SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
1. การจัดการโปรเซส (Process Management)
2. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management)
3. การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management)
4. การจัดการระบบอินพุต/เอ้าต์พุต (I/O System Management)
5. การจัดการไฟล์ (File Management)
6. ระบบเครือข่าย (Networking)
7.ระบบป้ องกัน (Protection System)
8.ระบบตัวแปลคาสั่ง (Command-Interpreter System)
การจัดการหน่วยความจา (Memory Management)
หน่วยความจาหลักถือว่าเป็นหน่วยความจาที่สาคัญในระบบคอมพิวเตอร์เพราะว่าข้อมูลต่างๆ ที่
ต่างๆ ที่จะนาไปประมวลผลที่ CPU หรือข้อมูลที่รับมาจากอุปกรณ์รับข้อมูล หรือข้อมูลที่จะส่งไปยัง
อุปกรณ์แสดงผลจะต้องนามาเก็บไว้ที่หน่วยความจาก่อน เพราะการอ่านข้อมูลสามารถทาไต้อย่าง รวดเร็ว
รวดเร็วโดยผ่านทาง DMA (Direct Memory Access)
ลักษณะของหน่วยความจามีโครงสร้างคล้ายอาร์เรย์ที่มีขนาดเป็นจานวนคา (Words) หรือ
หรือจานวนไบต์ (Bytes) ขนาดใหญ่ แต่ละคาจะมีหมายเลขตาแหน่งอ้างอิง (Address) ที่แน่นอน เมื่อมี
เมื่อมี การนาข้อมูลมาเก็บในหน่วยความจา ระบบปฏิบัติการจะทาการกาหนดตาแหน่งที่เก็บข้อมูล แล้วจึง
แล้วจึงโหลดข้อมูลเข้าไปในหน่วยความจาเมื่อทาการประมวลผลเสร็จสิ้นแล้วข้อมูลส่วนนั้นจะถูกลบ
ออกไป ซึ่งระบบปฏิบัติการมีหน้าที่จัดการหน่วยความจา ดังนี้
- ติดตามการใช้งานหน่วยความจาส่วนต่างๆ ว่าถูกใช้อยู่หรือไม่ และถูกใช้โดยโปรเซสใด
- ตัดสินใจว่าน่า (Load) โปรเซสใดเข้าไปยังหน่วยความจาส่วนที่ว่าง
- จัดการมอบหมาย (Allocate) และเรียกคืน (Deallocate) หน่วยความจาจากโปรเซส
ต่าง ๆตามความจาเป็น
การจัดการโปรเซส (Process management)
การจัดการโปรเซส หมายถึง การจัดการงานที่เราจะทาการประมวลผล ไม่ว่าจะ
เป็นการประมวลผลแบบการแบ่งเวลา แบบมัลติโปรแกรมมิ่ง หรืออื่นๆ โดยแต่ละโปรเซสจะมีการ
กาหนดการใช้ทรัพยากรที่แน่นอน เช่น เวลาในการใช้ CPU การใช้หน่วยความจา การรับข้อมูล
การแสดงผลลัพธ์ และอุปกรณ์อื่นๆ เป็นต้น โดยปกติแล้ว CPU จะทาการประมวลทีละโปรเซส
และทีละ 1 คาสั่ง จนจบโปรแกรม แต่บางครั้งอาจมี 2 โปรเซสที่สัมพันธ์กันซึ่งทาให้แยกเป็นการ
ประมวลผล 2 ครั้ง ดังนั้นจึงอาจมีการประมวลผลพร้อมๆกันหลายๆ โปรเซส ระบบปฏิบัติการ
จะมีหน้าที่ในการจัดการโปรเซส ดังนี้
- การสร้างโปรเซส (Create) และลบโปรเซส (Delete) ของระบบและของผู้ใช้
- การหยุดการทางานชั่วคราวของโปรเซส (Suspend) และทาโปรเซสต่อไป (Resumption)
- การจัดเตรียมกลไกสาหรับการซินโครไนซ์โปรเซส (Process Synchronization)
-การจัดเตรียมกลไกสาหรับการติดต่อสื่อสารโปรเซส (Interprocess Communication)
-การจัดเตรียมกลไกการแก้ไข ( Deadlock)
การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management)
เนื่องจากหน่วยความจาหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก และข้อมูลทั้งหมดจะ
จะหายไป เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ า ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการจัดเก็บข้อมูลลงไปในสื่อจัดเก็บข้อมูลเซ่น
ข้อมูลเซ่นแผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ CD Rom เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้สื่อจัดเก็บข้อมูลมาช่วย
ช่วยในการสร้างหน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) โดยการจองเนื้อที่ส่วนหนึ่งของสื่อ
จัดเก็บข้อมูลไว้เพื่อเก็บข้อมูล ที่ใช้ในการประมวลผล และเมื่อปิดเครื่องก็จะทาการคืนพื้นที่ส่วนนั้น
ส่วนนั้น ทาให้เรามีหน่วยความจาในใช้งานเพิ่มขึ้น ซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับสื่อจัดเก็บ
จัดเก็บข้อมูล มีดังนี้
- จัดการพื้นที่ส่วนที่ว่าง (Free Space Management)
- จัดการจัดตาแหน่งข้อมูลที่กระจัดกระจายให้อยู่รวมกลุ่มกัน เพื่อความรวดเร็วในการ
การเรียกใช้ข้อมูล (Storage Allocation)
- การจัดแบ่งเวลาในการใช้ดิสก์ (Disk Scheduling)
การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management)
ระบบปฏิบัติมีหน้าที่ในการควบคุมการรับข้อมูล และแสดงข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ต่างๆ
ต่างๆ เซ่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น โดยข้อมูลที่ส่งไปยังอุปกรณ์เหล่านี้จะผ่าน
ผ่านสายส่ง ข้อมูล ซึ่งมีหลายชนิดตามลักษณะของงานและอุปกรณ์ เซ่น พอร์ต (Port)
บัส (Bus) และดีไวซ์ไดร์เวอร์ (Device Driver) โดยปกติแล้วคอมพิวเตอร์จะรู้จักอุปกรณ์ทั่วๆ ไป แต่
แต่ในกรณีที่มีอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้ามา และคอมพิวเตอร์ไม่รู้จักอุปกรณ์นั้น จาเป็นต้องมีดีไวซ์ไดร์เวอร์
การจัดการไฟล์ข้อมูล (File Management)
เป็นการทางานของระบบปฏิบัติการโดยทาหน้าที่ในการโอนถ่ายข้อมูลลงไปจัดเก็บใน
ในอุปกรณ์ บันทึกข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ เทปแม่เหล็ก เป็นต้น โดยมีอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่
หน้าที่เขียนข้อมูล เช่น Disk Drive หรือ CD-Writer เป็นต้น ซึ่งข้อมูลที่บันทึกลงไปจะเก็บไว้เป็น
กลุ่มข้อมูลที่เรียกว่า แฟ้ มข้อมูล (File) โดยที่ข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลจะมีการจัดเก็บแตกต่างกันไปตาม
ตามลักษณะของข้อมูล เช่น เป็นตัวอักษร ตัวเลข เป็นบิต ไบต์ หรือเรคอร์ด ซึ่งหน้าที่ของ
ระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการ แฟ้ มข้อมูล มีดังนี้
- การสร้าง (Creation) และการลบ (Deletion) แฟ้ มข้อมูล
- การสร้างและการลบไดเร็กทอรี่ (Directory)
- สนับสนุนการจัดการไฟล์ในรูปแบบเดิม ๆ ที่ผ่านมา
- สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลและอุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลชนิด
ชนิดต่างๆ
- การจัดเก็บแฟ้ มข้อมูลไว้ในอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบถาวร
ระบบเครือข่าย (Networking)
ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้าด้วยกับระบบปฏิบัติการจะ
จะเป็นผู้จัดการในการติดต่อสื่อสารโดยผ่านสายสัญญาณซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
เกี่ยวกับระบบเครือข่าย
- เพิ่มความเร็วในการประมวลผล
- จัดการเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ เพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ
- เพิ่มความน่าเชื่อถือของระบบ
รูปภาพแสดงระบบเครือข่าย (Networking)
ระบบป้ องกัน (Protection System)
ในระบบการทางานที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานหลายคนสามารถเข้าถึงข้อมูล และมี
โปรเซสหลาย ๆ โปรเซสทางานพร้อมกัน จาเป็นต้องมีระบบป้ องกันที่ดีเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ที่
ที่ไม่ได้รับอนุญาตแอบเข้า มาใช้ข้อมูล เช่น ระบบธนาคารที่ต้องมีการออนไลน์ทั่วประเทศ
จาเป็นต้องมีการป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาแก้ไขข้อมูล รวมถึงการควบคุมการใช้ทรัพยากร
ทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อป้ องกัน ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นด้วย เนื่ องจากระบบที่มี
ระบบที่มีการป้ องกันที่ดีจะเป็นระบบที่มีความน่าเชื่อถือสูง ซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ
เกี่ยวกับระบบป้ องกัน มีดังนี้
- สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างการใช้งานที่ได้รับอนุญาตและการใช้งานที่
งานที่ไม่ได้รับ อนุญาต
- สามารถกาหนดวิธีการควบคุมการใช้งานได้
ระบบตัวแปลคำสั่ง (Command-Interpreter System)
ตัวแปลคำสั่งทำหน้ำที่ช่วยในกำรติดต่อระหว่ำงผู้ใช้กับระบบปฏิบัติกำรเพื่อ
ทำกำรประมวลผล โปรแกรมของโปรเซสต่ำงๆ ซึ่งระบบปฏิบัติกำรจะมีตัวแปลคำสั่ง
อยู่ตัวอย่ำงเช่น เมนู หรือกำรใช้เม้ำส์ในวินโดวส์

More Related Content

What's hot

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)Araya Chiablaem
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3Araya Chiablaem
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Otorito
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์Suphattra
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Orapan Chamnan
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์narongchai
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์Otorito
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)Supaksorn Tatongjai
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจKanatip Anuchit
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]chawisa44361
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์narongchai
 

What's hot (16)

อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์(แก้ไข)
 
งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3งานนำเสนอ3
งานนำเสนอ3
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์ระบบคอมพิวเตอร์
ระบบคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์พื้นฐานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
หน่วยประมวลผลกลาง Present 4-12 (Group2)
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]องค์ประกอ..[1]
องค์ประกอ..[1]
 
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 

Viewers also liked

New year in denmark
New year in denmarkNew year in denmark
New year in denmark265360
 
16. predavanje stefanovic
16. predavanje stefanovic16. predavanje stefanovic
16. predavanje stefanovicseki hajrovic
 
Instagram Best Practices
Instagram Best PracticesInstagram Best Practices
Instagram Best PracticesMadeline Hait
 
Ξενάγηση
ΞενάγησηΞενάγηση
Ξενάγησηpanayota1
 
Lesson 4 sleep deprivation 2015
Lesson 4 sleep deprivation 2015Lesson 4 sleep deprivation 2015
Lesson 4 sleep deprivation 2015coburgpsych
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
Catch你的眼20種簡報提案力 20150110
Catch你的眼20種簡報提案力 20150110Catch你的眼20種簡報提案力 20150110
Catch你的眼20種簡報提案力 20150110張大明 Ta-Ming Chang
 
Drum bleck
Drum bleckDrum bleck
Drum bleckCavi Afi
 
Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15
Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15
Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15Jennifer McMahon
 
img-927142246-0001
img-927142246-0001img-927142246-0001
img-927142246-0001kiruba karan
 
Poll Everywhere
Poll EverywherePoll Everywhere
Poll EverywhereATPaceU
 
Virtue mart utvikling spesialist
Virtue mart utvikling spesialistVirtue mart utvikling spesialist
Virtue mart utvikling spesialistKaspar Lavik
 
Terence dillard A successful assistant principal
Terence dillard A successful assistant principalTerence dillard A successful assistant principal
Terence dillard A successful assistant principalterencedillard
 

Viewers also liked (18)

New year in denmark
New year in denmarkNew year in denmark
New year in denmark
 
16. predavanje stefanovic
16. predavanje stefanovic16. predavanje stefanovic
16. predavanje stefanovic
 
Instagram Best Practices
Instagram Best PracticesInstagram Best Practices
Instagram Best Practices
 
Ekonomi
EkonomiEkonomi
Ekonomi
 
Ξενάγηση
ΞενάγησηΞενάγηση
Ξενάγηση
 
Respirasi
RespirasiRespirasi
Respirasi
 
_t_____te_ _a_ ______10_01_15
  _t_____te_ _a_ ______10_01_15  _t_____te_ _a_ ______10_01_15
_t_____te_ _a_ ______10_01_15
 
Lesson 4 sleep deprivation 2015
Lesson 4 sleep deprivation 2015Lesson 4 sleep deprivation 2015
Lesson 4 sleep deprivation 2015
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
Catch你的眼20種簡報提案力 20150110
Catch你的眼20種簡報提案力 20150110Catch你的眼20種簡報提案力 20150110
Catch你的眼20種簡報提案力 20150110
 
Drum bleck
Drum bleckDrum bleck
Drum bleck
 
Klasjet - Presentation
Klasjet - PresentationKlasjet - Presentation
Klasjet - Presentation
 
Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15
Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15
Neenah: Our Community by Mrs. Michlig's Class 2014-15
 
img-927142246-0001
img-927142246-0001img-927142246-0001
img-927142246-0001
 
Виступ
ВиступВиступ
Виступ
 
Poll Everywhere
Poll EverywherePoll Everywhere
Poll Everywhere
 
Virtue mart utvikling spesialist
Virtue mart utvikling spesialistVirtue mart utvikling spesialist
Virtue mart utvikling spesialist
 
Terence dillard A successful assistant principal
Terence dillard A successful assistant principalTerence dillard A successful assistant principal
Terence dillard A successful assistant principal
 

Similar to องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ

องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
หน่วยความจำ1
หน่วยความจำ1หน่วยความจำ1
หน่วยความจำ1Dear Naboon
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ Radompon.com
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศNana Hassana
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...เจษฎา วงค์ปัน
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nunzaza
 
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกChapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกPa'rig Prig
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02nantakit
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for BusinessChairat Jussapalo
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8Korakot Kaevwichian
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์วชรพล สาระศาลิน
 

Similar to องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ (20)

องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
หน่วยความจำ1
หน่วยความจำ1หน่วยความจำ1
หน่วยความจำ1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศองค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
องค์ประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
40981989 เธซเธ™เนˆเธงเธขเธ—เธตเนˆ-1เธซเธฅเธฑเธเธเธฒเธฃเธ—เธณเธ‡เธฒเธ™เธ‚เธญ...
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิกChapter 4  ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
Chapter 4 ระบบคอมพิวเตอร์กับงานกราฟิก
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02Random 110909062421-phpapp02
Random 110909062421-phpapp02
 
Chapter 3 Module 1 Type of Information technology
Chapter 3 Module 1  Type of Information technologyChapter 3 Module 1  Type of Information technology
Chapter 3 Module 1 Type of Information technology
 
Information Technology for Business
Information Technology for BusinessInformation Technology for Business
Information Technology for Business
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
ใบงานที่ 3 น.ส.กรกช แก้ววิเชียร ม.4.5 เลขที่ 8
 
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
Course.eau.ac.thcourse download0007132chapter1
 
40981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp0140981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp01
 
40981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp0140981989 1-101109033419-phpapp01
40981989 1-101109033419-phpapp01
 
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
40981989 หน่วยที่-1หลักการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์
 
ชุดที่ 3
ชุดที่ 3ชุดที่ 3
ชุดที่ 3
 
work4 18
work4 18work4 18
work4 18
 

More from Thanaporn Singsuk

การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตThanaporn Singsuk
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสThanaporn Singsuk
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสThanaporn Singsuk
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสThanaporn Singsuk
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 

More from Thanaporn Singsuk (8)

การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตการจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
 
9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซส
 
บทท 1 บทนำ 1
บทท   1 บทนำ 1บทท   1 บทนำ 1
บทท 1 บทนำ 1
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 

องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ

  • 1.
  • 2. องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ สามารถแบ่งได้ ดังนี้ 1. การจัดการโปรเซส (Process Management) 2. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management) 3. การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management) 4. การจัดการระบบอินพุต/เอ้าต์พุต (I/O System Management) 5. การจัดการไฟล์ (File Management) 6. ระบบเครือข่าย (Networking) 7.ระบบป้ องกัน (Protection System) 8.ระบบตัวแปลคาสั่ง (Command-Interpreter System)
  • 3. การจัดการหน่วยความจา (Memory Management) หน่วยความจาหลักถือว่าเป็นหน่วยความจาที่สาคัญในระบบคอมพิวเตอร์เพราะว่าข้อมูลต่างๆ ที่ ต่างๆ ที่จะนาไปประมวลผลที่ CPU หรือข้อมูลที่รับมาจากอุปกรณ์รับข้อมูล หรือข้อมูลที่จะส่งไปยัง อุปกรณ์แสดงผลจะต้องนามาเก็บไว้ที่หน่วยความจาก่อน เพราะการอ่านข้อมูลสามารถทาไต้อย่าง รวดเร็ว รวดเร็วโดยผ่านทาง DMA (Direct Memory Access) ลักษณะของหน่วยความจามีโครงสร้างคล้ายอาร์เรย์ที่มีขนาดเป็นจานวนคา (Words) หรือ หรือจานวนไบต์ (Bytes) ขนาดใหญ่ แต่ละคาจะมีหมายเลขตาแหน่งอ้างอิง (Address) ที่แน่นอน เมื่อมี เมื่อมี การนาข้อมูลมาเก็บในหน่วยความจา ระบบปฏิบัติการจะทาการกาหนดตาแหน่งที่เก็บข้อมูล แล้วจึง แล้วจึงโหลดข้อมูลเข้าไปในหน่วยความจาเมื่อทาการประมวลผลเสร็จสิ้นแล้วข้อมูลส่วนนั้นจะถูกลบ ออกไป ซึ่งระบบปฏิบัติการมีหน้าที่จัดการหน่วยความจา ดังนี้ - ติดตามการใช้งานหน่วยความจาส่วนต่างๆ ว่าถูกใช้อยู่หรือไม่ และถูกใช้โดยโปรเซสใด - ตัดสินใจว่าน่า (Load) โปรเซสใดเข้าไปยังหน่วยความจาส่วนที่ว่าง - จัดการมอบหมาย (Allocate) และเรียกคืน (Deallocate) หน่วยความจาจากโปรเซส ต่าง ๆตามความจาเป็น
  • 4. การจัดการโปรเซส (Process management) การจัดการโปรเซส หมายถึง การจัดการงานที่เราจะทาการประมวลผล ไม่ว่าจะ เป็นการประมวลผลแบบการแบ่งเวลา แบบมัลติโปรแกรมมิ่ง หรืออื่นๆ โดยแต่ละโปรเซสจะมีการ กาหนดการใช้ทรัพยากรที่แน่นอน เช่น เวลาในการใช้ CPU การใช้หน่วยความจา การรับข้อมูล การแสดงผลลัพธ์ และอุปกรณ์อื่นๆ เป็นต้น โดยปกติแล้ว CPU จะทาการประมวลทีละโปรเซส และทีละ 1 คาสั่ง จนจบโปรแกรม แต่บางครั้งอาจมี 2 โปรเซสที่สัมพันธ์กันซึ่งทาให้แยกเป็นการ ประมวลผล 2 ครั้ง ดังนั้นจึงอาจมีการประมวลผลพร้อมๆกันหลายๆ โปรเซส ระบบปฏิบัติการ จะมีหน้าที่ในการจัดการโปรเซส ดังนี้ - การสร้างโปรเซส (Create) และลบโปรเซส (Delete) ของระบบและของผู้ใช้ - การหยุดการทางานชั่วคราวของโปรเซส (Suspend) และทาโปรเซสต่อไป (Resumption) - การจัดเตรียมกลไกสาหรับการซินโครไนซ์โปรเซส (Process Synchronization) -การจัดเตรียมกลไกสาหรับการติดต่อสื่อสารโปรเซส (Interprocess Communication) -การจัดเตรียมกลไกการแก้ไข ( Deadlock)
  • 5. การจัดการสื่อจัดเก็บข้อมูล (Secondary Storage Management) เนื่องจากหน่วยความจาหลักในเครื่องคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็ก และข้อมูลทั้งหมดจะ จะหายไป เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้ า ดังนั้นจึงจาเป็นต้องมีการจัดเก็บข้อมูลลงไปในสื่อจัดเก็บข้อมูลเซ่น ข้อมูลเซ่นแผ่นดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ CD Rom เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถใช้สื่อจัดเก็บข้อมูลมาช่วย ช่วยในการสร้างหน่วยความจาเสมือน (Virtual Memory) โดยการจองเนื้อที่ส่วนหนึ่งของสื่อ จัดเก็บข้อมูลไว้เพื่อเก็บข้อมูล ที่ใช้ในการประมวลผล และเมื่อปิดเครื่องก็จะทาการคืนพื้นที่ส่วนนั้น ส่วนนั้น ทาให้เรามีหน่วยความจาในใช้งานเพิ่มขึ้น ซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับสื่อจัดเก็บ จัดเก็บข้อมูล มีดังนี้ - จัดการพื้นที่ส่วนที่ว่าง (Free Space Management) - จัดการจัดตาแหน่งข้อมูลที่กระจัดกระจายให้อยู่รวมกลุ่มกัน เพื่อความรวดเร็วในการ การเรียกใช้ข้อมูล (Storage Allocation) - การจัดแบ่งเวลาในการใช้ดิสก์ (Disk Scheduling)
  • 6. การจัดการระบบอินพุต/เอาต์พุต (I/O System Management) ระบบปฏิบัติมีหน้าที่ในการควบคุมการรับข้อมูล และแสดงข้อมูลผ่านทางอุปกรณ์ต่างๆ ต่างๆ เซ่น เมาส์ คีย์บอร์ด ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น โดยข้อมูลที่ส่งไปยังอุปกรณ์เหล่านี้จะผ่าน ผ่านสายส่ง ข้อมูล ซึ่งมีหลายชนิดตามลักษณะของงานและอุปกรณ์ เซ่น พอร์ต (Port) บัส (Bus) และดีไวซ์ไดร์เวอร์ (Device Driver) โดยปกติแล้วคอมพิวเตอร์จะรู้จักอุปกรณ์ทั่วๆ ไป แต่ แต่ในกรณีที่มีอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้ามา และคอมพิวเตอร์ไม่รู้จักอุปกรณ์นั้น จาเป็นต้องมีดีไวซ์ไดร์เวอร์
  • 7. การจัดการไฟล์ข้อมูล (File Management) เป็นการทางานของระบบปฏิบัติการโดยทาหน้าที่ในการโอนถ่ายข้อมูลลงไปจัดเก็บใน ในอุปกรณ์ บันทึกข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นดิสก์ เทปแม่เหล็ก เป็นต้น โดยมีอุปกรณ์ที่ทาหน้าที่ หน้าที่เขียนข้อมูล เช่น Disk Drive หรือ CD-Writer เป็นต้น ซึ่งข้อมูลที่บันทึกลงไปจะเก็บไว้เป็น กลุ่มข้อมูลที่เรียกว่า แฟ้ มข้อมูล (File) โดยที่ข้อมูลในแฟ้ มข้อมูลจะมีการจัดเก็บแตกต่างกันไปตาม ตามลักษณะของข้อมูล เช่น เป็นตัวอักษร ตัวเลข เป็นบิต ไบต์ หรือเรคอร์ด ซึ่งหน้าที่ของ ระบบปฏิบัติการเกี่ยวกับการจัดการ แฟ้ มข้อมูล มีดังนี้ - การสร้าง (Creation) และการลบ (Deletion) แฟ้ มข้อมูล - การสร้างและการลบไดเร็กทอรี่ (Directory) - สนับสนุนการจัดการไฟล์ในรูปแบบเดิม ๆ ที่ผ่านมา - สร้างความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลและอุปกรณ์ที่ใช้จัดเก็บข้อมูลชนิด ชนิดต่างๆ - การจัดเก็บแฟ้ มข้อมูลไว้ในอุปกรณ์บันทึกข้อมูลแบบถาวร
  • 8. ระบบเครือข่าย (Networking) ในการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์หลายๆ เครื่องเข้าด้วยกับระบบปฏิบัติการจะ จะเป็นผู้จัดการในการติดต่อสื่อสารโดยผ่านสายสัญญาณซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับระบบเครือข่าย - เพิ่มความเร็วในการประมวลผล - จัดการเกี่ยวกับข้อมูลต่างๆ เพื่อให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ - เพิ่มความน่าเชื่อถือของระบบ
  • 10. ระบบป้ องกัน (Protection System) ในระบบการทางานที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานหลายคนสามารถเข้าถึงข้อมูล และมี โปรเซสหลาย ๆ โปรเซสทางานพร้อมกัน จาเป็นต้องมีระบบป้ องกันที่ดีเพื่อป้ องกันไม่ให้ผู้ที่ ที่ไม่ได้รับอนุญาตแอบเข้า มาใช้ข้อมูล เช่น ระบบธนาคารที่ต้องมีการออนไลน์ทั่วประเทศ จาเป็นต้องมีการป้ องกันบุคคลภายนอกเข้ามาแก้ไขข้อมูล รวมถึงการควบคุมการใช้ทรัพยากร ทรัพยากรในระบบคอมพิวเตอร์เพื่อป้ องกัน ความผิดพลาดที่อาจเกิดขึ้นด้วย เนื่ องจากระบบที่มี ระบบที่มีการป้ องกันที่ดีจะเป็นระบบที่มีความน่าเชื่อถือสูง ซึ่งหน้าที่ของระบบปฏิบัติการ เกี่ยวกับระบบป้ องกัน มีดังนี้ - สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่างการใช้งานที่ได้รับอนุญาตและการใช้งานที่ งานที่ไม่ได้รับ อนุญาต - สามารถกาหนดวิธีการควบคุมการใช้งานได้
  • 11. ระบบตัวแปลคำสั่ง (Command-Interpreter System) ตัวแปลคำสั่งทำหน้ำที่ช่วยในกำรติดต่อระหว่ำงผู้ใช้กับระบบปฏิบัติกำรเพื่อ ทำกำรประมวลผล โปรแกรมของโปรเซสต่ำงๆ ซึ่งระบบปฏิบัติกำรจะมีตัวแปลคำสั่ง อยู่ตัวอย่ำงเช่น เมนู หรือกำรใช้เม้ำส์ในวินโดวส์