SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
บทที่ 1

                                               บทนา

แนวคิด ที่มา และความสาคัญ
           ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ต่อ
ทุกวงการทั่วโลก รวมทั้งวงการศึกษาไทยด้วย และผลพวงที่ติดตามมาในแง่เทคนิควิธีการเกี่ยวกับ
กระบวนการเรียนรู้คือแนวโน้มในการเรียนรู้แบบโต้ตอบสองทาง (Interactive) ที่กาลังก้าวเข้ามา
แทนที่กระบวนการเรียนรู้แบบเดิม ที่ผู้รับได้แต่ “รับเอา” โดยไม่อาจ “เลือก” แต่อย่างใด จาก
แนวคิดดังกล่าว ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกต่างหันมาให้ความสนใจในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนในทุกระดับ มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และสื่อ
อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ผู้เรียนรุ่นใหม่จะเป็นผู้เรียนที่มีความคิดรักการเรียนรู้ มีหลักในการศึกษา
ค้นคว้าอย่างเป็นระบบมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ มีความรู้ทักษะที่จาเป็นในการแสวงหา
ความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น (ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ , 2539 : 122) จึงเป็นที่ยอมรับว่า เทคโนโลยี
สารสนเทศ ได้กลายเป็นปัจจัยที่สาคัญในการพัฒนาประเทศการจัดการศึกษาจึงต้องมีการปรับตัวใน
การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการจัดการเรียน
การสอนนั้น ได้มีข้อกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ว่า รัฐต้องส่งเสริม
และสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งให้มีการพัฒนาบุคลากรด้านการ
ผลิตและผู้ใช้ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะตลอดจนผู้เรียนให้มีสิทธิที่จะได้รับการพัฒนา
เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ ได้ประกาศชัดให้ประชากรทุกคน
สามารถเข้าถึงการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และสาระทั้งปวงในกฎหมาย
ต้องการให้คนไทยมี “ชีวิตแห่งการเรียนรู้” ทาแผ่นดินไทยให้เป็น “สังคมแห่งภูมิปัญญา” อย่าง
แท้จริง (ปัญญาพล, 2542 : 100)
         เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดสังคมยุคสารสนเทศที่มีสรรพสิ่งมากมายให้ได้เรียนรู้ไม่
รู้จักหมดสิ้น การเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สร้างการเรียนรู้ให้
เกิดขึ้นได้อย่างกว้างขวางและกระจายไปทุกระดับ ทั้งในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย(บุปผชาติ
ทัฬหิกรณ์, 2544 : 7) จะเห็นได้ว่าการจัดการศึกษาในยุคของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถ
เปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนรู้และความต้องการของการศึกษาในอนาคต สื่อและอุปกรณ์
การศึกษารูปแบบใหม่จะเข้ามาแทนที่สื่อแบบเก่า มีแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่หลากหลายนับเป็น
สิ่งที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมทางการศึกษาแบบใหม่ (รุ่ง แก้วแดง, 2543) ทาให้
การเรียนการสอนไม่จากัดอยู่เฉพาะในห้องเรียนและอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้สอนเท่านั้น แต่
ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้จากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งโลกใน
ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารจะเป็นปัจจัยหลักในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ผู้ที่มีโอกาสเข้าถึงข้อมูล
ข่าวสารได้เร็วจะได้เปรียบกว่าผู้ที่เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ช้า อินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นแหล่งรวบรวม
สารสนเทศต่างๆจากทั่วโลกจะเป็นเสมือนขุมทรัพย์ ข้อมูลข่าวสารที่คนส่วนใหญ่ในปัจจุบันหันมา
ให้ความสนใจ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2539 : 7) และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดว่าสาคัญ
อย่างยิ่งในการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ โดยแนวคิดมุ่งเน้นในเรื่อง
การคิดและแก้ปัญหาเป็น และผู้เรียนสามารถถ่ายโยงความรู้ที่เรียนไปใช้ในชีวิตจริง ซึ่งแนวคิดนี้
จะต้องอาศัยเทคโนโลยีและการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่มีทั่วโลกมาพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน มา
ปรับเปลี่ยนแนวทางการเรียนรู้ใหม่จากแนวทางและวิธีการสั่งสอน มาเป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ
แหล่งการเรียนรู้ใหม่ทางสารสนเทศ ซึ่งเป็นการจัดสภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียน
มีส่วนร่วมคิดแก้ปัญหาและนาความรู้ที่ได้มานั้นไปถ่ายโยงใช้จริงในชีวิตประจาวันที่ทันยุคทันสมัย
ต่อเหตุการณ์ (ปรัชนันนท์ นิลสุข, 2545:19)
เรียนการสอน เพื่อให้เป็นบทเรียนที่เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็น
สาคัญ ขณะเดียวกันผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบทีมในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
เรียนรู้ และยังสามารถเป็นแนวทางในการสร้างบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในเรื่องอื่นๆ
ต่อไปได้




วัตถุประสงค์

1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วยWordpressเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์
 2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์
 3เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อกจากWordpressได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้
เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น
4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครูเพื่อนและผู้สนใจทั่วไป
ขอบเขตของโครงงาน
1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpressเรื่องประเภขของ
คอมพิวเตอร์
2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่
2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อก คือ www.wordpress.com
2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารเช่น www.facebook.comwww.hotmail.comwww.google.com
2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรูปภาพเช่นAdobe Photoshop CS4 และ PhotoScape2.0

ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpressเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์
2 ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นามาเป็นบทเรียนในการสร้างเว็บบล็อกคือเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์
3ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpressได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ
การเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น
4 สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป
เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อกได้
5 ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์

More Related Content

What's hot

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาsinarack
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาFern's Supakyada
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาPan Kannapat Hengsawat
 
ICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มAtigarn Tingchart
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนchuttiyarach
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 

What's hot (18)

บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Tablet multimedia
Tablet multimediaTablet multimedia
Tablet multimedia
 
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษาบทท  7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
บทท 7 นว_ตกรรมทางการศ_กษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
1
11
1
 
Chapter 6 gw
Chapter 6 gwChapter 6 gw
Chapter 6 gw
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
ICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้มICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
ICT กับการเรียนการสอน : สภาพปัจจุบัน ปัญหาและแนวโน้ม
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียนรายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
รายงานผลการวิจัยในชั้นเรียน
 
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 

Similar to บทที่ 1

ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6Sineenartt
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieKanatip Sriwarom
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมWanlapa Kst
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีballjantakong
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1commyzaza
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11kanwan0429
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 

Similar to บทที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Mindmap1
Mindmap1Mindmap1
Mindmap1
 
Introduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medieIntroduction to teachnologies and educational medie
Introduction to teachnologies and educational medie
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
ผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยีผลกระทบของเทคโนโลยี
ผลกระทบของเทคโนโลยี
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 6new
บทที่ 6newบทที่ 6new
บทที่ 6new
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 

More from อัศวิน ปุตตาปวน

More from อัศวิน ปุตตาปวน (20)

พำพพ
พำพพพำพพ
พำพพ
 
ฌ็ธ็ธ็ธ็ธ
ฌ็ธ็ธ็ธ็ธฌ็ธ็ธ็ธ็ธ
ฌ็ธ็ธ็ธ็ธ
 
00 e0b8aae0b988e0b8a7e0b899e0b899e0b8b31
00 e0b8aae0b988e0b8a7e0b899e0b899e0b8b3100 e0b8aae0b988e0b8a7e0b899e0b899e0b8b31
00 e0b8aae0b988e0b8a7e0b899e0b899e0b8b31
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 บทนา แนวคิด ที่มา และความสาคัญ ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งยิ่งใหญ่ต่อ ทุกวงการทั่วโลก รวมทั้งวงการศึกษาไทยด้วย และผลพวงที่ติดตามมาในแง่เทคนิควิธีการเกี่ยวกับ กระบวนการเรียนรู้คือแนวโน้มในการเรียนรู้แบบโต้ตอบสองทาง (Interactive) ที่กาลังก้าวเข้ามา แทนที่กระบวนการเรียนรู้แบบเดิม ที่ผู้รับได้แต่ “รับเอา” โดยไม่อาจ “เลือก” แต่อย่างใด จาก แนวคิดดังกล่าว ประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกต่างหันมาให้ความสนใจในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียนในทุกระดับ มีการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์และสื่อ อิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ผู้เรียนรุ่นใหม่จะเป็นผู้เรียนที่มีความคิดรักการเรียนรู้ มีหลักในการศึกษา ค้นคว้าอย่างเป็นระบบมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ มีความรู้ทักษะที่จาเป็นในการแสวงหา ความรู้ด้วยตนเองมากขึ้น (ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ , 2539 : 122) จึงเป็นที่ยอมรับว่า เทคโนโลยี สารสนเทศ ได้กลายเป็นปัจจัยที่สาคัญในการพัฒนาประเทศการจัดการศึกษาจึงต้องมีการปรับตัวใน การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ประโยชน์ในทุก ๆ ด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ด้านการจัดการเรียน การสอนนั้น ได้มีข้อกาหนดไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ว่า รัฐต้องส่งเสริม และสนับสนุนให้มีการผลิตสื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งให้มีการพัฒนาบุคลากรด้านการ ผลิตและผู้ใช้ให้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะตลอดจนผู้เรียนให้มีสิทธิที่จะได้รับการพัฒนา เพื่อให้มีความรู้และทักษะเพียงพอที่จะใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต ซึ่งเจตนารมณ์ของกฎหมายฉบับนี้ ได้ประกาศชัดให้ประชากรทุกคน สามารถเข้าถึงการศึกษาเพื่อการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง และสาระทั้งปวงในกฎหมาย ต้องการให้คนไทยมี “ชีวิตแห่งการเรียนรู้” ทาแผ่นดินไทยให้เป็น “สังคมแห่งภูมิปัญญา” อย่าง แท้จริง (ปัญญาพล, 2542 : 100) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดสังคมยุคสารสนเทศที่มีสรรพสิ่งมากมายให้ได้เรียนรู้ไม่ รู้จักหมดสิ้น การเชื่อมโยงข้อมูลสารสนเทศด้วยระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์สร้างการเรียนรู้ให้ เกิดขึ้นได้อย่างกว้างขวางและกระจายไปทุกระดับ ทั้งในระบบนอกระบบและตามอัธยาศัย(บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์, 2544 : 7) จะเห็นได้ว่าการจัดการศึกษาในยุคของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศสามารถ เปลี่ยนแปลงกระบวนการเรียนรู้และความต้องการของการศึกษาในอนาคต สื่อและอุปกรณ์ การศึกษารูปแบบใหม่จะเข้ามาแทนที่สื่อแบบเก่า มีแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ที่หลากหลายนับเป็น
  • 2. สิ่งที่ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมทางการศึกษาแบบใหม่ (รุ่ง แก้วแดง, 2543) ทาให้ การเรียนการสอนไม่จากัดอยู่เฉพาะในห้องเรียนและอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้สอนเท่านั้น แต่ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้จากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่งโลกใน ปัจจุบันข้อมูลข่าวสารจะเป็นปัจจัยหลักในการดาเนินกิจกรรมต่างๆ ผู้ที่มีโอกาสเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารได้เร็วจะได้เปรียบกว่าผู้ที่เข้าถึงข้อมูลข่าวสารได้ช้า อินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นแหล่งรวบรวม สารสนเทศต่างๆจากทั่วโลกจะเป็นเสมือนขุมทรัพย์ ข้อมูลข่าวสารที่คนส่วนใหญ่ในปัจจุบันหันมา ให้ความสนใจ (ถนอมพร เลาหจรัสแสง, 2539 : 7) และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนจัดว่าสาคัญ อย่างยิ่งในการจัดการศึกษาที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ โดยแนวคิดมุ่งเน้นในเรื่อง การคิดและแก้ปัญหาเป็น และผู้เรียนสามารถถ่ายโยงความรู้ที่เรียนไปใช้ในชีวิตจริง ซึ่งแนวคิดนี้ จะต้องอาศัยเทคโนโลยีและการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายที่มีทั่วโลกมาพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน มา ปรับเปลี่ยนแนวทางการเรียนรู้ใหม่จากแนวทางและวิธีการสั่งสอน มาเป็นการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับ แหล่งการเรียนรู้ใหม่ทางสารสนเทศ ซึ่งเป็นการจัดสภาพแวดล้อมใหม่ในการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมคิดแก้ปัญหาและนาความรู้ที่ได้มานั้นไปถ่ายโยงใช้จริงในชีวิตประจาวันที่ทันยุคทันสมัย ต่อเหตุการณ์ (ปรัชนันนท์ นิลสุข, 2545:19) เรียนการสอน เพื่อให้เป็นบทเรียนที่เป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ขณะเดียวกันผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบทีมในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการ เรียนรู้ และยังสามารถเป็นแนวทางในการสร้างบทเรียนผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในเรื่องอื่นๆ ต่อไปได้ วัตถุประสงค์ 1 เพื่อศึกษาและพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วยWordpressเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์ 2 เพื่อศึกษาค้นคว้าเรื่องที่สนใจเกี่ยวกับเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์ 3เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อกจากWordpressได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้ เข้ากับการเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 4 เพื่อให้สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครูเพื่อนและผู้สนใจทั่วไป
  • 3. ขอบเขตของโครงงาน 1. จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpressเรื่องประเภขของ คอมพิวเตอร์ 2. วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือที่ใช้ในการพัฒนา ได้แก่ 2.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ พร้อมเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต 2.2 เว็บไซต์ที่ให้บริการเว็บบล็อก คือ www.wordpress.com 2.3 เว็บไซต์ที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารเช่น www.facebook.comwww.hotmail.comwww.google.com 2.4 โปรแกรมตัดต่อและตกแต่งรูปภาพเช่นAdobe Photoshop CS4 และ PhotoScape2.0 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1 ได้รับความรู้เกี่ยวกับพัฒนาเว็บบล็อก (WebBlog) ด้วย Wordpressเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์ 2 ได้รับความรู้เกี่ยวกับเรื่องที่นามาเป็นบทเรียนในการสร้างเว็บบล็อกคือเรื่องประเภทของคอมพิวเตอร์ 3ผู้เรียนสามารถพัฒนารูปแบบของเว็บบล็อกจาก Wordpressได้ด้วยตนเองและนามาประยุกต์ใช้ให้เข้ากับ การเรียนรู้ของตนเองมากยิ่งขึ้น 4 สามารถติดต่อสื่อสารกันได้ระหว่างครู เพื่อนและผู้สนใจทั่วไป เพื่อสร้างเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ผ่านเว็บบล็อกได้ 5 ได้นาเอาเทคโนโลยีสารสนเทศยุคใหม่มาใช้อย่างมีคุณค่า และสร้างสรรค์