SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
๑

รายงานการประเมินผลการยกรางหลักสูตรการฝกอบรม
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication)
โครงการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน
องคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ตําบลสํานักทอน อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง
--------------------------------------๑. ความเปนมาและความสําคัญ
กฎบัตรอาเซียนขอ 34 บัญญัติวา “The working language of ASEAN shall be English”
“ภาษาที่ ใช ในการทํ างานของอาเซี ยน คื อ ภาษาอัง กฤษ” ภาษาอั ง กฤษ: ในฐานะภาษาสํ าคั ญ ของโลก
ในปจจุบันคือภาษานานาชาติ เปนภาษากลางของมนุษยชาติ เปนภาษาที่มนุษยบนโลกใชติดตอระหวางกัน
เปนหลัก ไมวาแตล ะคนจะใชภาษาอะไรเปนภาษาประจําชาติ เมื่อต องติด ตอกับ คนอื่ นที่ตา งภาษาตา ง
วัฒนธรรม ทุกคนจําเปนตองใชภาษาอังกฤษเปนหลัก ดวยเหตุนี้ทุกชาติทุกภาษาจึงบรรจุวิชาภาษาอังกฤษ
เปนภาษาที่สอง เปนแกนหลักของหลักสูตรการศึกษาทุกระดับ ตั้งแตปฐมวัยไปจนถึงการศึกษาตลอดชีวิต
เมื่ออาเซียนกําหนดใหภาษาอังกฤษเปน “working language” เราจึงตองเขาใจตามความหมายของถอยคํา
ที่วาเปน “ภาษาทํางาน” ของทุกคนในอาเซียน ทุกคนที่ “ทํางานเกี่ยวกับอาเซียน”, “ทํางานในอาเซียน”,
ทํางานรวมกับเพื่อนอาเซียน”, “มีเครือขายประชาสังคมอาเซียน”, “แสวงหาโอกาสทางการศึกษาในอาเซียน”,
“มีเพื่อนในอาเซียน” และ “เดินทางทองเที่ยวในอาเซียน”
นายทัศนัย ทองคต นายกองคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญประการนี้
จึงมีนโยบายหลักในการพัฒนาบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ทั้ง ผูบริหาร สมาชิกสภา
องคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ขาราชการ พนักงานราชการ และพนัก งานสัญญาจาง เพื่อเตรียม
ความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน เพราะการติดตอสื่อสารถือเปนทักษะสําคัญที่ใชติดตอระหวางกัน ไมวา
จะในระดับบุคคล หนวยงาน องคกร จนถึงระดับระหวางประเทศ เพื่อความเขาใจอันดี และรวมถึงความ
รวมมือระหวางกันดวย ซึ่งจักยังประโยชนอันสูงสุดตอการพัฒนาหนวยงาน ใหทัดเทียมกับนานาประเทศใน
กลุมประเทศอาเซียน
ดัง นั้น เพื่ อใหองคก ารบริห ารสวนตําบลสํานัก ทอน มีห ลัก สูตรการฝก อบรม ภาษาอัง กฤษเพื่ อ
การสื่อสาร (English for Communication) ที่เหมาะสม ผูประเมินจึงไดประเมินผลการยกรางหลักสูตร
การฝกอบรมนี้ โดยผูทรงคุณวุฒิ และบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ซึ่งยึดหลักการวา
“หลักสูตรการฝกอบรมนี้ตองมีความเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน บริบทของหนวยงาน และสอดคลองกับ
นโยบายขององค ก ารบริห ารสวนตําบลสํานั ก ทอน ทั้ง ยั ง สามารถนําไปใชจัด การเรียนรูแกบุ คลากรของ
๒

องคการบริหารสวนตําบลสํานักทอนทุกสวนอยางไดผ ล และยังสามารถใหบุคลากรนําไปประยุก ต รวมถึง
พัฒนาตนใหมีสมรรถนะในระดับที่สูงขึ้นตอไป
๒. วัตถุประสงค
๒.๑ เพื่อประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการฝกอบรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for
Communication)
๒.๒ เพื่อ ปรั บ ปรุ ง แกไ ข หลัก สู ต รการฝ ก อบรม ภาษาอั ง กฤษเพื่อ การสื่อ สาร (English for
Communication) ใหมีความเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน บริบทของหนวยงาน และสอดคลองกับนโยบาย
ขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน
๓. ประเด็นการประเมิน ตัวชี้วัด และเกณฑของตัวชี้วัด
สิ่งที่ถูกประเมิน
ประเด็นที่ประเมิน
หลักสูตร
๑. ความเหมาะสมของ
การฝกอบรม จุดมุงหมายของหลักสูตร
๒. ความเหมาะสมของของผล
การเรียนรูที่คาดหวังใน

หลักสูตร
๓. ความเหมาะสมของตัวชี้วัด
ในหลักสูตร
๔. ความเหมาะสมของ
ระยะเวลากับหลักสูตร
เนื้อหาสาระ
๑. ความเหมาะสมของเนื้อหา
กับหลักสูตร

ตัวชี้วัด
๑. รอยละความคิดเห็น
ของผูทรงคุณวุฒิ
๒. รอยละความคิดเห็น
ของบุคลากรในองคการ
บริหารสวนตําบลสํานัก
ทอน

เกณฑการตัดสิน
๑. รอยละ ๘๐ ของจํานวน
ผูทรงคุณวุฒิเห็นดวยวา
เหมาะสม
๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวน
บุคลากรในองคการบริหาร
สวนตําบลสํานักทอนเห็น
ดวยวาเหมาะสม

๑. รอยละความคิดเห็น
ของผูทรงคุณวุฒิ
๒. รอยละความคิดเห็น
ของบุคลากรในองคการ
บริหารสวนตําบลสํานัก
ทอน

๑. รอยละ ๘๐ ของจํานวน
ผูทรงคุณวุฒิเห็นดวยวา
เหมาะสม
๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวน
บุคลากรในองคการบริหาร
สวนตําบลสํานักทอนเห็น
ดวยวาเหมาะสม
๓

สิ่งที่ถูกประเมิน
ประเด็นที่ประเมิน
การประเมินผล ๑. ความเหมาะสมของวิธี
การประเมินผลกับหลักสูตร

ตัวชี้วัด
๑. รอยละความคิดเห็น
ของผูทรงคุณวุฒิ
๒. รอยละความคิดเห็น
ของบุคลากรในองคการ
บริหารสวนตําบลสํานัก
ทอน

เกณฑการตัดสิน
๑. รอยละ ๘๐ ของจํานวน
ผูทรงคุณวุฒิเห็นดวยวา
เหมาะสม
๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวน
บุคลากรในองคการบริหาร
สวนตําบลสํานักทอนเห็น
ดวยวาเหมาะสม

๔. วิธีดําเนินการ
๔.๑ กลุมเปาหมาย
กลุมเปาหมายที่ใชในการประเมินครั้งนี้ ไดแก
๔.๑.๑ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน ๑๕ คน แบงเปน
๔.๑.๑.๑ ผูบริหารสถานศึกษา จํานวน ๔ คน ดังนี้
ที่

ชื่อ – นามสกุล

ตําแหนง

สังกัด

๑ นางวันเพ็ญ เจริญแพทย

ผูอํานวยการโรงเรียน

สพป.รย.เขต ๑

๒ นายสมบัติ สะเกศ

ผูอํานวยการโรงเรียน

สพป.รย.เขต ๑

๓ นายปรีดา ธีระราษฎร

ผูอํานวยการโรงเรียน

สพป.รย.เขต ๑

๔ นายชํานาญ ทวมพงษ

รองผูอํานวยการโรงเรียน

สพป.รย.เขต ๑

วุฒิการศึกษา
กศ.ม.
(การบริหารการศึกษา)
กศ.ม.
(การบริหารการศึกษา)
ค.ม.
(การบริหารการศึกษา)
กศ.ม.
(การบริหารการศึกษา)

๔.๑.๑.๒ ผูชํานาญงานวิชาการ จํานวน ๕ รูป/คน ดังนี้
ที่

ชื่อ – นามสกุล

ตําแหนง
สถานที่
เลข.จอ.
โรงเรียนวัด
๑ พระปลัดวัชรินทร วชิรเมธี
พญาเม็งราย
สันหนองบัววิทยา
ครูพระปริยัติธรรม
โรงเรียนบาน
๒ นางสุพัตรา กุศลวงษ
ครู คศ. ๓
เขาหวยมะหาด

สังกัด

วุฒิการศึกษา

สนง.พศ.

พธ.บ.
(รัฐศาสตร)

สพป.รย.
เขต ๑

ค.บ.
(สังคมศึกษา)
๔

ที่

ชื่อ – นามสกุล

ตําแหนง

สถานที่

สังกัด

๓ นางวรรณา เวชศาสตร

ครู คศ. ๓

โรงเรียน
วัดบานฉาง

สพป.รย.
เขต ๑

๔ นางเชนิยา อนันต

ครู คศ. ๓

โรงเรียน
วัดชากหมาก

สพป.รย.
เขต ๑

ครู แผนกสามัญ

วิทยาลัย
เทคโนโลยี
พัฒนเวช

สพป.รย.
เขต ๑

๕ นางสุวิมล จันทรแดง

วุฒิการศึกษา
กศ.ม.
(การบริหาร
การศึกษา)
กศ.บ.
(วิทยาศาสตร
ทั่วไป)
กศ.ม.
(การบริหาร
การศึกษา)

๔.๑.๑.๓ ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน ๖ คน ดังนี้
ที่

ชื่อ – นามสกุล

ตําแหนง

สถานที่

สังกัด

๑ นางทิพยพรรณ สําราญจิตร

ครู คศ. ๓

โรงเรียนชุมชน
วัดสุวรรณงสรรค

สพป.รย.
เขต ๑

๒ นางเกตุแกว แปนจันทร

ครู คศ. ๒

โรงเรียน
วัดบานฉาง

๓ นางสาวอุษา พิมพาพันธ

ครู คศ. ๑

โรงเรียนวัดพลา

๔ นางนภัทร มะอาจเลิศ

ครู คศ. ๑

โรงเรียนวัดพลา

๕ นางศิริพรรณา สิทธิชัย

ครูผูชวย

สพป.รย.
เขต ๑
สพป.รย.
เขต ๑
สพป.รย.
เขต ๑
สพป.รย.
เขต ๑

วุฒิการศึกษา
กศ.ม.
(การสอน
ภาษาอังกฤษ
เปนภาษาที่ ๒)
กศ.บ.
(ภาษาอังกฤษ)
กศ.บ.
(ภาษาอังกฤษ)
ศศ.บ.
(ภาษาอังกฤษ)
กศ.บ.
(ภาษาอังกฤษ)

๖ นางสาวแสงแข มาลา

ครู แผนกสามัญ

สพป.รย.
เขต ๑

กศ.บ.
(ภาษาอังกฤษ)

โรงเรียนชุมชนวัด
สุวรรณรังสรรค
วิทยาลัย
เทคโนโลยี
พัฒนเวช

๔.๑.๒ บุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน จํานวน ๒๔ คน
๕

๔.๒ เครื่องมือในการประเมิน
เครื่องมือที่ใชในการประเมินครั้งนี้ คือ แบบสอบถามการยกรางหลัก สูตรการฝก อบรม มี
องคประกอบสําคัญ ๓ สวน ดังนี้
สวนที่ ๑ ขอมูลสถานภาพผูตอบแบบสอบถาม
สวนที่ ๒ ขอมูลการยกรางหลักสูตร
สวนที่ ๓ ขอเสนอแนะ
๔.๓ การเก็บรวบรวมขอมูล
การประเมินครั้งนี้ ผูประเมินไดดําเนินการรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามจากผูทรงคุณวุฒิ
และบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ดังนี้
๔.๓.๑ ติ ดตอ ประสานงาน ผูท รงคุณวุ ฒิ และบุค ลากรขององคก ารบริ ห ารสว นตํ าบล
สํานักทอน เพื่อจัดสงแบบสอบถาม
๔.๓.๒ นําแบบสอบถามจัดสงไปยังผูทรงคุณวุฒิตามวัน เวลา ที่นัดหมาย
๔.๓.๓ จํานวนแบบสอบถามที่จัดสงทั้งหมดของผูทรงคุณวุฒิ จํานวน ๑๗ ฉบับ ไดรับคืน
๑๕ ฉบับ คิดเปน รอยละ ๘๘.๒๔ และแบบสอบถามที่จัดสงใหบุคลากรองคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน
ทั้งหมด จํานวน ๒๔ ฉบับ ไดรับคืน ๒๔ ฉบับ คิดเปน รอยละ ๑๐๐
๔.๔ การวิเคราะหขอมูล
การวิเ คราะหขอมูล จากแบบสอบถาม กําหนดทําการวิเ คราะหเ ฉพาะสวนที่ ๒ และ ๓
เทานั้น เนื่องดวยสวนที่ ๑ ขอมูลสถานภาพผูตอบแบบสอบถาม เปนขอมูลสวนตัว มีรายละเอียด ดังนี้
สวนที่ ๒ ขอมูลการยกรางหลักสูตร วิเคราะหผลดวยคารอยละ
สวนที่ ๓ ขอเสนอแนะ วิเ คราะหเนื้อหา โดยจัดลําดับแบงเปนหมวดหมู และ
เสนอเปนลักษณะความเรียง
๔.๕ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล
สถิติที่ใชในการวิเ คราะหขอมูล ผูประเมินใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ เพื่อหาสัดสวน
ตัวชี้วัดตาง ๆ ซึ่งมีสูตรดังนี้
รอยละ =

ตัวเลขที่ตองการเปรียบเทียบ
X ๑๐๐
จํานวนเต็ม
6

๕. ผลการวิเคราะหขอมูล
ผลการประเมิน จากการวิ เ คราะห ขอ มู ล จากแบบสอบถามการประเมิ น การยกร างหลั ก สูต รการฝ ก อบรม ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สาร (English for
Communication) ทั้ง ๒ สวน ดังนี้
สวนที่ ๒ ขอมูลยกรางหลักสูตร
ผลการวิเ คราะหขอ มูล ยกรางหลัก สูตร จําแนกตามเวลาที่ใชในการเรียนรู จุดมุง หมาย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด สาระการเรียน และการประเมินผล
รายละเอียด ดังนี้
ขอมูลหลักสูตร
หลักสูตรการอบรม : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
(English for Communication) เวลาที่ใชในการเรียนรู ๖๐ ชั่วโมง
จุดมุงหมายของหลักสูตรการอบรม
๑. เพื่อสงเสริมและพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
และการปฏิบัติงานในหนวยงานของตน
๒. เพื่อสรางโอกาส ความมั่นใจ และเจตคติที่ดีตอการเรียนรู
ภาษาอังกฤษ
๓. เพื่อเพิมพูนประสบการณการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาอังกฤษ
่
ในระดับพื้นฐาน
๔. เพื่อสนองนโยบายมุงสูความเปนสากล และเตรียมความพรอมเขาสู
ประชาคมอาเซียน

ครูผสอนวิชา
ู
บุคลากรของ
ภาษาอังกฤษ
อบต.
เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย
๔
๕
๖
๒๔
(๑๐๐)
(๑๐๐)
(๑๐๐)
(๑๐๐)
ผูบริหารสถานศึกษา

ผูชํานาญงานวิชาการ

๔
(๑๐๐)

๕
(๑๐๐)

-

-

๖
(๑๐๐)

-

๒๔
(๑๐๐)

-
7

ขอมูลหลักสูตร
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
๑. เพื่อพัฒนาทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียน
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
๒. เพื่อใชกลยุทธในการเรียนเปนการพัฒนาทักษะทางภาษาของ
บุคลากรในหนวยงาน
๓. เพื่อเห็นประโยชนของภาษาอังกฤษในการแสวงหาความรูและเขาสู

สังคม
ตัวชี้วัด
๑. สามารถสนทนาโตตอบในสถานการณตาง ๆ โดยเลือกใชภาษา
การสือสารที่เหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ
่
๒. สามารถใชทักษะทางภาษาเพื่อการติดตอ สอบถามขอมูล ให
คําแนะนํา ใหขอมูล บรรยาย เปรียบเทียบ บรรยายเหตุการณ
บุคคล สิ่งของ และสัญลักษณ ในสถานการณตาง ๆ
๓. สามารถถาม - ตอบ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู หรือคนหาขอมูลโดยใช
คําถามประเภทตาง ๆ
๔. สามารถใชทักษะการสื่อสารที่เหมาะสมกับบริบทเพื่อความเขาใจ

ครูผสอนวิชา
ู
บุคลากรของ
ภาษาอังกฤษ
อบต.
เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย
ผูบริหารสถานศึกษา

ผูชํานาญงานวิชาการ

๔
(๑๐๐)

-

๕
(๑๐๐)

-

๖
(๑๐๐)

-

๒๔
(๑๐๐)

-

๔
(๑๐๐)

-

๕
(๑๐๐)

-

๖
(๑๐๐)

-

๒๔
(๑๐๐)

-
8

ขอมูลหลักสูตร
สาระการอบรม
หนวยการเรียนรูที่ 1 Greeting and Introducing Oneself
หนวยการเรียนรูที่ 2 Leave Taking
หนวยการเรียนรูที่ 3 Giving and Asking personal information
หนวยการเรียนรูที่ 4 Thanking
หนวยการเรียนรูที่ 5 Apologizing
หนวยการเรียนรูที่ 6 Situations
- Time
- Telephone
- Shopping - Direction
- Food and Drinks
หนวยการเรียนรูที่ 7 Making an advice, a suggestion and an
invitation
หนวยการเรียนรูที่ 8 Routine
หนวยการเรียนรูที่ 9 In the office
หนวยการเรียนรูที่ 10 Our Place
- General Information
- Food
- Popular Attractions
- Festivals and Events

ครูผสอนวิชา
ู
บุคลากรของ
ภาษาอังกฤษ
อบต.
เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย
ผูบริหารสถานศึกษา

ผูชํานาญงานวิชาการ

๔
(๑๐๐)

๕
(๑๐๐)

-

-

๖
(๑๐๐)

-

๒๔
(๑๐๐)

-
9

ขอมูลหลักสูตร

ครูผสอนวิชา
ู
บุคลากรของ
ภาษาอังกฤษ
อบต.
เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย
ผูบริหารสถานศึกษา

การประเมินผล
การวัดผลประเมินผล แบงออกเปน ๓ ลักษณะ ดังนี้
๑. การสังเกตการรวมกิจกรรมการฝกอบรม
๔
๒. ประเมินโดยแบบทดสอบการสื่อสารแบบ Two – ways (๑๐๐)
communications
๓. ประเมินโดยแบบทดสอบการสื่อสาร โดยใชแบบทดสอบ
รอยละ ๑๐๐.๐๐

ผูชํานาญงานวิชาการ

-

๕
(๑๐๐)

-

๖
(๑๐๐)

-

๒๔
(๑๐๐)

-

-

๑๐๐.๐๐

-

๑๐๐.๐๐

-

๑๐๐.๐๐

-
๑๐

สวนที่ ๓ ขอเสนอแนะ
ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ชนิดปลายเปดจากผูตอบแบบสอบถามทั้งผูบริหารสถานศึกษา
ผูชํานาญงานวิชาการ ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษ และบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน เกี่ยวกับ
ขอเสนอแนะในการจัดทําหลักสูตรการฝกอบรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) มี
ดังนี้
๑. ผูทรงคุณวุฒิ
๑.๑ หลักสูตรนี้ ควรขยายผลลงสูชุมชน โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตอําเภอบานฉาง
๑.๒ เปนหลักสูตรที่ดี และควรทําการทดสอบในภาคปฏิบัติใหมาก
๑.๓ เนื้อหาสาระในหลักสูตรควรใสรายละเอียดใหเห็นภาพชัดเจนกวานี้
๒. ผูชํานาญงานวิชาการ
๒.๑ ควรใหทุกภาคสวนทั้งหนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน ภาคศาสนา เขามามีสวนรวมใน
การจัดทําหลักสูตร รวมถึงเขาศึกษาดวย และควรจัดทํารูปเลมแจกจายเปนเอกสารวิชาการ
๒.๒ ในเนื้อหาควรเพิ่มคําศัพทพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวันดวย
๒.๓ ทักษะการสื่อสาร ควรเพิ่มทักษะการดู เพื่ออานสัญลักษณ ภาพประกาศ แลวสื่อสารได
๒.๔ ควรศึกษาความสัมพันธระหวางเวลาในการจัดการเรียนรูกับเนื้อหาสาระ
๓. ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษ
๓.๑ ควรขยายผลสูชุม ชน หรือหน วยงานอื่น ใหเ ป นแบบอยาง เนื่อ งจากยัง มีก ารสง เสริ ม
การสื่อสารภาษาอังกฤษนอยมาก และควรใหชุมชนมีสวนรวมในการกําหนดหลักสูตร ซึ่งจักตรงกับความตองการที่
แทจริง
๔. บุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน
๔.๑ ควรมีสาระเกี่ยวกับคําศัพทของหนวยงานราชการ ศัพทที่ใชในหนวยงานราชการ เปนตน
ดวย

More Related Content

Viewers also liked

หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย Theeraphisith Candasaro
 
ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์Theeraphisith Candasaro
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติTheeraphisith Candasaro
 
Hiring IT professionals at Vodafone Shared Services India
Hiring IT professionals at Vodafone Shared Services IndiaHiring IT professionals at Vodafone Shared Services India
Hiring IT professionals at Vodafone Shared Services IndiaREKKHASHOK
 
Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)
Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)
Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)Theeraphisith Candasaro
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกTheeraphisith Candasaro
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
Vssi open positions in it
Vssi open positions in itVssi open positions in it
Vssi open positions in itREKKHASHOK
 
GSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORT
GSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORTGSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORT
GSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORTAvinash Kannojia
 
เรียงร้อยถ้อยสาระ
เรียงร้อยถ้อยสาระเรียงร้อยถ้อยสาระ
เรียงร้อยถ้อยสาระTheeraphisith Candasaro
 
เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารTheeraphisith Candasaro
 

Viewers also liked (16)

หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย หลักสัมพันธ์ไทย
หลักสัมพันธ์ไทย
 
DIrections Video
DIrections VideoDIrections Video
DIrections Video
 
ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์ปัจจัยในกิริยากิตก์
ปัจจัยในกิริยากิตก์
 
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติโครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
โครงการบรรพชาสามเณร นักเรียนจ่าทหารเรือ ชั้นปีที่ ๒ เพื่อเฉลิมพระเกียรติ
 
Hiring IT professionals at Vodafone Shared Services India
Hiring IT professionals at Vodafone Shared Services IndiaHiring IT professionals at Vodafone Shared Services India
Hiring IT professionals at Vodafone Shared Services India
 
Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)
Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)
Business English Syllabus (3000-1228, H-Vacation Cert.)
 
ประเมินแผน
ประเมินแผนประเมินแผน
ประเมินแผน
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอกกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นเอก
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
Put the right man on the right job
Put the right man on the right jobPut the right man on the right job
Put the right man on the right job
 
Vssi open positions in it
Vssi open positions in itVssi open positions in it
Vssi open positions in it
 
GSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORT
GSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORTGSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORT
GSM BASED DEVICES CONTROL SYSTEM PROJECT REPORT
 
เรียงร้อยถ้อยสาระ
เรียงร้อยถ้อยสาระเรียงร้อยถ้อยสาระ
เรียงร้อยถ้อยสาระ
 
บันทึกความดี
บันทึกความดีบันทึกความดี
บันทึกความดี
 
เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารเอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
เอกสารหลักสูตรการฝึกอบรม (ฉบับร่าง) ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 

Similar to รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareNumuk
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...Prachoom Rangkasikorn
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันnoi1
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลNU
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 

Similar to รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (20)

สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
แบบรายงานการวิจัย (ว สอศ.-3)
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 
Arkom
ArkomArkom
Arkom
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
B1
B1B1
B1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
เล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshareเล่มที่ 1 2 slideshare
เล่มที่ 1 2 slideshare
 
7บทที่3
7บทที่3 7บทที่3
7บทที่3
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
โครงการลงทุนด้านการศึกษาและการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ภายใต้แผนฟื้นฟู...
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
School Library Standard, Thailand
School Library Standard, ThailandSchool Library Standard, Thailand
School Library Standard, Thailand
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกันบทที่ ๓ เพื่อนกัน
บทที่ ๓ เพื่อนกัน
 
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผลมโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
มโนทัศน์เบื้องต้นสู่การวัดผล
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 

More from Theeraphisith Candasaro

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563Theeraphisith Candasaro
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐Theeraphisith Candasaro
 
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATEแผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATETheeraphisith Candasaro
 
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อคู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อTheeraphisith Candasaro
 
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์Theeraphisith Candasaro
 
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคคำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคTheeraphisith Candasaro
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ Theeraphisith Candasaro
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีTheeraphisith Candasaro
 
แบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษา
แบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษาแบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษา
แบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษาTheeraphisith Candasaro
 
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบTheeraphisith Candasaro
 
บันทึกการให้คำปรึกษา
บันทึกการให้คำปรึกษาบันทึกการให้คำปรึกษา
บันทึกการให้คำปรึกษาTheeraphisith Candasaro
 

More from Theeraphisith Candasaro (20)

หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นโท ปี 2563
 
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
แบบฝึกหัดนักธรรมชั้นตรี ปี 2563
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
 
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
บทอาศิรวาท เฉลิมพระเกียรติ รัชกาลที่ ๑๐
 
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATEแผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
แผนปฏิบัติการการปฏิรูปกิจการพระพุทธศาสนา ระดับวัด UPDATE
 
e-Donatin
e-Donatine-Donatin
e-Donatin
 
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อคู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
คู่มือพระอุปัชฌายะฉบับย่อ
 
คำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศลคำแผ่บุญกุศล
คำแผ่บุญกุศล
 
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์แผนปฏิรูปสมบูรณ์
แผนปฏิรูปสมบูรณ์
 
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาคคำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
คำผิดที่พบบ่อยในวิชาบุรพภาค
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 
คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ คุณธรรมข้าราชการ
คุณธรรมข้าราชการ
 
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรีรวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
รวมหลักธรรมสำหรับท่องจำแบบย่อ ธศ ตรี
 
สารัตถะ ชีวิต
สารัตถะ ชีวิตสารัตถะ ชีวิต
สารัตถะ ชีวิต
 
แบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษา
แบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษาแบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษา
แบบบันทึกการปฏิบัติงานด้านการศึกษา
 
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบบันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้รายคาบ
 
บันทึกการให้คำปรึกษา
บันทึกการให้คำปรึกษาบันทึกการให้คำปรึกษา
บันทึกการให้คำปรึกษา
 
นิเทศตนเอง
นิเทศตนเองนิเทศตนเอง
นิเทศตนเอง
 

รายงานการประเมินผลการยกร่างหลักสูตรการฝึกอบรมภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร

  • 1. ๑ รายงานการประเมินผลการยกรางหลักสูตรการฝกอบรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) โครงการพัฒนาบุคลากร เพื่อเตรียมความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน องคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ตําบลสํานักทอน อําเภอบานฉาง จังหวัดระยอง --------------------------------------๑. ความเปนมาและความสําคัญ กฎบัตรอาเซียนขอ 34 บัญญัติวา “The working language of ASEAN shall be English” “ภาษาที่ ใช ในการทํ างานของอาเซี ยน คื อ ภาษาอัง กฤษ” ภาษาอั ง กฤษ: ในฐานะภาษาสํ าคั ญ ของโลก ในปจจุบันคือภาษานานาชาติ เปนภาษากลางของมนุษยชาติ เปนภาษาที่มนุษยบนโลกใชติดตอระหวางกัน เปนหลัก ไมวาแตล ะคนจะใชภาษาอะไรเปนภาษาประจําชาติ เมื่อต องติด ตอกับ คนอื่ นที่ตา งภาษาตา ง วัฒนธรรม ทุกคนจําเปนตองใชภาษาอังกฤษเปนหลัก ดวยเหตุนี้ทุกชาติทุกภาษาจึงบรรจุวิชาภาษาอังกฤษ เปนภาษาที่สอง เปนแกนหลักของหลักสูตรการศึกษาทุกระดับ ตั้งแตปฐมวัยไปจนถึงการศึกษาตลอดชีวิต เมื่ออาเซียนกําหนดใหภาษาอังกฤษเปน “working language” เราจึงตองเขาใจตามความหมายของถอยคํา ที่วาเปน “ภาษาทํางาน” ของทุกคนในอาเซียน ทุกคนที่ “ทํางานเกี่ยวกับอาเซียน”, “ทํางานในอาเซียน”, ทํางานรวมกับเพื่อนอาเซียน”, “มีเครือขายประชาสังคมอาเซียน”, “แสวงหาโอกาสทางการศึกษาในอาเซียน”, “มีเพื่อนในอาเซียน” และ “เดินทางทองเที่ยวในอาเซียน” นายทัศนัย ทองคต นายกองคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ไดเล็งเห็นถึงความสําคัญประการนี้ จึงมีนโยบายหลักในการพัฒนาบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ทั้ง ผูบริหาร สมาชิกสภา องคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ขาราชการ พนักงานราชการ และพนัก งานสัญญาจาง เพื่อเตรียม ความพรอมเขาสูประชาคมอาเซียน เพราะการติดตอสื่อสารถือเปนทักษะสําคัญที่ใชติดตอระหวางกัน ไมวา จะในระดับบุคคล หนวยงาน องคกร จนถึงระดับระหวางประเทศ เพื่อความเขาใจอันดี และรวมถึงความ รวมมือระหวางกันดวย ซึ่งจักยังประโยชนอันสูงสุดตอการพัฒนาหนวยงาน ใหทัดเทียมกับนานาประเทศใน กลุมประเทศอาเซียน ดัง นั้น เพื่ อใหองคก ารบริห ารสวนตําบลสํานัก ทอน มีห ลัก สูตรการฝก อบรม ภาษาอัง กฤษเพื่ อ การสื่อสาร (English for Communication) ที่เหมาะสม ผูประเมินจึงไดประเมินผลการยกรางหลักสูตร การฝกอบรมนี้ โดยผูทรงคุณวุฒิ และบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ซึ่งยึดหลักการวา “หลักสูตรการฝกอบรมนี้ตองมีความเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน บริบทของหนวยงาน และสอดคลองกับ นโยบายขององค ก ารบริห ารสวนตําบลสํานั ก ทอน ทั้ง ยั ง สามารถนําไปใชจัด การเรียนรูแกบุ คลากรของ
  • 2. ๒ องคการบริหารสวนตําบลสํานักทอนทุกสวนอยางไดผ ล และยังสามารถใหบุคลากรนําไปประยุก ต รวมถึง พัฒนาตนใหมีสมรรถนะในระดับที่สูงขึ้นตอไป ๒. วัตถุประสงค ๒.๑ เพื่อประเมินความเหมาะสมของหลักสูตรการฝกอบรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) ๒.๒ เพื่อ ปรั บ ปรุ ง แกไ ข หลัก สู ต รการฝ ก อบรม ภาษาอั ง กฤษเพื่อ การสื่อ สาร (English for Communication) ใหมีความเหมาะสมกับบริบทของผูเรียน บริบทของหนวยงาน และสอดคลองกับนโยบาย ขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ๓. ประเด็นการประเมิน ตัวชี้วัด และเกณฑของตัวชี้วัด สิ่งที่ถูกประเมิน ประเด็นที่ประเมิน หลักสูตร ๑. ความเหมาะสมของ การฝกอบรม จุดมุงหมายของหลักสูตร ๒. ความเหมาะสมของของผล การเรียนรูที่คาดหวังใน  หลักสูตร ๓. ความเหมาะสมของตัวชี้วัด ในหลักสูตร ๔. ความเหมาะสมของ ระยะเวลากับหลักสูตร เนื้อหาสาระ ๑. ความเหมาะสมของเนื้อหา กับหลักสูตร ตัวชี้วัด ๑. รอยละความคิดเห็น ของผูทรงคุณวุฒิ ๒. รอยละความคิดเห็น ของบุคลากรในองคการ บริหารสวนตําบลสํานัก ทอน เกณฑการตัดสิน ๑. รอยละ ๘๐ ของจํานวน ผูทรงคุณวุฒิเห็นดวยวา เหมาะสม ๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวน บุคลากรในองคการบริหาร สวนตําบลสํานักทอนเห็น ดวยวาเหมาะสม ๑. รอยละความคิดเห็น ของผูทรงคุณวุฒิ ๒. รอยละความคิดเห็น ของบุคลากรในองคการ บริหารสวนตําบลสํานัก ทอน ๑. รอยละ ๘๐ ของจํานวน ผูทรงคุณวุฒิเห็นดวยวา เหมาะสม ๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวน บุคลากรในองคการบริหาร สวนตําบลสํานักทอนเห็น ดวยวาเหมาะสม
  • 3. ๓ สิ่งที่ถูกประเมิน ประเด็นที่ประเมิน การประเมินผล ๑. ความเหมาะสมของวิธี การประเมินผลกับหลักสูตร ตัวชี้วัด ๑. รอยละความคิดเห็น ของผูทรงคุณวุฒิ ๒. รอยละความคิดเห็น ของบุคลากรในองคการ บริหารสวนตําบลสํานัก ทอน เกณฑการตัดสิน ๑. รอยละ ๘๐ ของจํานวน ผูทรงคุณวุฒิเห็นดวยวา เหมาะสม ๒. รอยละ ๘๐ ของจํานวน บุคลากรในองคการบริหาร สวนตําบลสํานักทอนเห็น ดวยวาเหมาะสม ๔. วิธีดําเนินการ ๔.๑ กลุมเปาหมาย กลุมเปาหมายที่ใชในการประเมินครั้งนี้ ไดแก ๔.๑.๑ ผูทรงคุณวุฒิ จํานวน ๑๕ คน แบงเปน ๔.๑.๑.๑ ผูบริหารสถานศึกษา จํานวน ๔ คน ดังนี้ ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง สังกัด ๑ นางวันเพ็ญ เจริญแพทย ผูอํานวยการโรงเรียน สพป.รย.เขต ๑ ๒ นายสมบัติ สะเกศ ผูอํานวยการโรงเรียน สพป.รย.เขต ๑ ๓ นายปรีดา ธีระราษฎร ผูอํานวยการโรงเรียน สพป.รย.เขต ๑ ๔ นายชํานาญ ทวมพงษ รองผูอํานวยการโรงเรียน สพป.รย.เขต ๑ วุฒิการศึกษา กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) ค.ม. (การบริหารการศึกษา) กศ.ม. (การบริหารการศึกษา) ๔.๑.๑.๒ ผูชํานาญงานวิชาการ จํานวน ๕ รูป/คน ดังนี้ ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง สถานที่ เลข.จอ. โรงเรียนวัด ๑ พระปลัดวัชรินทร วชิรเมธี พญาเม็งราย สันหนองบัววิทยา ครูพระปริยัติธรรม โรงเรียนบาน ๒ นางสุพัตรา กุศลวงษ ครู คศ. ๓ เขาหวยมะหาด สังกัด วุฒิการศึกษา สนง.พศ. พธ.บ. (รัฐศาสตร) สพป.รย. เขต ๑ ค.บ. (สังคมศึกษา)
  • 4. ๔ ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง สถานที่ สังกัด ๓ นางวรรณา เวชศาสตร ครู คศ. ๓ โรงเรียน วัดบานฉาง สพป.รย. เขต ๑ ๔ นางเชนิยา อนันต ครู คศ. ๓ โรงเรียน วัดชากหมาก สพป.รย. เขต ๑ ครู แผนกสามัญ วิทยาลัย เทคโนโลยี พัฒนเวช สพป.รย. เขต ๑ ๕ นางสุวิมล จันทรแดง วุฒิการศึกษา กศ.ม. (การบริหาร การศึกษา) กศ.บ. (วิทยาศาสตร ทั่วไป) กศ.ม. (การบริหาร การศึกษา) ๔.๑.๑.๓ ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษ จํานวน ๖ คน ดังนี้ ที่ ชื่อ – นามสกุล ตําแหนง สถานที่ สังกัด ๑ นางทิพยพรรณ สําราญจิตร ครู คศ. ๓ โรงเรียนชุมชน วัดสุวรรณงสรรค สพป.รย. เขต ๑ ๒ นางเกตุแกว แปนจันทร ครู คศ. ๒ โรงเรียน วัดบานฉาง ๓ นางสาวอุษา พิมพาพันธ ครู คศ. ๑ โรงเรียนวัดพลา ๔ นางนภัทร มะอาจเลิศ ครู คศ. ๑ โรงเรียนวัดพลา ๕ นางศิริพรรณา สิทธิชัย ครูผูชวย สพป.รย. เขต ๑ สพป.รย. เขต ๑ สพป.รย. เขต ๑ สพป.รย. เขต ๑ วุฒิการศึกษา กศ.ม. (การสอน ภาษาอังกฤษ เปนภาษาที่ ๒) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ศศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ๖ นางสาวแสงแข มาลา ครู แผนกสามัญ สพป.รย. เขต ๑ กศ.บ. (ภาษาอังกฤษ) โรงเรียนชุมชนวัด สุวรรณรังสรรค วิทยาลัย เทคโนโลยี พัฒนเวช ๔.๑.๒ บุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน จํานวน ๒๔ คน
  • 5. ๕ ๔.๒ เครื่องมือในการประเมิน เครื่องมือที่ใชในการประเมินครั้งนี้ คือ แบบสอบถามการยกรางหลัก สูตรการฝก อบรม มี องคประกอบสําคัญ ๓ สวน ดังนี้ สวนที่ ๑ ขอมูลสถานภาพผูตอบแบบสอบถาม สวนที่ ๒ ขอมูลการยกรางหลักสูตร สวนที่ ๓ ขอเสนอแนะ ๔.๓ การเก็บรวบรวมขอมูล การประเมินครั้งนี้ ผูประเมินไดดําเนินการรวบรวมขอมูลจากแบบสอบถามจากผูทรงคุณวุฒิ และบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ดังนี้ ๔.๓.๑ ติ ดตอ ประสานงาน ผูท รงคุณวุ ฒิ และบุค ลากรขององคก ารบริ ห ารสว นตํ าบล สํานักทอน เพื่อจัดสงแบบสอบถาม ๔.๓.๒ นําแบบสอบถามจัดสงไปยังผูทรงคุณวุฒิตามวัน เวลา ที่นัดหมาย ๔.๓.๓ จํานวนแบบสอบถามที่จัดสงทั้งหมดของผูทรงคุณวุฒิ จํานวน ๑๗ ฉบับ ไดรับคืน ๑๕ ฉบับ คิดเปน รอยละ ๘๘.๒๔ และแบบสอบถามที่จัดสงใหบุคลากรองคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ทั้งหมด จํานวน ๒๔ ฉบับ ไดรับคืน ๒๔ ฉบับ คิดเปน รอยละ ๑๐๐ ๔.๔ การวิเคราะหขอมูล การวิเ คราะหขอมูล จากแบบสอบถาม กําหนดทําการวิเ คราะหเ ฉพาะสวนที่ ๒ และ ๓ เทานั้น เนื่องดวยสวนที่ ๑ ขอมูลสถานภาพผูตอบแบบสอบถาม เปนขอมูลสวนตัว มีรายละเอียด ดังนี้ สวนที่ ๒ ขอมูลการยกรางหลักสูตร วิเคราะหผลดวยคารอยละ สวนที่ ๓ ขอเสนอแนะ วิเ คราะหเนื้อหา โดยจัดลําดับแบงเปนหมวดหมู และ เสนอเปนลักษณะความเรียง ๔.๕ สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล สถิติที่ใชในการวิเ คราะหขอมูล ผูประเมินใชสถิติพื้นฐาน ไดแก คารอยละ เพื่อหาสัดสวน ตัวชี้วัดตาง ๆ ซึ่งมีสูตรดังนี้ รอยละ = ตัวเลขที่ตองการเปรียบเทียบ X ๑๐๐ จํานวนเต็ม
  • 6. 6 ๕. ผลการวิเคราะหขอมูล ผลการประเมิน จากการวิ เ คราะห ขอ มู ล จากแบบสอบถามการประเมิ น การยกร างหลั ก สูต รการฝ ก อบรม ภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การสื่ อ สาร (English for Communication) ทั้ง ๒ สวน ดังนี้ สวนที่ ๒ ขอมูลยกรางหลักสูตร ผลการวิเ คราะหขอ มูล ยกรางหลัก สูตร จําแนกตามเวลาที่ใชในการเรียนรู จุดมุง หมาย ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัด สาระการเรียน และการประเมินผล รายละเอียด ดังนี้ ขอมูลหลักสูตร หลักสูตรการอบรม : ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) เวลาที่ใชในการเรียนรู ๖๐ ชั่วโมง จุดมุงหมายของหลักสูตรการอบรม ๑. เพื่อสงเสริมและพัฒนาทักษะการใชภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และการปฏิบัติงานในหนวยงานของตน ๒. เพื่อสรางโอกาส ความมั่นใจ และเจตคติที่ดีตอการเรียนรู ภาษาอังกฤษ ๓. เพื่อเพิมพูนประสบการณการจัดกิจกรรมการเรียนรูภาษาอังกฤษ ่ ในระดับพื้นฐาน ๔. เพื่อสนองนโยบายมุงสูความเปนสากล และเตรียมความพรอมเขาสู ประชาคมอาเซียน ครูผสอนวิชา ู บุคลากรของ ภาษาอังกฤษ อบต. เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย ๔ ๕ ๖ ๒๔ (๑๐๐) (๑๐๐) (๑๐๐) (๑๐๐) ผูบริหารสถานศึกษา ผูชํานาญงานวิชาการ ๔ (๑๐๐) ๕ (๑๐๐) - - ๖ (๑๐๐) - ๒๔ (๑๐๐) -
  • 7. 7 ขอมูลหลักสูตร ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ๑. เพื่อพัฒนาทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียน ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ๒. เพื่อใชกลยุทธในการเรียนเปนการพัฒนาทักษะทางภาษาของ บุคลากรในหนวยงาน ๓. เพื่อเห็นประโยชนของภาษาอังกฤษในการแสวงหาความรูและเขาสู  สังคม ตัวชี้วัด ๑. สามารถสนทนาโตตอบในสถานการณตาง ๆ โดยเลือกใชภาษา การสือสารที่เหมาะสมกับบุคคลและกาลเทศะ ่ ๒. สามารถใชทักษะทางภาษาเพื่อการติดตอ สอบถามขอมูล ให คําแนะนํา ใหขอมูล บรรยาย เปรียบเทียบ บรรยายเหตุการณ บุคคล สิ่งของ และสัญลักษณ ในสถานการณตาง ๆ ๓. สามารถถาม - ตอบ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู หรือคนหาขอมูลโดยใช คําถามประเภทตาง ๆ ๔. สามารถใชทักษะการสื่อสารที่เหมาะสมกับบริบทเพื่อความเขาใจ ครูผสอนวิชา ู บุคลากรของ ภาษาอังกฤษ อบต. เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย ผูบริหารสถานศึกษา ผูชํานาญงานวิชาการ ๔ (๑๐๐) - ๕ (๑๐๐) - ๖ (๑๐๐) - ๒๔ (๑๐๐) - ๔ (๑๐๐) - ๕ (๑๐๐) - ๖ (๑๐๐) - ๒๔ (๑๐๐) -
  • 8. 8 ขอมูลหลักสูตร สาระการอบรม หนวยการเรียนรูที่ 1 Greeting and Introducing Oneself หนวยการเรียนรูที่ 2 Leave Taking หนวยการเรียนรูที่ 3 Giving and Asking personal information หนวยการเรียนรูที่ 4 Thanking หนวยการเรียนรูที่ 5 Apologizing หนวยการเรียนรูที่ 6 Situations - Time - Telephone - Shopping - Direction - Food and Drinks หนวยการเรียนรูที่ 7 Making an advice, a suggestion and an invitation หนวยการเรียนรูที่ 8 Routine หนวยการเรียนรูที่ 9 In the office หนวยการเรียนรูที่ 10 Our Place - General Information - Food - Popular Attractions - Festivals and Events ครูผสอนวิชา ู บุคลากรของ ภาษาอังกฤษ อบต. เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย ผูบริหารสถานศึกษา ผูชํานาญงานวิชาการ ๔ (๑๐๐) ๕ (๑๐๐) - - ๖ (๑๐๐) - ๒๔ (๑๐๐) -
  • 9. 9 ขอมูลหลักสูตร ครูผสอนวิชา ู บุคลากรของ ภาษาอังกฤษ อบต. เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย เห็นดวย ไมเห็นดวย ผูบริหารสถานศึกษา การประเมินผล การวัดผลประเมินผล แบงออกเปน ๓ ลักษณะ ดังนี้ ๑. การสังเกตการรวมกิจกรรมการฝกอบรม ๔ ๒. ประเมินโดยแบบทดสอบการสื่อสารแบบ Two – ways (๑๐๐) communications ๓. ประเมินโดยแบบทดสอบการสื่อสาร โดยใชแบบทดสอบ รอยละ ๑๐๐.๐๐ ผูชํานาญงานวิชาการ - ๕ (๑๐๐) - ๖ (๑๐๐) - ๒๔ (๑๐๐) - - ๑๐๐.๐๐ - ๑๐๐.๐๐ - ๑๐๐.๐๐ -
  • 10. ๑๐ สวนที่ ๓ ขอเสนอแนะ ผลการวิเคราะหขอมูลจากแบบสอบถาม ชนิดปลายเปดจากผูตอบแบบสอบถามทั้งผูบริหารสถานศึกษา ผูชํานาญงานวิชาการ ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษ และบุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน เกี่ยวกับ ขอเสนอแนะในการจัดทําหลักสูตรการฝกอบรม ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร (English for Communication) มี ดังนี้ ๑. ผูทรงคุณวุฒิ ๑.๑ หลักสูตรนี้ ควรขยายผลลงสูชุมชน โดยเฉพาะโรงเรียนในเขตอําเภอบานฉาง ๑.๒ เปนหลักสูตรที่ดี และควรทําการทดสอบในภาคปฏิบัติใหมาก ๑.๓ เนื้อหาสาระในหลักสูตรควรใสรายละเอียดใหเห็นภาพชัดเจนกวานี้ ๒. ผูชํานาญงานวิชาการ ๒.๑ ควรใหทุกภาคสวนทั้งหนวยงานราชการ หนวยงานเอกชน ภาคศาสนา เขามามีสวนรวมใน การจัดทําหลักสูตร รวมถึงเขาศึกษาดวย และควรจัดทํารูปเลมแจกจายเปนเอกสารวิชาการ ๒.๒ ในเนื้อหาควรเพิ่มคําศัพทพื้นฐานที่ใชในชีวิตประจําวันดวย ๒.๓ ทักษะการสื่อสาร ควรเพิ่มทักษะการดู เพื่ออานสัญลักษณ ภาพประกาศ แลวสื่อสารได ๒.๔ ควรศึกษาความสัมพันธระหวางเวลาในการจัดการเรียนรูกับเนื้อหาสาระ ๓. ครูผูสอนวิชาภาษาอังกฤษ ๓.๑ ควรขยายผลสูชุม ชน หรือหน วยงานอื่น ใหเ ป นแบบอยาง เนื่อ งจากยัง มีก ารสง เสริ ม การสื่อสารภาษาอังกฤษนอยมาก และควรใหชุมชนมีสวนรวมในการกําหนดหลักสูตร ซึ่งจักตรงกับความตองการที่ แทจริง ๔. บุคลากรขององคการบริหารสวนตําบลสํานักทอน ๔.๑ ควรมีสาระเกี่ยวกับคําศัพทของหนวยงานราชการ ศัพทที่ใชในหนวยงานราชการ เปนตน ดวย