบสาเร็จรูป หรือการสอนแบบโปรแกรม (Program Inattention) สกินเนอร์เป็นผู้คิดบทเรียนโปรแกรมเป็นคนแรก การนาทฤษฎี การเรียนรู้ของกลุ่มพฤติกรรมมาใช้กับเทคโนโลยีการศึกษานี้จะ ใช้ในการออกแบบการ เรียนการสอนให้เข้ากับลักษณะดังต่อไปนี้คือ .....1. การเรียนรู้เป็นขั้นเป็นตอน (Step by Step) .....2. การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของผู้เรียน (Interaction) .....3. การได้ทราบผลในการเรียนรู้ทันที (Feedback)
  • 18. .....4. การได้รับการเสริมแรง (Reinforcement) 2.หลักการและทฤษฎี เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาในแง่ของการเรียนรู้ คาร์เพนเตอร์ และเดล(C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวล หลักการและทฤษฏีเทคโนโลยีทางการศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ 10 ประการ คือ .....1.หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจที่สาคัญในกิจกรรมการ เรียนการสอน เพราะเป็นสิ่งที่สามารถผลักดันจูงใจ มีอิทธิพลต่อพลังความสนใจ ความ ต้องการ ของผู้เรียน .....2.การพัฒนามโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล ช่วยส่งเสริมความ คิด ความเข้าใจแก่ ผู้เรียนแต่ละคน การผลิตและการใช้วัสดุการเรียนการสอน ควรจะต้องสัมพันธ์กับ ความสามารถของผู้สอนและผู้เรียน ตลอดถึงจุดมุ่งหมายของการเรียน .....3.กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการ ปฏิบัติเกี่ยวกับสื่อจะเป็นแบบลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน .....4.การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้เรียนจะเรียนได้ดีจากสื่อ เทคโนโลยีที่จัดระเบียบเป็นระบบ และมีความหมายตามความสามารถของเขา .....5.การมีส่วนรวมและการปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วยตนเอง มากที่ สุด .....6.การฝึกซ้าและการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ สื่อที่สามารถส่งเสริมการฝึกซ้าและมี การ เปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าอยู่เสมอ จะช่วยส่งเสริมความเข้าใจ เพิ่มความคงทนในการจา .....7.อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน อัตราหรือช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้ ต่างๆ จะ ต้องมีความสอดคล้องกับ ความสามารถอัตราการเรียนรู้และประสบการณ์ ของผู้เรียน
  • 19. .....8.ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล สื่อที่มีลักษณะชัดเจน สอดคล้อง กับ ความต้องการ ที่สัมพันธ์กับผลที่พึงประสงค์ของผู้เรียนจะทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี .....9.การถ่ายโยงที่ดี โดยที่การเรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้ อย่าง อัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผู้เรียนต้องการแนะนาในการ ปฏิบัติ เพื่อประยุกต์ความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน .....10.การให้รู้ผลการเรียนรู้จะดีขึ้น ถ้าหากสื่อเทคโนโลยีช่วยให้ผู้เรียนรู้ผลการกระทา ทันที หลังจากที่ได้ปฏิบัติกิจกรรมไปแล้ว แนวคิดของบูเกสสกี (Bugelski) ได้ สนับสนุนว่า การเรียนรู้จะเป็นผลจากการกระทา ของผู้เรียน ไม่ใช้กระบวนการถ่ายทอดของผู้สอน หากแต่ผู้สอนเป็นเพียงผู้เตรียม สถานการณ์และจัดระเบียบประสบการณ์ที่ทันสมัย ไว้ให้ เพื่อผู้เรียนจะได้เชื่อมโยง ความรู้ใหม่ได้สะดวก ซึ่งหมายถึงว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็นตัวการประสาน ความรู้โดยตรงแก่ผู้เรียน 3.ทฤษฎีการรับรู้ เมื่อมีสิ่งเร้าเป็นตัวกาหนดให้เกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดขึ้น ก่อน เพราะการรับรู้เป็นหนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ ซึ่งหมายถึงการ รับรู้เป็นพื้นฐานของการเรียนรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้เกิดขึ้น การเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การ รับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์อันเป็น ส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอนและการใช้สื่อ การสอนจึงจาเป็นจะต้องให้ เกิดการรับรู้ที่ถูกต้องมากที่สุด แนวคิดของรศ.ดร.สาโรช โศภี ได้กล่าวเกี่ยวกับทฤษฎีการรับรู้ว่าการรับรู้เป็นผล เนื่องมาจากการที่มนุษย์ใช้อวัยวะรับสัมผัส (Sensory motor) ซึ่งเรียกว่า เครื่องรับ (Sensory) ทั้ง 5 ชนิด คือ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวหนัง การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อย
  • 20. เพียงใด ขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพล หรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะของผู้รับรู้ ลักษณะ ของสิ่งเร้า แนวคิดของ ฉลองชัย สุรวัฒนบูรณ์ และ วไลพร ภวภูตานนท์ ณ มหาสารคาม กล่าวว่า การที่จะเกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องอาศัยการรับรู้ที่เกิดจากการเปลี่ยน แปลง พฤติกรรมอันเป็นผลมาจากการได้รับประสบการณ์ การรับรู้มีขบวนการที่ทาให้เกิดการ รับรู้ โดยการนาความรู้เข้าสู่สมองด้วยอวัยวะสัมผัส และเก็บรวบรวมจดจาไว้สาหรับเป็น ส่วนประกอบสาคัญที่ทาให้เกิดมโนภาพและ ทัศนคติ ดังนั้นการมีสิ่งเร้าที่ดีและมี องค์ประกอบของการรับรู้ที่สมบูรณ์ถูกต้อง ก็จะทาให้เกิดการเรียนรู้ที่ดีด้วยซึ่งการรับรู้ เป็นส่วนสาคัญยิ่งต่อการรับรู้ แนวคิดของ Fleming ให้ข้อเสนอแนะว่ากระบวนการรับรู้ยังสามารถใช้ประโยชน์ ในการเรียนการสอนด้วย มีเหตุผลหลายประการที่นักออกแบบเพื่อการเรียนการสอน จาต้อง รู้และนาหลักการของการรับรู้ไปประยุกต์ใช้กล่าวคือ .....1.โดย ทั่วไปแล้วสิ่งต่าง ๆ เช่น วัตถุ บุคคล เหตุการณ์ หรือสิ่งที่มีความสัมพันธ์กัน ถูกรับรู้ดีกว่า มันก็ย่อมถูกจดจาได้ดีกว่าเช่นกัน .....2.ใน การเรียนการสอนจาเป็นต้องหลีกเลี่ยงการรับรู้ที่ผิดพลาด เพราะถ้าผู้เรียนรู้ ข้อความหรือเนื้อหาผิดพลาด เขาก็จะเข้าใจผิดหรืออาจเรียนรู้บางสิ่งที่ผิดพลาดหรือไม่ ตรงกับความเป็น จริง .....3.เมื่อ มีความต้องการสื่อในการเรียนการสอนเพื่อใช้แทนความเป็นจริงเป็นเรื่อง สาคัญ ที่จะต้องรู้ว่าทาอย่างไร จึงจะนาเสนอความเป็นจริงนั้นได้อย่างเพียงพอที่จะให้ เกิดการรับรู้ตามความ มุ่งหมาย เอกสารอ้างอิง : https://sites.google.com/site/phimchadaphorn554148098/thvsdi-thi- keiywkhxng-kab-nwatkrrm-laea-thekhnoloyi-thangkar-suksa
  • 21. ศตวรรษที่ 21 ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน ศตวรรษที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการ จัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกใน ศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กใน ศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลง รูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึง ทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้า เองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถ ประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการ จัดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงสหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดย
  • 22. การส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปใน ทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการ ทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่าน ทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมี วิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากหลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้ ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
  • 23. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และ ทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวน ทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็น ทีม และภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกัน สร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการ ดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามา จากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิด เพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและ ความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนิน ชีวิต
  • 24. ภาพ กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (21st Century Learning Framework) (http://www.qlf.or.th/) กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวางเนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่ง ศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้งระบบสนับสนุนการ เรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งสิ่งที่เป็นตัว ช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทาหน้าที่ ของครูแต่ละคนนั่นเอง อ้างอิงจาก
  • 25. http://www.noppawan.sskru.ac.th/data/learn_c21.pdf -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ประเทศไทย 4.0 หลายท่านคงได้ยินกันบ่อยๆกับคาว่า Thailand 4.0 แล้ว Thailand 4.0 คืออะไร นโยบายนี้จะช่วยพัฒนาประเทศของเราได้อย่างไร มาทาความรู้จักกัน Thailand 4.0 เป็นวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ที่เปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจที่ ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม ….ซึ่งกว่าจะมาเป็น Thailand 4.0 ก็ต้องผ่าน 1.0 2.0 และ 3.0 กันมา ก่อน  Thailand 1.0 ก็คือยุคของเกษตรกรรม คนไทยปลูกข้าว พืชสวน พืชไร่ เลี้ยงหมู เป็ด ไก่ นาผลผลิตไปขาย สร้างรายได้และยังชีพ  Thailand 2.0 ซึ่งก็คือยุคอุตสาหกรรมเบา ในยุคนี้เรามีเครื่องมือเข้ามาช่วย เราผลิต เสื้อผ้า กระเป๋า เครื่องดื่ม เครื่องเขียน เครื่องประดับเป็นต้น ประเทศเริ่มมีศักยภาพมาก ขึ้น
  • 26.  Thailand 3.0 (ซึ่งเป็นยุคปัจจุบัน ) เป็นยุคอุตสาหกรรมหนัก เราผลิตและขายส่งออก เหล็กกล้า รถยนต์ ก๊าซธรรมชาติ ปูนซีเมน เป็นต้น โดยใช้เทคโนโลยีจากต่างประเทศ เพื่อ เน้นการส่งออก ในช่วงแรก Thailand 3.0 เติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่ปัจจุบันกลับเติบโตเพียงแค่ 3-4% ต่อปี เท่านั้น ประเทศไทยจึงตกอยู่ช่วงรายได้ปานกลางมาเป็นเวลากว่า 20 ปีแล้ว ในขณะที่ทั่วโลกมีการ แข่งขันที่สูงขึ้น เราจึงต้องเปลี่ยนสู่ยุค Thailand 4.0 เพื่อให้ประเทศไทยให้กลายเป็นกลุ่ม ประเทศที่มีรายได้สูง
  • 27. ในปัจจุบันประเทศไทยยังติดอยู่ในโมเดลเศรษฐกิจแบบ “ทามาก ได้น้อย” จึงต้องการ ปรับเปลี่ยนเป็น “ทาน้อย ได้มาก” ก็จะต้องเปลี่ยนจากการผลิตสินค้า “โภคภัณฑ์” ไปสู่สินค้าเชิง “นวัตกรรม” และเปลี่ยนจากการขับเคลื่อนประเทศด้วย  ภาคอุตสาหกรรม ไปสู่การขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม  อย่างการเกษตรก็ต้องเปลี่ยนจากการเกษตรแบบดั้งเดิม ไปสู่การเกษตรสมัยใหม่ ที่เน้น การบริหารจัดการและใช้เทคโนโลยีหรือ Smart Farming โดยเกษตรกรต้องร่ารวยขึ้น และเป็นเกษตรกรแบบเป็นผู้ประกอบการ  เปลี่ยนจาก SMEs แบบเดิมไปสู่การเป็น Smart Enterprises และ Startups ที่มีศักยภาพ สูง  เปลี่ยนจากรูปแบบบริการแบบเดิมซึ่งมีการสร้างมูลค่าค่อนข้างต่า ไปสู่บริการที่มีมูลค่าสูง  เปลี่ยนจากแรงงานทักษะต่าไปสู่แรงงานที่มีความรู้และทักษะสูง โมเดลของ Thailand 4.0 นั่นคือ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ซึ่งโมเดลนี้จะสาเร็จได้ ต้องใช้แนวทาง สานพลังประชารัฐ โดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของ ภาคเอกชน ธนาคาร ประชาชน สถาบันศึกษาและสถาบันวิจัยต่างๆ ประกอบกับการส่งเสริม SME และ Startup เพื่อขับเคลื่อนไปในทิศทางเดียวกัน พร้อมต้องมีโครงสร้างด้านการสื่อสารและ
  • 28. โทรคมนาคมที่มีคุณภาพ มีอินเตอร์เน็ตที่คลอบคลุมประชากรมากที่สุด เพื่อให้สามารถเชื่อมโยง ทุกภาคส่วนได้อย่างไม่สะดุด โครงสร้างของ ICT ก็จะเป็นปัจจัยแห่งความสาเร็จ เราจะก้าวข้ามผ่านกับดักประเทศ รายได้ปานกลางไปสู่รายได้สูง ในยุค Thailand 4.0 ได้ก็ต้องอาศัยความร่วมมือจากหลายฝ่าย เพื่อพัฒนาประเทศไปสู่เป้าหมายให้ได้ อย่างไรก็ตาม ส่วนสาคัญที่สุดที่จะทาให้ นโยบาย Thailand 4.0 ประสบผลได้เร็วขึ้น และ จะทาให้คนไทยมีรายได้สูงได้ ก็คือ เราคนไทยนี่เอง คือคนไทยที่มีความสามารถ และมีความ พยายาม ตั้งใจคิดค้นนวัตกรรมใหม่ๆที่มีคุณค่าสูง ซึ่งภาคส่วนต่างๆก็ได้พยายามช่วยกันผลักดัน กลุ่มคนเหล่านี้ ให้เป็นกาลังของประเทศ ด้วยการสนับสนุนในทุกๆด้าน ทั้งด้านการฝึกอบรม เงินทุนสนับสนุน ด้านกาลังใจและความเชื่อมั่น ว่าคนไทยก็สามารถทาได้ ตัวอย่างเช่น ล่าสุดนี้ สานักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน) โดยความร่วมมือ จาก สานักงานนวัตกรรมแห่งชาติ ก็ได้จัด โครงการประกวดผลงานนวัตกรรมการพัฒนาโมบาย โซลูชันภาครัฐ ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจาปี 2560 : MEGA 2017 ขึ้นเป็นปีที่ 3 ซึ่งนอกจากผู้เข้าร่วมโครงการจะได้รับความรู้ ประสบการณ์ โอกาสสร้างชื่อเสียง รวมถึงมีโอกาสต่อยอดทางธุรกิจแล้ว ยังมีเงินรางวัลและเงินทุน สนับสนุนเพื่อพัฒนาต้นแบบรวมมูลค่าสูงสุดถึงกว่า 20 ล้านบาท โครงการนี้จะปิดรับสมัคร 30 มิ.ย. 60 นี้ ที่มา : https://www.it24hrs.com/2017/thailand-4-0/