SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
ความหมายของอุปกรณ์อินพุต
อินพุต หมายถึง ข้อมูลต่างๆ หรือโปรแกรมคาสั่งที่ป้ อนเข้าสู่
เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อเตรียมการประมวลผลต่อไป
อุปกรณ์อินพุต หมายถึง อุปกรณ์ใด ๆ ที่สามารถอินพุตข้อมูล
โปรแกรม หรือคาสั่งต่างๆ ส่งไปยังคอมพิวเตอร์ได้ ซึ่งการพิจารณา
เลือกใช้อุปกรณ์อินพุตขึ้นอยู่กับลักษณะการใช้งานและความเหมาะสม
เป็นสาคัญ
ประเภทของอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
อุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุตสามารถแบ่งออก
ได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1. อุปกรณ์ชนิดข้อมูลเป็นสาย (Stream) อุปกรณ์ประเภทนี้ข้อมูล
ที่ส่งเข้าออกจะเรียงมาเป็น ลาดับก่อน-หลัง การแบ่งแยกข้อมูลทาได้โดย
ตรวจสอบลาดับของข้อมูลอุปกรณ์ประเภทนี้สามารถ จัดการได้ง่าย เพียงแต่
จัดลาดับการรับ-ส่งข้อมูลให้ถูกต้องก็เพียงพอแล้ว ตัวอย่างของอุปกรณ์ ชนิด
นี้ได้แก่คีย์บอร์ด ซึ่งข้อมูลที่ส่งเข้ามาในระบบจะเป็นไปตามลาดับการกดคีย์
ถ้าคีย์ใดถูกกดก่อนก็จะถูกส่งมาก่อน เครื่องพิมพ์ก็จัดอยู่ในอุปกรณ์ประเภท
นี้ข้อมูลที่ถูกส่งออกไปก่อนก็จะถูกพิมพ์ก่อน ข้อมูลที่ถูกส่งไปทีหลังจะถูก
พิมพ์ทีหลัง
2. อุปกรณ์ชนิดข้อมูลไม่เป็นสาย (Non-Stream) อุปกรณ์ประเภท
ใด ข้อมูลที่ส่งและรับ ไม่ขึ้นอยู่กับลาดับการส่ง จะต้องอาศัยข้อมูลเพิ่มเติม
เพื่อที่จะแยกแยะข้อมูลแต่ละตัวการจัดการอุปกรณ์ ประเภทนี้
ระบบปฏิบัติการจะต้องมีวิธีจัดการโดยเฉพาะ ขึ้นอยู่กับลักษณะของอุปกรณ์
ชนิดนั้นๆ ตัวอย่างของอุปกรณ์ชนิดนี้เช่น จอภาพของเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ ข้อมูลหรือตัวอักษรที่ส่งไป ให้จอภาพแสดงนั้น จะต้องไป
ในตาแหน่งที่ถูกต้อง ตัวอักษรที่แสดงอยู่บนจอภาพแต่ละตัวจะมีหมายเลข
ประจาตาแหน่งนั้น ๆ เมื่อทาการส่งตัวอักษรไปยังตาแหน่งใดตัวอักษรก็จะ
ปรากฏอยู่บน จอภาพ ณ ตาแหน่งนั้น
ดังนั้นจะเห็นได้ว่า การส่งตัวอักษรไปยังจอภาพ
ไม่จาเป็นต้องมีลาดับการส่งที่ถูกต้อง
แต่ต้องการหมายเลขที่ตรงกับตาแหน่งเท่านั้น
การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต
หน้าที่พื้นฐานของระบบปฏิบัติการในการดูแลอุปกรณ์อินพุตและ
อุปกรณ์เอาต์พุต ในระบบ คอมพิวเตอร์โดยทั่วไป มีดังนี้
1. ติดตามสถานะของทุก ๆ อุปกรณ์ในระบบ วิธีที่นิยมใช้คือ มี
UCB (Unit Control Block) สาหรับอุปกรณ์แต่ละชิ้น เพื่อเก็บข้อมูลที่สาคัญ
ต่าง ๆ ของอุปกรณ์นั้น ๆ UCB คล้าย PCB ของ โปรเซส คือ เป็นโครงสร้าง
ข้อมูลชนิดหนึ่ง
2. กาหนดว่า อุปกรณ์ชิ้นใดใครเป็นผู้ใช้ ใช้นานเท่าไร และเริ่มใช้
เมื่อไร มาตรการ ในการกาหนดสิ่งเหล่านี้เพื่อให้การใช้งานอุปกรณ์แต่ละชิ้น
เกิดประโยชน์สูงสุด มีเทคนิคในการจัดการอุปกรณ์ 3 ประเภท ดังนี้
- การยกให้ (Dedicated Device)
เป็นการกาหนดให้อุปกรณ์ถูกใช้ได้โดยโปรเซสเพียงโปรเซสเดียว
โปรเซสอื่น ๆ จะเข้ามา ใช้อุปกรณ์ตัวนี้ไม่ได้
- การแบ่งปัน (Shared Device)
เป็นการกาหนดให้อุปกรณ์ถูกใช้ได้โดยหลายโปรเซสร่วมกันไม่เป็น
ของ โปรเซสใดโปรเซสหนึ่ง
- การปลอม (Virtual Device)
เป็นการจาลองอุปกรณ์ชิ้นหนึ่งให้เป็นอุปกรณ์อีกชิ้นหนึ่ง เช่น
จาลอง ดิสก์เป็นเครื่องพิมพ์ ซึ่งมีในบางระบบปฏิบัติการเท่านั้น
3. จัดสรร (Allocate) อุปกรณ์ เพื่อมอบหมายอุปกรณ์ขึ้นนั้นให้
โปรเซส
4. เรียกคืน (De-Allocate) อุปกรณ์ เมื่อโปรเซสที่ครอบครอง
อุปกรณ์ท่างานเสร็จสิ้นลง ระบบปฏิบัติการจะน่าอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ถูก
ครอบครองโดยโปรเซสนี้คืนให้กับระบบ ซึ่งหมายความว่า อุปกรณ์เหล่านั้น
ไม่ได้ถูกครอบครองโดยโปรเซสที่เพิ่งทางาน เสร็จสิ้นอีกต่อไป
ตัวขับอุปกรณ์ (Device Drivers)
อุปกรณ์แต่ละชนิดย่อมมีลักษณะแตกต่างกันออกไป
ทั้งในแง่การติดต่อส่งข้อมูล และการควบคุมการทางาน
ของตัวอุปกรณ์เอง ระบบปฏิบัติการจะต้องควบคุมและติดต่อกับอุปกรณ์
ต่างๆ ทุกประเภท ถ้านาโปรแกรมส่วนควบคุมอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งหมดมารวม
ไว้ในตัวระบบปฏิบัติการจะทาให้ระบบปฏิบัติการมีขนาดใหญ่มาก
ระบบปฏิบัติการจาเป็นจะต้องรู้ลักษณะการทางานของ อุปกรณ์ทุกประเภท
เพื่อสามารถควบคุมการทางานของอุปกรณ์แต่ละประเภทได้ถูกต้อง ใน
ลักษณะนี้เราต้องการติดตั้งอุปกรณ์ชนิดใหม่เข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ไม่
สามารถทาได้
ทั้งนี้เพราะในตัวระบบปฏิบัติการไม่มีโปรแกรมที่จะจัดการกับ
อุปกรณ์ชนิดใหม่นี้จึงไม่สามารถติดต่อ และควบคุมอุปกรณ์ใหม่ได้ ถ้า
ต้องการจะติดตั้งอุปกรณ์ตัวใหม่เข้าไปต้องแก้ไข ปรับปรุง
ระบบปฏิบัติการใหม่ ซึ่งอาจเสียค่าใช้จ่ายสูง และการเปลี่ยน
ระบบปฏิบัติการทาได้ไม่สะดวกเพราะต้องหยุดการทางานของระบบ
ทั้งหมดเพื่อเปลี่ยนเอาระบบปฏิบัติการตัวใหม่ที่ได้รับการปรับปรุงแล้ว
เข้าไปทางานแทน
รูปแสดง OS ควบคุมการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้วย
เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาดังกล่าว ผู้ออกแบบระบบปฏิบัติการจึงมี
ความคิดที่จะแยกเอาส่วนควบคุมอุปกรณ์ทั้งหลายออกจากตัว
ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมที่แยกออกมาต่างหาก และมีหน้าที่ควบคุม
ติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ นี้เรียกว่า ตัวขับอุปกรณ์ (Device Driver)
อุปกรณ์แต่ละชนิดจะมีตัวขับอุปกรณ์ของตนเองและแตกต่างจากตัวขับ
อุปกรณ์ชนิดอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะการควบคุมการ ติดต่ออุปกรณ์แต่ละชนิดไม่
เหมือนกัน เช่น ตัวขับอุปกรณ์ของเครื่องพิมพ์ ตัวขับอุปกรณ์ของเครื่องอ่าน
บัตร เป็นต้น
ถึงแม้จะเป็นอุปกรณ์ชนิดเดียวกันแต่ถ้าถูกผลิตจากผู้ผลิต
ต่างกันก็จะมีการควบคุมการติดต่อที่ต่างกันก็ได้ เช่น เครื่องพิมพ์ ยี่ห้อ
EPSON มีการควบคุมต่างกับเครื่องพิมพ์ยี่ห้อ HP ในกรณีนี้เครื่องพิมพ์ทั้ง
สองจะต้องมีตัวขับอุปกรณ์ที่ต่างกัน
เมื่อระบบต้องการจะติดต่อกับอุปกรณ์ชนิดใด ระบบปฏิบัติการก็
จะติดต่อผ่านทางตัวขับ อุปกรณ์ชนิดนั้น แล้วตัวขับอุปกรณ์จะติดต่อกับ
ตัวอุปกรณ์จริง ๆ การติดต่อระหว่างระบบปฏิบัติ การกับอุปกรณ์ ไม่ว่าจะ
เป็นอุปกรณ์ชนิดใดก็ตามจะมีรูปแบบการติดต่อที่เหมือนกันทั้งหมด
รูปแสดงระบบปฏิบัติการควบคุมการทางานของอุปกรณ์ผ่านตัวขับ
อุปกรณ์
ในลักษณะเช่นนี้ระบบปฏิบัติการไม่จาเป็น
ต้องรู้ลักษณะการทางานของอุปกรณ์ต่าง ๆ เลย
ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของตัวขับอุปกรณ์ชนิดนั้น ๆ
ระบบปฏิบัติการรู้เพียงแต่การติดต่อและควบคุม อุปกรณ์ผ่านทางตัวขับ
อุปกรณ์เท่านั้น ซึ่งการทางานจะเหมือนกันหมด ดังนั้นการติดตั้งอุปกรณ์
ชนิดใหม่เข้าไปในระบบก็สามารถทาได้ง่าย เพียงแต่นาโปรแกรมตัวขับ
อุปกรณ์ของอุปกรณ์นั้น ๆ เพิ่มเข้าไปในระบบ การแก้ไขระบบก็ทาเพียงแต่
เขียนโปรแกรมตัวขับอุปกรณ์ขึ้นมาเท่านั้น ไม่จาเป็นต้องเข้าไปยุ่งเกี่ยวกับ
ระบบปฏิบัติการแต่อย่างใด เพราะระบบปฏิบัติการยังคงติดต่อกับ อุปกรณ์
ใหม่เหมือนกับอุปกรณ์อื่นเช่นกัน
ตัวควบคุมอุปกรณ์ (Device Controller)
อุปกรณ์แต่ละตัวจะมีองค์ประกอบ 2 ส่วน
คือกลไกของอุปกรณ์นั้น และวงจรอิเล็กทรอนิกส์
ที่ควบคุมกลไกการทางานของอุปกรณ์ ซึ่งทั้งสององค์ประกอบนี้มักจะแยก
ออกจากกันโดยส่วนที่เป็น วงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ควบคุมกลไกการทางาน
เรียกว่าตัวควบคุมอุปกรณ์ (Device Controller) หรือ อะแดปเตอร์
(Adapter)
ตัวควบคุมอุปกรณ์จะอยู่ในรูปของแผงวงจร ซึ่งจะติดตั้งในเครื่อง
คอมพิวเตอร์แล้วเชื่อมโยงเคเบิลไปยังตัวอุปกรณ์ ซึ่งตัวควบคุมอุปกรณ์ที่ใช้
ในการควบคุมอุปกรณ์หนึ่งจะใช้ควบคุมอุปกรณ์ได้เพียงอย่างเดียว ไม่
สามารถนาไปใช้ควบคุมอุปกรณ์ชนิดอื่นได้ เช่น ตัวควบคุมดิสก์จะไม่
สามารถนาไปใช้ในการควบคุมการทางานของจอภาพได้ เป็นต้น
ตัวควบคุมอุปกรณ์จะอยู่ในรูปของแผงวงจร ซึ่งจะติดตั้งในเครื่อง
คอมพิวเตอร์แล้วเชื่อมโยงเคเบิลไปยังตัวอุปกรณ์ ซึ่งตัวควบคุมอุปกรณ์ที่ใช้
ในการควบคุมอุปกรณ์หนึ่งจะใช้ควบคุมอุปกรณ์ได้เพียงอย่างเดียว ไม่
สามารถนาไปใช้ควบคุมอุปกรณ์ชนิดอื่นได้ เช่น ตัวควบคุมดิสก์จะไม่
สามารถนาไปใช้ในการควบคุมการทางานของจอภาพได้ เป็นต้น
โดยปกติแล้วตัวควบคุมอุปกรณ์แต่ละตัวจะมีการติดต่อกับซีพียู
โดยผ่านรีจิสเตอร์ โดยในการใช้งานอุปกรณ์ต่างๆนั้นระบบปฏิบัติการจะทา
โดยการเขียนคาสั่งลงในรีจิสเตอร์ของตัวควบคุมอุปกรณ์นั้น โดยอาจจะมี
การกาหนดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ไปพร้อมกับคาสั่งเพื่อควบคุมชนิดและ
รูปแบบของการใช้งานอุปกรณ์นั้นด้วย
ซึ่งเมื่อทาการเขียนคาสั่งเสร็จแล้วซีพียูก็จะปล่อยให้อุปกรณ์นั้น
ทางานด้วยตัวเอง โดยอาศัยข้อมูลต่าง ๆ ในการทางานจากคาสั่งและ
พารามิเตอร์ที่เขียนลงในรีจิสเตอร์ หรือตาแหน่งความจาของตัวอุปกรณ์
นั้นและซีพียูก็จะไปทางานอื่นๆ ต่อไป โดยไม่ต้องคอยการทางานของ
อุปกรณ์ และเมื่อการทางานของอุปกรณ์แล้วเสร็จ ตัวควบคุมอุปกรณ์จะ
ส่งสัญญาณกลับไปแจ้งให้ซีพียูทราบโดยผ่านระบบปฏิบัติการ เพื่อให้
ซีพียูทาการตรวจสอบผลลัพธ์ของการทางาน โดยซีพียูจะอ่านข้อมูลจาก
รีจิสเตอร์ของตัวควบคุมอุปกรณ์นั้น เพื่อ ดู
ผลลัพธ์ของการทางาน และสถานะของ
อุปกรณ์นั้นๆ เพื่อให้สามารถใช้งานในคราว
ต่อไปได้
แต่อย่างไรก็ตามในระบบคอมพิวเตอร์บางระบบตัวควบคุม
อุปกรณ์อาจจะมีการติดต่อกับ ซีพียูด้วยวิธีการอื่น โดยไม่ต้องผ่าน
รีจิสเตอร์ก็ได้ ซึ่งจะสามารถทาได้โดยการเตรียมเนื้อที่หน่วย ความจา
เฉพาะไว้เพื่อทาหน้าที่เป็นช่องทางในการติดต่อกับซีพียูโดยเฉพาะ โดย
ไม่ต้องอาศัยการทางานของรีจิสเตอร์เข้าช่วย โดยมีการกาหนด
ตาแหน่งของหน่วยความจาที่ใช้เพื่อการทางานของตัว ควบคุมอุปกรณ์
ต่างๆ ซึ่งเรียกว่าการจับคู่หน่วยความจากับอุปกรณ์ (Memory Map
I/O)
และในแต่ละตาแหน่งหน่วยความจาที่ใช้การทางานนั้นจะมี
หมายเลขประจาตัวหรือที่เรียกว่าหมายเลขการขัดจังหวะ (Interrupt
Vector) กาหนดอยู่เมื่อระบบต้องการใช้งานอุปกรณ์ใดก็จะทาการส่ง
สัญญาณ หมายเลขการขัดจังหวะซึ่งเป็นหมายเลขประจาตัวของอุปกรณ์นั้น
เพื่อแจ้งให้ซีพียูทราบว่าต้องการใช้งานอุปกรณ์ตัวนั้นๆ
การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์
เมื่อโปรเซสต้องการส่งข้อมูลให้อุปกรณ์ต่างๆ
ข้อมูลที่ส่งจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา
(เป็นหน่วยความจาที่ถูกครอบครองโดยโปรเซส) การส่งจะกระทาโดยหน่วย
ประมวลผลกลางเป็นผู้นาข้อมูลมาจากหน่วยความจาส่วนนี้และส่งไปให้
อุปกรณ์ต่างๆ ในทางกลับกันเมื่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ต้องการ ส่งข้อมูลให้โปรเซส
ข้อมูลจะถูกส่งผ่านหน่วยประมวลผลกลางไปไว้ในหน่วยความจาส่วนนี้
จากนั้นโปรเซสจึงนาข้อมูลไปใช้ได้
วิธีการรับส่งข้อมูลในลักษณะนี้สามารถแบ่งออกเป็น 3 วิธี คือ
- การพอลลิ่ง (Polling)
- การอินเทอร์รัพต์ (Interrupt)
- เมลบล็อก
รูปแสดงการรับ-ส่งข้อมูลระหว่างซีพียูกับอุปกรณ์
การพอลลิ่ง (Polling)
เป็นวิธีการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์
อินพุตเอาต์พุต ซึ่งเมื่อหน่วยประมวลผลกลางส่งสัญญาณออกไปถาม
สถานะการทางานของอุปกรณ์เครื่องใดเครื่องหนึ่งคาตอบที่ได้รับ คือ
- Command Ready หมายถึง สภาพที่อุปกรณ์พร้อมที่จะรับคาสั่ง
ทางาน
- Busy หมายถึง สภาพที่อุปกรณ์ไม่พร้อมที่จะรับคาสั่งใหม่
(อุปกรณ์นั้นกาลังทางานอยู่)
- Error หมายถึง สภาพที่อุปกรณ์เกิดความผิดปกติในการ
ทางาน ไม่สามารถรับคาสั่งใดๆได้อีก
เมื่อหน่วยประมวลผลกลางต้องรอการทางานของอุปกรณ์อินพุต
เอาต์พุต จะเกิดสภาวะการรอคอย เรียกว่า Busy Wait Cycleซึ่งเป็นช่วงเวลา
ที่หน่วยประมวลผลกลางไม่สามารถทางานอื่นได้ ต้องรอจนกว่าช่วงเวลานั้น
สิ้นสุดลง คือสามารถเรียกใช้อุปกรณ์นั้นได้
การอินเทอร์รัพต์(Interrupt)
เป็นวิธีการหยุดการทางานของหน่วยประมวลผลกลาง โดย
อุปกรณ์อินพุตเอาต์พุตเป็นผู้ส่งสัญญาณนี้มา และผู้ที่ทาหน้าที่หยุดการ
ทางานของหน่วยประมวลผลกลาง เรียกว่า Interrupt Handler หลักการ
ทางานของ Interrupt Handler คือมีโครงสร้างข้อมูลที่เรียกว่า
Interrupt Vector เป็นที่เก็บตาแหน่งของโปรแกรมอินเทอร์รัพต์ สาหรับ
สัญญาณอินเทอร์รัพต์ต่างๆ โดยที่สัญญาณอินเทอร์รัพต์ต่าง ๆ นี้จะมี
หมายเลขสัญญาณที่ไม่ซ้ากัน
การรับส่งข้อมูลโดยตรง (Direct MemoryAccess: DMA)
การรับส่งข้อมูลแบบ DMA จาเป็นต้องอาศัยแชนแนล หรือตัว
ควบคุม DMA (DMA Controller) แชนแนลทาหน้าที่แทนหน่วย
ประมวลผลกลาง เมื่อต้องการรับส่งข้อมูลแบบ DMA แชนแนลจะส่ง
สัญญาณไปบอกให้หน่วยประมวลผลกลางรับรู้ จากนั้นหน่วยประมวลผล
กลางจะสั่งให้แชนแนลทาการควบคุมการส่งข้อมูล และหน่วยประมวลผล
กลางสามารถไปทางานอื่นได้ และเมื่อการทา DMA เสร็จสิ้น แชนแนลจะ
ส่งสัญญาณบอกให้หน่วยประมวลผลกลางรับรู้อีกครั้งว่าการทา DMA
เสร็จสิ้นลงแล้ว
ในขณะที่หน่วยประมวลผลกลางทางานอื่นอยู่ และมีการทา DMA
เกิดขึ้นพร้อมกันด้วย แต่การทางานของ DMA ไม่ได้เกิดขึ้นตลอดเวลา เพราะ
ในช่วงการรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยความจา กับแชนแนลนั้น แชนแนล
จาเป็นต้องใช้บัสข้อมูลและบัสแอดเดรสของหน่วยความจา และหน่วย
ประมวลผลกลางเองก็จาเป็นต้องใช้บัสทั้งสองนี้ด้วยเช่นกัน ดังนั้น DMA จะ
เกิดขึ้นเฉพาะในช่วงเวลาที่หน่วยประมวลผลกลางไม่ต้องการใช้บัสข้อมูลและ
บัสแอดเดรสเท่านั้น เช่น หน่วยประมวล ผลกลางกาลังคานวณฟังก์ชันทาง
คณิตศาสตร์ ซึ่งไม่จาเป็นต้องดึงข้อมูลจากหน่วยความจาไปใช้ ในช่วงเวลานี้
บัสข้อมูลและบัสแอดเดรสไม่ถูกใช้งานโดยหน่วยประมวลผลกลาง
ดังนั้น การทา DMA จึงสามารถทาได้ และเมื่อใดที่หน่วย
ประมวลผลกลางต้องการใช้หน่วยความจา DMA จะต้องหยุด การทางานรอ
จนกว่าหน่วยประมวลผลกลางจะหยุดใช้บัสข้อมูลและบัสแอดเดรส จากนั้น
DMA จึงทางานต่อได้ ลักษณะที่ DMA ใช้บัสทั้งสอง ในขณะที่หน่วย
ประมวลผลกลางไม่ใช้เรียกว่า การขโมยรอบเวลา (Cycle Stealing)
รูปแสดงการรับส่งข้อมูลโดยตรง (DMA)
มัลติเพิ้ลพาธ (Multiple Path)
หน่วยควบคุมอุปกรณ์ (Control Unit: CU) ซึ่งอุปกรณ์แต่ละ
ชนิดต้องมี CU ของตัวเอง ซึ่ง CU หนึ่งตัวสามารถควบคุมอุปกรณ์ชนิด
เดียวกันได้หลายเครื่อง และ CU เหล่านี้อยู่ภายใต้การควบคุมของ
โปรเซสเซอร์ที่เรียกว่า แชนแนล และแชนแนลก็สามารถควบคุม CU ได้
หลาย ๆ ตัว เช่นกัน
รูปแสดงการทางานวิธี Single Path
จากรูป จะเห็นว่าการติดต่อกับอุปกรณ์ XI ต้องผ่านแชนแนล A
และ CU1 ซึ่งลักษณะนี้เป็นการติดต่อแบบพาธเดี่ยว (Single Path) คือ
หน่วยประมวลผลกลางไม่สามารถติดต่ออุปกรณ์XI ผ่านทางเส้นทางอื่นได้
เช่น ไม่สามารถติดต่อ XI ผ่านแชนแนล Bหรือ CU2 ได้
การทางานในลักษณะพาธเดี่ยวนี้มีข้อเสียคือ ถ้าแชนแนล A หรือ
CU1 เกิดเสียหาย ทางาน ไม่ได้ หน่วยประมวลผลกลางจะไม่สามารถติดต่อ
กับอุปกรณ์ XI และ X2 ได้เลย
การแก้ไขปัญหาดังกล่าวนี้สามารถทาได้โดยออกแบบการติดต่อ
ใหม่ให้เป็นแบบมัลติเพิ้ลพาธ (Multiple Path) กล่าวคือ หน่วยประมวลผล
กลางสามารถติดต่อกับอุปกรณ์ต่าง ๆ ได้หลายเส้นทาง
รูป แสดงการทางานวิธี Multiple Path
ในลักษณะเช่นนี้หน่วยประมวลผลกลางกับอุปกรณ์X, Y สามารถ
ติดต่อกันได้หลายทาง ดังนี้
1. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล A- CU1 - อุปกรณ์ X
2. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล A- CU2 - อุปกรณ์ X
3. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล B- CU1 - อุปกรณ์ X
4. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล B- CU2 - อุปกรณ์ X
5. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล A- CU1 - อุปกรณ์ Y
6. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล A- CU2 - อุปกรณ์ Y
7. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล B- CU1 - อุปกรณ์ Y
8. หน่วยประมวลผลกลาง - แชนแนล B- CU2 - อุปกรณ์ Y
จะเห็นว่าหน่วยประมวลผลกลางติดต่อกับอุปกรณ์ X และ Y ได้ถึง
4 ทางมัลติเพิ้ลพาธทาให้ระบบมีความน่าเชื่อถือ (Reliability) สูงขึ้น
กล่าวคือ ถ้าแชนแนล A เสียหายไม่สามารถทางานได้หน่วยประมวลผลกลาง
สามารถติดต่อกับอุปกรณ์ X และ Y ผ่านทางแชนแนล Bได้ การใช้ โครงสร้าง
แบบมัลติเพิ้ลพาธนี้ถ้ากาหนดให้ทุกแชนแนลติดต่อกับ CU ได้ ระบบก็จะมี
ความ น่าเชื่อถือสูงสุด แต่ในความเป็นจริงจะไม่ค่อยพบเห็นโครงสร้างเช่นนี้
เพราะเสียค่าใช้จ่ายสูงมากในแง่ของตัวอุปกรณ์ อุปกรณ์ก็ควรติดต่อกับ CU
ได้หลายตัวเพื่อให้เกิดความคล่องตัวในการทางาน แต่อย่าลืมว่า CU แต่ละ
ตัวควบคุมอุปกรณ์ได้เพียงชนิดเดียวเท่านั้น
การจัดการคีย์บอร์ด (Keyboard)
คีย์บอร์ดเป็นอุปกรณ์อินพุตประเภทที่มีการส่งข้อมูลเป็นสาย
ดังนั้นลาดับของการส่งข้อมูล ขึ้นอยู่กับลาดับของการกดคีย์แต่ละคีย์การ
เรียงลาดับผิดก็จะเกิดความหมายผิดพลาดตามไปด้วย เช่น กด ‘a’ และ
ตามด้วย ‘b’ จะเกิดลาดับของข้อมูลเป็น ‘a b’ ต่างกับการกด ‘b’ ก่อนแล้ว
กด ‘a’ ซึ่ง ให้ลาดับของข้อมูลเป็น ‘b a’ ดังนั้นลาดับของข้อมูลจึงมี
ความสาคัญ
การจัดการคีย์บอร์ดของระบบปฏิบัติการแบ่งได้เป็น 2 โหมด คือ
1.โหมดดิบ (Raw Mode)
โหมดนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นการจัดการเชิงอักขระ (Character-
Oriented) โดยมีลักษณะการ จัดการเป็นดังนี้สมมติว่าผู้ใช้ต้องการพิมพ์คา
ว่า ‘date’ แต่เวลาพิมพ์จริง ๆ พิมพ์ผิดเป็น ‘dste’ ดังนั้นเมื่อต้องการแก้ไข
ต้องกด Backspace3 ครั้ง (เพื่อลบตัวอักษร 3 ตัวหลังออก) และกด ‘a’t ‘e’
ตามด้วย Enter ตามลาดับ ในลักษณะนี้โปรแกรมงานของผู้ใช้จะรับอักขระ
ทั้งหมด 11 ตัว (รวมอักขระที่พิมพ์ผิด Backspaceและ Enter)
2. โหมดสุก (Cook Mode)
โหมดนี้อาจเรียกได้ว่าเป็นการจัดการเชิงบรรทัด (Line-
Oriented) ลักษณะการส่งข้อมูลผ่าน โหมดนี้จะต่างกับโหมดดิบเพียง
เล็กน้อย ในกรณีตัวอย่างที่กล่าวไว้ในโหมดดิบ ระบบปฏิบัติการจะส่ง
อักขระให้โปรแกรมทั้งหมด 11 อักขระ แต่ถ้าเป็นโหมดสุก OS จะส่งเฉพาะ
อักขระที่ถูกแก้ไข ถูกต้องแล้วเท่านั้น นั้นคือจะส่งเพียง Date ไปให้
ในระบบปฏิบัติการบางระบบผู้ใช้สามารถเลือกโหมดการจัดการรับ
ข้อมูลได้ทั้ง 2 โหมด โดย ระบบปฏิบัติการจะจองหน่วยความจาไว้ส่วนหนึ่ง
เพื่อรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด ก่อนที่จะส่งให้โปรแกรมต่าง ๆ นาไปใช้
หน่วยความจาส่วนนี้เรียกว่า บัฟเฟอร์ (Buffer) ในกรณีของโหมดสุก อักขระที่
ถูกส่งเข้าจะมาเก็บในบัฟเฟอร์นี้ก่อน ถ้าผู้ใช้ต้องการแก้ไขก็จะเกิดการแก้ไข
ข้อมูลที่เก็บไว้ในบัฟเฟอร์ จนกระทั่งเมื่อผู้ใช้กดแป้ น Enter ข้อมูลหรือกลุ่ม
ของอักขระที่ผู้ไข้แก้ไขแล้วจะถูกส่งต่อไปให้โปรแกรมของผู้ใช้ ส่วนในกรณีของ
โหมดดิบ การกดคีย์แต่ละคีย์ ระบบปฏิบัติการอาจส่ง อักขระไปให้โปรแกรม
ของผู้ใช้ได้ทันทีไม่ต้องเก็บลงบัฟเฟอร์ แต่ถ้าโปรแกรมของผู้ใช้ยังไม่พร้อมที่จะ
รับอินพุตจากผู้ใช้ ในกรณีนี้อักขระต่าง ๆ ที่ถูกผู้ใช้คีย์ไว้จะถูกเก็บลงบัฟเฟอร์
และจะถูกส่งให้ เมื่อโปรแกรมของผู้ใช้พร้อมที่จะรับข้อมูล

More Related Content

What's hot

ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ARAM Narapol
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Ged Rungrojsaratis
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มKomen Chawarit
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศChainarong Maharak
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำPannathat Champakul
 
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิงานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิNuanchawee Junsen
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...Atita Rmutsv
 
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพบทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพVeerapong Takonok
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนพัน พัน
 
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์Gawewat Dechaapinun
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มWoraphon Tungsiri
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1Morn Suwanno
 

What's hot (20)

Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
 
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
Mind Map อุปกรณ์คอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้มวันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
วันที่2 การบันทึกข้อมูล ncd เพื่อส่งออก 43 แฟ้ม
 
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศสังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
สังคมโลก และ ลักษณะพื้นฐานของสังคมระหว่างประเทศ
 
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
2 4โครงสร้างผังงานทำซ้ำ
 
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิงานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
งานวิจัยที่ใช้เป็นกรณีศึกษาชาเขียวโออิชิ
 
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน  อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
ความหมาย เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน อาจารย์อทิตา เหลืองอ่อน สาขาเทคโนโลยีสื่อสารม...
 
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพบทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
 
รายงานคอม
รายงานคอมรายงานคอม
รายงานคอม
 
เสียงและการได้ยิน
เสียงและการได้ยินเสียงและการได้ยิน
เสียงและการได้ยิน
 
ปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืนปัญหาการข่มขืน
ปัญหาการข่มขืน
 
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
บทที่ 1 พีชคณิตเวกเตอร์
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1มเอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
เอกสารประกอบการเรียนวิชาพ31101สุขศึกษาและพลศึกษา1ม
 
Ch7 cai
Ch7 caiCh7 cai
Ch7 cai
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.1
 

Similar to การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10maysasithon
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์Oh Aeey
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์jennysarida
 
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์Manaf Joraka
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลskiats
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ ComputerSPipe Pantaweesak
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์SPipe Pantaweesak
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นFed Pij
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบSPipe Pantaweesak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์Peem Jirayut
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net Saharat Yimpakdee
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ Thanawut Rattanadon
 

Similar to การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต (20)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
01 องค์ประกอบคอมพิวเตอร์
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์ฮาร์ดแวร์
ฮาร์ดแวร์
 
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
ความหมายของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และ-ระบบปฏคอมพิวเตอร์
 
อุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผลอุปกรณ์รับและแสดงผล
อุปกรณ์รับและแสดงผล
 
องค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computerองค์ประกอบของ Computer
องค์ประกอบของ Computer
 
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
 
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
คอม
คอม คอม
คอม
 
องค์ประกอบ
องค์ประกอบองค์ประกอบ
องค์ประกอบ
 
Work3 19
Work3 19Work3 19
Work3 19
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เผยแพร่ความรู้ออนไลน์
 
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้นคอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
คอมพิวเตอร์ ม.1 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net แบบทดสอบ O-net
แบบทดสอบ O-net
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์	องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
B2
B2B2
B2
 

More from Thanaporn Singsuk

การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสThanaporn Singsuk
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสThanaporn Singsuk
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสThanaporn Singsuk
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการThanaporn Singsuk
 

More from Thanaporn Singsuk (14)

9.1 9.10
9.1  9.109.1  9.10
9.1 9.10
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซสการติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
การติดต่อสื่อสารระหว่างโปรเซส
 
การจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซสการจัดเวลาโปรเซส
การจัดเวลาโปรเซส
 
สถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซสสถานะของโปรเซส
สถานะของโปรเซส
 
บทท 1 บทนำ 1
บทท   1 บทนำ 1บทท   1 บทนำ 1
บทท 1 บทนำ 1
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการองค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
องค์ประกอบของระบบปฏิบัติการ
 

การจัดการอุปกรณ์อินพุตและอุปกรณ์เอาต์พุต