SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ข้อมูล
2
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ความหมายของข้อมูล
ข้อมูลในความหมายทางคอมพิวเตอร์ คือลาดับของ
สัญลักษณ์ใด ๆ ที่มีความหมายโดยการปฏิบัติการเฉพาะ
เพื่อตีความ ข้อมูลดิจิทัลคือปริมาณ อักขระ หรือ
สัญลักษณ์ในการดาเนินการอันกระทาโดยคอมพิวเตอร์
เก็บและบันทึกลงในสื่อแม่เหล็ก เชิงแสง หรือเชิงกล
เป็นต้น และส่งผ่านในรูปแบบสัญญาณไฟฟ้า
แหล่งข้อมูล
แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานที่หรือแหล่งที่เกิดข้อมูล แหล่งข้อมูลจะแตกต่างกันไปตามข้อมูลที่ต้องการ เช่น บ้านเป็น
แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวกับนักเรียน โดยบันทึก ข้อมูลไว้ในทะเบียนบ้าน ห้องสมุด เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ต่าง ๆ
ข้อมูลบางอย่างเราอาจจะนามาจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งได้เช่นราคาของเล่นชนิดเดียวกัน เราอาจจะหาข้อมูลจาก
แหล่งข้อมูลซึ่งได้แก่ร้านค้าหลายร้านได้และข้อมูลหรือราคาที่ได้อาจจะแตกต่างกันไป หนังสือพิมพ์เป็นแหล่งข้อมูลที่
มีทั้งข้อความ ตัวเลข รูปภาพ
โดยปกติแล้ว ข้อมูลสาหรับการนามาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจะได้มาจากแหล่งที่มา 2 ประเภทด้วยกัน คือ
1. แหล่งข้อมูลภายใน
เป็นแหล่งข้อมูลที่อยู่ภายในองค์กรทั่วไป ข้อมูลที่ได้นั้นอาจมาจากพนักงานหรือมีอยู่แล้วในองค์กร เช่น ยอดขาย
ประจาปี ข้อมูลผู้ถือหุ้น รายงานกาไรขาดทุน ข้อมูลเหล่านี้จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงต่างๆภายในองค์กรแต่
เพียงอย่างเดียว อาจเป็นข้อมูลที่เปิดเผยให้กับบุคคลภายนอกทราบหรือไม่ก็ได้ หากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
การดาเนินงานหลักขององค์กรและมีความสาคัญมาก เช่น ข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่จะออกสู่ตลาดใหม่ ข้อมูลการทดลองการ
แปรรูปสินค้า หน่วยงานนั้นอาจมีการปกปิดไว้เพื่อป้ องกันการรั่วไหลของข้อมูลได้
3
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
2. แหล่งข้อมูลภายนอก
เป็นแหล่งข้อมูลที่อยู่ภายนอกองค์กร โดยทั่วไป
แล้วสามารถนาข้อมูลต่างๆเหล่านั้นมา ใช้
ประโยชน์ในองค์กรหรือนามาใช้กับการ
ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ระบบงาน
ที่ สมบูรณ์ขึ้นได้เช่น ข้อมูลลูกค้า เจ้าหนี้ อัตรา
ดอกเบี้ยสถาบันการเงิน กฎหมายและอัตรา ภาษี
ของรัฐบาล หรืออาจรวมถึงข้อมูลบริษัทคู่ แข่ง
ด้วย สามารถหาข้อมูลจากแหล่งภายนอกได้จาก
บริษัทผู้ให้บริการข้อมูลหรือจากหนังสือพิมพ์
วิทยุ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่นๆได้
คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี
การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีแผนในการดาเนินการหรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้ประโยชน์องค์กร
จาเป็นต้องลงทุนทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับระบบ
เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพการจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงปัญหาต่างๆ และพยายามมองปัญหาแบบที่ เป็น
จริง สามารถดาเนินการได้ให้ประสิทธิภาพคุ้มค่ากับการลงทุน ข้อมูลที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐานดังนี้
1) ความถูกต้อง เพราะข้อมูลที่ได้ต้องนาไปใช้ในการตัดสินใจ หากข้อมูลไม่มีความถูกต้องแล้วก็จะก่อให้เกิดผล
เสียหายตามมา
2) ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ ทันสมัยและทัน ต่อ
เหตุการณ์ปัจจุบัน
3) ความสมบูรณ์ ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ คือ ข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งจะขึ้นกับวิธีการ
รวบรวมข้อมูลและวิธีการประมวลผล ดังนั้นในการดาเนินการรวบรวมข้อมูลต้องสารวจและสอบถามความต้องการ
ในการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์
4
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
3) ความสมบูรณ์ ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ คือ ข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งจะขึ้นกับวิธีการ
รวบรวมข้อมูลและวิธีการประมวลผล ดังนั้นในการดาเนินการรวบรวมข้อมูลต้องสารวจและสอบถามความต้องการ
ในการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์
4) ความกระชับและชัดเจน การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่มาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้าง
ข้อมูลให้กระชับและสื่อความหมายได้อาจมีการใช้รหัสแทนข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ
5) ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงาน
และองค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมูล และขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
5
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล
ในการจัดการข้อมูลจะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ลาดับ
ชั้นข้อมูลพื้นฐานที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้
บิต (Bit = Binary Digit)
เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าข้อมูลที่จะทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์
ได้นั้น จะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสองเสียก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานตามที่
ต้องการได้เมื่อแปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทนสถานะเปิดและปิด ของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า บิต เพียง 2
ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และบิต 1
ไบต์ (Byte)
เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ (Byte) ซึ่งจานวนของบิตที่
ได้นั้นแต่ละกลุ่มอาจมีมากหรือน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งาน
ในรหัสแอสกีทั่วไปจะได้กลุ่มของบิต 8 บิตด้วยกัน ซึ่งนิยมมาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึง
นิยมเรียกข้อมูล 1 ไบต์ว่าเป็น 1 ตัวอักษร
ฟีลด์ หรือเขตของข้อมูล (Field)
ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วยข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น
แล้วแสดงลักษณะหรือความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเขตข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัส
พนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน ตาแหน่ง
เรคคอร์ด (Record)
เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บรวมกันเป็นหน่วยใหม่ที่ใหญ่
ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ปกติในการจัดการข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคคอร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของ
ข้อมูลเป็นหลัก
6
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ไฟล์ หรือแฟ้ มตารางข้อมูล (File)
ไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆเรคคอร์ดที่ต้องการจัดเก็บมาเรียงอยู่ในรู
แปบของแฟ้มตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้มตารางข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนนักศึกษาวิชาเทคโนโลยี
สารสนเทศ อาจประกอบด้วยเรคคอร์ดของนักศึกษาหลายๆคนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสนักศึกษา ชื่อ
นามสกุล และคะแนนที่ได้
ฐานข้อมูล (Database)
เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆแฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บรวมกันไว้ที่เดียว โดย
จะมีการเก็บคาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่ง
จะใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้เป็นต้นว่า โครงสร้างของแต่ละตารางเป็นอย่างไร ประกอบด้วย
ฟีลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะของแต่ละฟีลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้มเป็นอย่างไร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้
ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่างที่มีการประมวลผลฐานข้อมูลนั่นเอง
7
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ที่มีเรคคอร์ดของลูกค้าจานวนมาก เป็นต้นวิทยุ โทรทัศน์
หรือสื่ออื่นๆได้
แฟ้มข้อมูลแบบนี้ถ้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเมนเฟรม
ขนาดใหญ่ก็จะจัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก
(magnetic tape) ซึ่งมีการเข้าถึงแบบลาดับ (Sequential
access) เวลาอ่านข้อมูลก็ต้องเป็นไปตามลาดับด้วย คล้าย
กับการเก็บข้อมูลเพลงลงบนเทปคาสเซ็ต ซึ่งสมมติว่าใน
ม้วนเทปหนึ่งมีการเก็บเพลงได้10 เพลง ความยาวเพลงละ
3 นาที ซึ่งหากต้องการค้นหาเพลงใดก็ต้องเริ่มต้นจากเพลง
แรกไปเป็นลาดับจนกว่าจะพบ
การจัดโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล (File Organization)
โดยปกติแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาสารอง (secondary storage) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เนื่องจากมีความจุข้อมูล
สูงและสามารถเก็บได้ถาวรแม้จะปิดเครื่องไป ซึ่งการจัดเก็บนี้จะต้องมีวิธีกาหนดโครงสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อให้การจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการ การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูล
จะอาศัยคีย์ฟีลด์ในการเรียกค้นด้วยเสมอ การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลอาจจะแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้
1. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential File Structure)
เป็นโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด เนื่องจากมีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลแบบ
เรียงลาดับเรคคอร์ดต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านตรงตาแหน่งใดๆที่ต้องการ
โดยตรงไม่ได้เมื่อต้องการอ่านข้อมูลที่เรคคอร์ดใดๆโปรแกรมจะเริ่มอ่านตั้งแต่เรคคอร์ดแรกไปเรื่อยๆจนกว่าจะ
พบเรคคอร์ดที่ต้องการ ก็จะเรียกค้นคืนเรคคอร์ดนั้นขึ้นมา
การใช้ข้อมูลเรียงลาดับนี่จึงเหมาะสมกับงานประมวลผลที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆตามลาดับและ
ปริมาณครั้งละมากๆตัวอย่างเช่น ใบแจ้งหนี้ค่าบริการไฟฟ้ า น้าประปาค่าโทรศัพท์หรือค่าบริการสาธารณูปโภคอื่นๆ
8
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
2. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure)
เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง เมื่อต้องการอ่านค่าเรคคอร์ดใดๆสามารถทาการเลือก
หรืออ่านค่านั้นได้ทันที ไม่จาเป็นต้องผ่านเรคคอร์ดแรกๆเหมือนกับแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ ซึ่งทาให้การเข้าถึง
ข้อมูลได้รวดเร็วกว่า ปกติจะมีการจัดเก็บในสื่อที่มีลักษณะการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์,
ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM เป็นต้น
3. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File Structure)
เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่อาศัยกระบวนการที่เรียกว่า ISAM (Index Sequential Access Method ) ซึ่ง
รวมเอาความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล
วิธีนี้ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บเรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบสุ่ม เช่น ฮาร์ดดิสก์ และการเข้าถึงข้อมูลจะทาผ่านแฟ้มข้อมูล
ลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File) ซึ่งทาหน้าที่ช่วยชี้และค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สามารถทางานได้ยืดหยุ่น
กว่าวิธีอื่นๆโดยเฉพาะกับกรณีที่ข้อมูลในการประมวลผลมีจานวนมากๆ
โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะมีหลักการทางาน
คล้ายกับรูปแบบดรรชนีท้ายเล่มหนังสือที่มีการ
จัดเรียงหัวเรื่องแยกไว้เป็นลาดับตามหมวดหมู่อักษร
ตั้งแต่ A-Z หรือ ก-ฮ เมื่อสนใจหัวเรื่องใดโดยเฉพาะ
ผู้อ่านสามารถไล่ค้นได้จากชื่อหัวเรื่องที่พิมพ์เรียงกัน
ไว้เป็นลาดับนั้นเพื่อดูหมายเลขหน้าได้ซึ่งทาให้ง่าย
และสะดวกมากยิ่งขึ้น
9
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
โครงสร้างแฟ้ม ข้อดี ข้อเสีย สื่อที่ใช้เก็บ
1. แบบเรียงลาดับ - เสียค่าใช้จ่ายน้อยและใช้งานได้ง่าย
กว่าวิธีอื่นๆ
- เหมาะกับงานประมวลผลที่มีการ
อ่านข้อมูลแบบเรียงลาดับและใน
ปริมาณมาก
- สื่อที่ใช้เก็บเป็นเทปซึ่งมีราคาถูก
- การทางานเพื่อค้นหาข้อมูลจะต้อง
เริ่มทาตั้งแต่ต้นไฟล์เรียงลาดับไป
เรื่อย จนกว่าจะหาข้อมูลนั้นเจอ ทา
ให้เสียเวลาค่อนข้างมาก
- ข้อมูลที่ใช้ต้องมีการจัดเรียงลาดับ
ก่อนเสมอ
- ไม่เหมาะกับงานที่ต้อง
แก้ไข เพิ่ม ลบข้อมูลเป็นประจา เช่น
งานธุรกรรมออนไลน์
เทปแม่เหล็ก เช่น เทปคาสเซ็ต
2. แบบสุ่ม - สามารถทางานได้เร็ว เพราะมีการ
เข้าถึงข้อมูลเรคคอร์ดแบบเร็ว
มาก เพราะไม่ต้องเรียงลาดับข้อมูล
ก่อนเก็บลงไฟล์
- เหมาะสมกับการใช้งานธุรกรรม
ออนไลน์ หรืองานที่ต้องการ
แก้ไข เพิ่ม ลบรากการเป็นประจา
- ไม่เหมาะกับงานประมวลผลที่อ่าน
ข้อมูลในปริมาณมาก
- การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาข้อมูล
จะซับซ้อน
- ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบ
เรียงลาดับได้
จานแม่เหล็กเช่น ดิสเก็ตต์
, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
3. แบบลาดับเชิง
ดรรชนี
- สามารถรองรับการประมวลผลได้
ทั้ง 2 แบบคือ แบบลาดับและแบบสุ่ม
- เหมาะกับงานธุรกรรม
ออนไลน์ ด้วยเช่นเดียวกัน
- สิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บ
ดรรชนีที่ใช้อ้างอิงถึงตาแหน่งของ
ข้อมูล
- การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาข้อมูล
จะซับซ้อน
- การทางานช้ากว่าแบบสุ่ม และมี
ค่าใช้จ่ายสูง
จานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์
, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM
ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล
10
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ประเภทของแฟ้ มข้อมูล
1. แฟ้ มข้อมูลหลัก (Master File)
เป็นแฟ้มที่เก็บข้อมูลอย่างถาวร แฟ้มนี้จะไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบ่อยนัก เพราะการ
ปรับปรุงข้อมูลจะกระทาจากแฟ้มรายการ (Transaction File) ดังนั้นข้อมูลที่เก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูล
หลักจะเป็นข้อมูลที่ทันสมัย (Up to date) อยู่เสมอ สามารถนาไปอ้างอิงได้ เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน
แฟ้มรายการสินค้า แฟ้มข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลภาควิชา
2. แฟ้ มรายการ (Transaction File)
เป็นแฟ้มข้อมูลชั่วคราว ที่รวบรวมการเปลี่ยนแปลง ของแฟ้มข้อมูลหลักหรือทาหน้าที่รายงานการ
เปลี่ยนแปลงของแฟ้มข้อมูลหลัก มีการเก็บเป็นรายการย่อย ๆ โดยอาจจัดเรียงข้อมูลให้เหมือน
แฟ้มข้อมูลหลัก เพื่อนาไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักให้ทันสมัย เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสิ้นก็จะถูก
ลบทิ้งโดยอัตโนมัติ ส่วนใหญ่จะเก็บข้อมูลที่ใช้ในธุรกิจประจาวัน เช่น แฟ้มข้อมูลรายการขาย
สินค้าประจาวัน รายการฝากถอนเงิน ฯลฯ
11
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
การประมวลผลแบบแฟ้ มข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล (File Processing VS Database Systems)
การประมวลผลแบบแฟ้ มข้อมูล (File Processing)
วิธีการประมวลผล (Processing Technique)
การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการประมวลผลทางธุรกิจนั้นมีวิธีการประมวลผลได้หลายแบบดังนี้
1. การประมวลผลแบบชุด (Batch Processing)
คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทาการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุดๆ ซึ่งแต่ละ
ชุดอาจจะกาหนดเท่ากับเอกสาร 10 หรือ 20 รายการหรือมากกว่าก็ได้แต่ให้มีขนาดเท่ากัน แล้ว
ป้ อนข้อมูลดังกล่าวสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงใช้คาสั่งให้ประมวลผลพร้อมกันที่ละชุด
ตัวอย่าง บริษัทหนึ่งอาจจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อออกบิลโดยมีการรวบรวมใบสั่งซื้อจากลูกค้า
ภายในหนึ่งวันจากแผนกขาย จากนั้นก็ส่งให้แผนกคอมพิวเตอร์ทาการป้ อนข้อมูลและตรวจสอบ
ความ ถูกต้องของข้อมูลก่อนที่จะเก็บบันทึกไว้จากนั้นก็จะนาข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล ซึ่ง
อาจจะต้องอาศัยแฟ้มข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการประมวลผล
12
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive)
หมายถึง การทางานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะ
ตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา
3. การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online processing)
คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัย
อุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทางานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อ
พ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network) ซึ่งอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ขนาดกลางหรือ
ไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องไม่จาเป็นต้องอยู่ใกล้กันแต่สามารถที่จะ
ติดต่อสื่อสารกันได้โดยมีการส่งผ่านข้อมูลไปมาระหว่างกัน ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์เราอาจจะสร้าง
เครือข่ายในลักษณะเครือขายเฉพาะ (Local Area Network(LAN) ซึ่งเป็นเครือข่ายใกล้ๆ หรืออาจสร้าง
เครือข่ายงานกว้าง [Wide Area Network(WAN) ซึ่งเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกันมากแต่
เชื่อมต่อกันได้โดยระบบ โทรคมนาคม
13
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ระบบฐานข้อมูล (Database System)
หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ที่จะนามาใช้ในระบบต่าง ๆ มาใช้
ร่วมกัน
แนวคิดของการใช้ฐานข้อมูล
ลักษณะแนวคิดของข้อมูลในฐานข้อมูลได้แก่
แนวคิดเชิงกายภาพ (physical ) และเชิงตรรกะ (logical) ในมุมมองของผู้ใช้ฐานข้อมูลหรือโปรแกรมประยุกต์
(application program) จะมองข้อมูลนั้นเป็นแฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ส่วนมุมมองของระบบปฏิบัติการ
(Operating System : OS) จะมองข้อมูลนั้นเป็นแฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file)
แนวคิดเชิงเชิงตรรกะ (logical) เป็นลักษณะที่ผู้ใช้มองข้อมูลเช่นเป็นฟิลด์, ระเบียน หรือแฟ้มข้อมูล เป็นต้น ส่วน
แนวคิดเชิงกายภาพ (physical ) จะไม่มองเป็นฟิลด์หรือเรคอร์ดใด ๆแต่จะมองเป็นรูปแบบของบิท (bit)ที่เรียงต่อกัน
เครื่องมือสาหรับจัดการฐานข้อมูล (DBMS)
โดยปกติในการจัดการฐานข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจะมี
โปรแกรมที่เรียกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS
(Database Management Systems) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็น
ผู้จัดการฐานข้อมูลนั่นเอง โปรแกรมประเภทนี้มีการผลิต
ออกมาหลายระบบด้วยกัน แต่ที่ได้รับความนิยมและเป็นที่
รู้จักกันดีคือ ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หรือ
RDBMS (Relational Database Management System) เช่น
Oracle, Sybase, Microsoft SQL Server, Microsoft Access,
MySQL เป็นต้น
14
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
เช่น ระบบข้อมูลลูกค้า ระบบสินค้าคงคลัง ระบบงานลงทะเบียน ระบบงานธุรกรรมออนไลน์
DBMS เป็นเหมือนตัวกลางที่ยอมให้ผู้ใช้เข้าค้นคืนข้อมูลได้โดยมีเครื่องมือสาคัยคือ ภาษาที่ใช้จัดการกับข้อมูล
โดยเฉพาะเรียกว่า ภาษาเรียกค้นข้อมูล หรือ ภาษาคิวรี่ (query language) ซึ่งประกอบด้วยคาสั่งสาหรับเรียกใช้ข้อมูล
แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล และยังสามารถนาไปใช้ร่วมกับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางด้านฐานข้อมูล
(Database application) ได้เป็นอย่างดี
ภาษาคิวรี่ (Query language)
เป็นภาษาที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการฐานข้อมูลใน DBMS โดยภาษาประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ
ภาษา SQL (Structure Query language ) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบคาสั่งที่
คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร ANSI (American National Standard Institute) ได้ประกาศ
ให้ SQL เป็นภาษามาตรฐานสาหรับสาหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database
Management System หรือ RDBMS) ซึ่งเป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน
ลักษณะของ DBMS
ระบบการจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะอานวยความ
สะดวกกับผู้ใช้ คือสามารถใช้งานได้โดยที่ไม่จาเป็นต้อง
ทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่ลึกมาก
เหมือนกับการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมอร์ ระบบ
ดังกล่าวจะยอมให้ผู้ใช้กาหนดโครงสร้างและดูแลรักษา
ฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดี และยังสามารถควบคุมการเข้าถึง
ข้อมูลในส่วนต่างๆตามระดับการใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน
ด้วย เราอาจพบเห็นการใช้งาน DBMS สาหรับการจัดการ
ฐานข้อมูลได้ในองค์กรธุรกิจโดยทั่วไป
15
Document Name
Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights
Reserved
ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ทุกระบบจะใช้
คาสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือนกันแต่อาจมี
คาสั่งพิเศษที่แตกต่างกันบ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่
ละรายก็พยายามทีจะพัฒนา RDBMS ของตนเองให้มี
ลักษณะที่เด่นกว่าระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกิน
ข้อจากัดของ ANSI ซึ่งคิดว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้า
ไป
ความสามารถโดยทั่วไปของระบบการจัดการฐานข้อมูล
- แปลงคาสั่งที่ใช้จัดการกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่ฐานข้อมูลเข้าใจ
- นาคาสั่งต่าง ๆ ซึ่งได้รับการแปลแล้ว ไปสั่งให้ฐานข้อมูลทางาน เช่น การเรียกใช้ (Retrieve) จัดเก็บ
(Update) ลบ (Delete) เพิ่มข้อมูล (Add) เป็นต้น
- ป้ องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล โดยจะคอยตรวจสอบว่าคาสั่งใดที่สามารถ
ทางานได้และคาสั่งใดที่ไม่สามารถทางานได้
- รักษาความสัมพันธ์ของข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้มีความถูกต้องอยู่เสมอ
- เก็บรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ซึ่ง
รายละเอียดเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า เมทาเดตา (MetaData) ซึ่งหมายถึง "ข้อมูลของข้อมูล"
- ควบคุมให้ฐานข้อมูลทางานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ
- ควบคุมสถานะภาพของคอมพิวเตอร์ในการแปลสถาพฐานข้อมูล ส.ท

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนSrion Janeprapapong
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to DatabaseOpas Kaewtai
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5palmyZommanow
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1palmyZommanow
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลNithiwan Rungrangsri
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลsa
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลปิยะดนัย วิเคียน
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลssuseraa96d2
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นTophuto Piyapan
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศBeauso English
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์Mrpopovic Popovic
 

What's hot (16)

บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืนบทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
บทที่ 3 ฐานข้อมูลและการค้นคืน
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
Introduction to Database
Introduction to DatabaseIntroduction to Database
Introduction to Database
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์  น่านกร ม.5
หน่วยที่ 1เรื่อง การจัดการข้อมูล ธนพงษ์ น่านกร ม.5
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูลลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
ลักษณะของข้อมูลที่ดีและการจัดเก็บข้อมูล
 
แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4แนวการสอบ ม.4
แนวการสอบ ม.4
 
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูลข้อมูลและการจัดการข้อมูล
ข้อมูลและการจัดการข้อมูล
 
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้นระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น
 
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศบทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
บทที่ 7 เครื่องมือการเข้าถึงสารสนเทศ
 
Onet-work4-44
Onet-work4-44Onet-work4-44
Onet-work4-44
 
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
เทอม 1 คาบ 5 การจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์
 

Similar to work 3 -6

Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisSakarin Habusaya
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22MyunDao
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลIsareeya Keatwuttikan
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลniwat50
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2Hitsuji12
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง IntroJenchoke Tachagomain
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศnattapas33130
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5สิรินยา ปาโจด
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศOng Lada
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลtumetr
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsRachabodin Suwannakanthi
 
Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111darika chu
 
Lesson1 3 database
Lesson1 3 databaseLesson1 3 database
Lesson1 3 databaseSamorn Tara
 
Greenstone From Paper to Digital Collection
GreenstoneFrom Paper to Digital CollectionGreenstoneFrom Paper to Digital Collection
Greenstone From Paper to Digital CollectionSatapon Yosakonkun
 

Similar to work 3 -6 (20)

Bacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcisBacic MySql & script Sql for jhcis
Bacic MySql & script Sql for jhcis
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
Myun dao22
Myun dao22Myun dao22
Myun dao22
 
การจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูลการจัดเก็บข้อมูล
การจัดเก็บข้อมูล
 
Db1
Db1Db1
Db1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูลความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บท1
บท1บท1
บท1
 
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูลบทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
บทที่1ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับฐานข้อมูล และหลักการออกแบบฐานข้อมูล
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
ธันยพร นกศิริ ม409 เลขที่2
 
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Introการพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
การพัฒนาเอกสารออนไลน์ขั้นสูง Intro
 
ข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศข้อมูลสานสนเทศ
ข้อมูลสานสนเทศ
 
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา  ปาโจด ม.5
หน่วยที่1 เรื่อง เทคโนโลยีการสื่อสาร นางสาว สิรินยา ปาโจด ม.5
 
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศหน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลและสารสนเทศ
 
พจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูลพจนานุกรมข้อมูล
พจนานุกรมข้อมูล
 
Video on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical ApplicationsVideo on Demand System for Medical Applications
Video on Demand System for Medical Applications
 
Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111Maliบรรยาย มข111
Maliบรรยาย มข111
 
Lesson1 3 database
Lesson1 3 databaseLesson1 3 database
Lesson1 3 database
 
work3
work3 work3
work3
 
Greenstone From Paper to Digital Collection
GreenstoneFrom Paper to Digital CollectionGreenstoneFrom Paper to Digital Collection
Greenstone From Paper to Digital Collection
 

work 3 -6

  • 1. 1 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ข้อมูล
  • 2. 2 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ความหมายของข้อมูล ข้อมูลในความหมายทางคอมพิวเตอร์ คือลาดับของ สัญลักษณ์ใด ๆ ที่มีความหมายโดยการปฏิบัติการเฉพาะ เพื่อตีความ ข้อมูลดิจิทัลคือปริมาณ อักขระ หรือ สัญลักษณ์ในการดาเนินการอันกระทาโดยคอมพิวเตอร์ เก็บและบันทึกลงในสื่อแม่เหล็ก เชิงแสง หรือเชิงกล เป็นต้น และส่งผ่านในรูปแบบสัญญาณไฟฟ้า แหล่งข้อมูล แหล่งข้อมูล หมายถึง สถานที่หรือแหล่งที่เกิดข้อมูล แหล่งข้อมูลจะแตกต่างกันไปตามข้อมูลที่ต้องการ เช่น บ้านเป็น แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวกับนักเรียน โดยบันทึก ข้อมูลไว้ในทะเบียนบ้าน ห้องสมุด เป็นแหล่งข้อมูลเกี่ยวกับความรู้ต่าง ๆ ข้อมูลบางอย่างเราอาจจะนามาจากแหล่งข้อมูลหลายแหล่งได้เช่นราคาของเล่นชนิดเดียวกัน เราอาจจะหาข้อมูลจาก แหล่งข้อมูลซึ่งได้แก่ร้านค้าหลายร้านได้และข้อมูลหรือราคาที่ได้อาจจะแตกต่างกันไป หนังสือพิมพ์เป็นแหล่งข้อมูลที่ มีทั้งข้อความ ตัวเลข รูปภาพ โดยปกติแล้ว ข้อมูลสาหรับการนามาประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจะได้มาจากแหล่งที่มา 2 ประเภทด้วยกัน คือ 1. แหล่งข้อมูลภายใน เป็นแหล่งข้อมูลที่อยู่ภายในองค์กรทั่วไป ข้อมูลที่ได้นั้นอาจมาจากพนักงานหรือมีอยู่แล้วในองค์กร เช่น ยอดขาย ประจาปี ข้อมูลผู้ถือหุ้น รายงานกาไรขาดทุน ข้อมูลเหล่านี้จะให้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับข้อเท็จจริงต่างๆภายในองค์กรแต่ เพียงอย่างเดียว อาจเป็นข้อมูลที่เปิดเผยให้กับบุคคลภายนอกทราบหรือไม่ก็ได้ หากข้อมูลนั้นเป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ การดาเนินงานหลักขององค์กรและมีความสาคัญมาก เช่น ข้อมูลผลิตภัณฑ์ที่จะออกสู่ตลาดใหม่ ข้อมูลการทดลองการ แปรรูปสินค้า หน่วยงานนั้นอาจมีการปกปิดไว้เพื่อป้ องกันการรั่วไหลของข้อมูลได้
  • 3. 3 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2. แหล่งข้อมูลภายนอก เป็นแหล่งข้อมูลที่อยู่ภายนอกองค์กร โดยทั่วไป แล้วสามารถนาข้อมูลต่างๆเหล่านั้นมา ใช้ ประโยชน์ในองค์กรหรือนามาใช้กับการ ประมวลผลด้วยคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ได้ระบบงาน ที่ สมบูรณ์ขึ้นได้เช่น ข้อมูลลูกค้า เจ้าหนี้ อัตรา ดอกเบี้ยสถาบันการเงิน กฎหมายและอัตรา ภาษี ของรัฐบาล หรืออาจรวมถึงข้อมูลบริษัทคู่ แข่ง ด้วย สามารถหาข้อมูลจากแหล่งภายนอกได้จาก บริษัทผู้ให้บริการข้อมูลหรือจากหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่นๆได้ คุณสมบัติของข้อมูลที่ดี การจัดเก็บข้อมูลจาเป็นต้องมีแผนในการดาเนินการหรือกล่าวได้ว่าการได้มาซึ่งข้อมูลที่จะนามาใช้ประโยชน์องค์กร จาเป็นต้องลงทุนทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และอุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับระบบ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพการจัดการระบบข้อมูลจึงต้องคานึงปัญหาต่างๆ และพยายามมองปัญหาแบบที่ เป็น จริง สามารถดาเนินการได้ให้ประสิทธิภาพคุ้มค่ากับการลงทุน ข้อมูลที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติขั้นพื้นฐานดังนี้ 1) ความถูกต้อง เพราะข้อมูลที่ได้ต้องนาไปใช้ในการตัดสินใจ หากข้อมูลไม่มีความถูกต้องแล้วก็จะก่อให้เกิดผล เสียหายตามมา 2) ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความต้องการของผู้ใช้ ทันสมัยและทัน ต่อ เหตุการณ์ปัจจุบัน 3) ความสมบูรณ์ ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ คือ ข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งจะขึ้นกับวิธีการ รวบรวมข้อมูลและวิธีการประมวลผล ดังนั้นในการดาเนินการรวบรวมข้อมูลต้องสารวจและสอบถามความต้องการ ในการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์
  • 4. 4 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 3) ความสมบูรณ์ ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ คือ ข้อมูลที่สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้ ซึ่งจะขึ้นกับวิธีการ รวบรวมข้อมูลและวิธีการประมวลผล ดังนั้นในการดาเนินการรวบรวมข้อมูลต้องสารวจและสอบถามความต้องการ ในการใช้ข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีความสมบูรณ์ 4) ความกระชับและชัดเจน การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นที่มาก จึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้าง ข้อมูลให้กระชับและสื่อความหมายได้อาจมีการใช้รหัสแทนข้อมูลให้เหมาะสมเพื่อจัดเก็บไว้อย่างเป็นระบบ 5) ความสอดคล้อง ความต้องการเป็นเรื่องที่สาคัญ ดังนั้นจึงต้องมีการสารวจเพื่อหาความต้องการของหน่วยงาน และองค์กร ดูสภาพการใช้ข้อมูล และขอบเขตของข้อมูลที่สอดคล้องกับความต้องการ
  • 5. 5 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การแบ่งลาดับชั้นของการจัดการข้อมูล ในการจัดการข้อมูลจะมีการแบ่งข้อมูลออกเป็นลาดับชั้นเพื่อง่ายต่อการเรียกใช้และประมวลผล ลาดับ ชั้นข้อมูลพื้นฐานที่ควรทราบมีดังต่อไปนี้ บิต (Bit = Binary Digit) เป็นลาดับชั้นของหน่วยข้อมูลที่เล็กที่สุด ดังที่ทราบกันดีแล้วว่าข้อมูลที่จะทางานร่วมกับคอมพิวเตอร์ ได้นั้น จะต้องเอามาแปลงให้อยู่ในรูปของเลขฐานสองเสียก่อนคอมพิวเตอร์จึงจะเข้าใจและทางานตามที่ ต้องการได้เมื่อแปลงแล้วจะได้ตัวเลขแทนสถานะเปิดและปิด ของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า บิต เพียง 2 ค่าเท่านั้นคือ บิต 0 และบิต 1 ไบต์ (Byte) เมื่อนาบิตมารวมกันหลายๆบิต จะได้หน่วยข้อมูลกลุ่มใหม่ที่เรียกว่า ไบต์ (Byte) ซึ่งจานวนของบิตที่ ได้นั้นแต่ละกลุ่มอาจมีมากหรือน้อยบ้าง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของรหัสที่ใช้เก็บ แต่โดยปกติกับการใช้งาน ในรหัสแอสกีทั่วไปจะได้กลุ่มของบิต 8 บิตด้วยกัน ซึ่งนิยมมาแทนเป็นรหัสของตัวอักษร บางครั้งจึง นิยมเรียกข้อมูล 1 ไบต์ว่าเป็น 1 ตัวอักษร ฟีลด์ หรือเขตของข้อมูล (Field) ประกอบด้วยกลุ่มของตัวอักษรหรือไบต์ตั้งแต่ 1 ตัวขึ้นไปมาประกอบกันเป็นหน่วยข้อมูลที่ใหญ่ขึ้น แล้วแสดงลักษณะหรือความหมายอย่างใดอย่างหนึ่ง ยกตัวอย่างเขตข้อมูลเกี่ยวกับพนักงาน เช่น รหัส พนักงาน ชื่อ นามสกุล เงินเดือน ตาแหน่ง เรคคอร์ด (Record) เป็นกลุ่มของเขตข้อมูลหรือฟีลด์ที่มีความสัมพันธ์กัน และนามาจัดเก็บรวมกันเป็นหน่วยใหม่ที่ใหญ่ ขึ้นเพียงหน่วยเดียว ปกติในการจัดการข้อมูลใดมักประกอบด้วยเรคคอร์ด ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของ ข้อมูลเป็นหลัก
  • 6. 6 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ไฟล์ หรือแฟ้ มตารางข้อมูล (File) ไฟล์ หรือแฟ้มข้อมูล เป็นการนาเอาข้อมูลทั้งหมดหลายๆเรคคอร์ดที่ต้องการจัดเก็บมาเรียงอยู่ในรู แปบของแฟ้มตารางข้อมูลเดียวกัน เช่น แฟ้มตารางข้อมูลเกี่ยวกับคะแนนนักศึกษาวิชาเทคโนโลยี สารสนเทศ อาจประกอบด้วยเรคคอร์ดของนักศึกษาหลายๆคนที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับ รหัสนักศึกษา ชื่อ นามสกุล และคะแนนที่ได้ ฐานข้อมูล (Database) เกิดจากการรวบรวมเอาแฟ้มตารางข้อมูลหลายๆแฟ้มที่มีความสัมพันธ์กันมาเก็บรวมกันไว้ที่เดียว โดย จะมีการเก็บคาอธิบายเกี่ยวกับโครงสร้างฐานข้อมูลหรือที่เรียกว่า พจนานุกรมข้อมูล (data dictionary) ซึ่ง จะใช้อธิบายลักษณะของข้อมูลที่เก็บไว้เป็นต้นว่า โครงสร้างของแต่ละตารางเป็นอย่างไร ประกอบด้วย ฟีลด์อะไรบ้าง คุณลักษณะของแต่ละฟีลด์และความสัมพันธ์ของแต่ละแฟ้มเป็นอย่างไร ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ ถือว่ามีความจาเป็นมากและจะถูกเรียกใช้ในระหว่างที่มีการประมวลผลฐานข้อมูลนั่นเอง
  • 7. 7 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ที่มีเรคคอร์ดของลูกค้าจานวนมาก เป็นต้นวิทยุ โทรทัศน์ หรือสื่ออื่นๆได้ แฟ้มข้อมูลแบบนี้ถ้าเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ระดับเมนเฟรม ขนาดใหญ่ก็จะจัดเก็บอยู่ในอุปกรณ์ประเภทเทปแม่เหล็ก (magnetic tape) ซึ่งมีการเข้าถึงแบบลาดับ (Sequential access) เวลาอ่านข้อมูลก็ต้องเป็นไปตามลาดับด้วย คล้าย กับการเก็บข้อมูลเพลงลงบนเทปคาสเซ็ต ซึ่งสมมติว่าใน ม้วนเทปหนึ่งมีการเก็บเพลงได้10 เพลง ความยาวเพลงละ 3 นาที ซึ่งหากต้องการค้นหาเพลงใดก็ต้องเริ่มต้นจากเพลง แรกไปเป็นลาดับจนกว่าจะพบ การจัดโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล (File Organization) โดยปกติแฟ้มข้อมูลจะถูกเก็บไว้ในหน่วยความจาสารอง (secondary storage) เช่น ฮาร์ดดิสก์ เนื่องจากมีความจุข้อมูล สูงและสามารถเก็บได้ถาวรแม้จะปิดเครื่องไป ซึ่งการจัดเก็บนี้จะต้องมีวิธีกาหนดโครงสร้าง โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้การจัดเก็บและเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว ถูกต้อง และเหมาะสมกับความต้องการ การเข้าถึงและค้นคืนข้อมูล จะอาศัยคีย์ฟีลด์ในการเรียกค้นด้วยเสมอ การจัดโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลอาจจะแบ่งได้เป็น 3 ลักษณะดังนี้ 1. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบเรียงลาดับ (Sequential File Structure) เป็นโครงสร้างของแฟ้มข้อมูลชนิดพื้นฐานที่สามารถใช้งานได้ง่ายที่สุด เนื่องจากมีลักษณะการจัดเก็บข้อมูลแบบ เรียงลาดับเรคคอร์ดต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆ การอ่านหรือค้นคืนข้อมูลจะข้ามลาดับไปอ่านตรงตาแหน่งใดๆที่ต้องการ โดยตรงไม่ได้เมื่อต้องการอ่านข้อมูลที่เรคคอร์ดใดๆโปรแกรมจะเริ่มอ่านตั้งแต่เรคคอร์ดแรกไปเรื่อยๆจนกว่าจะ พบเรคคอร์ดที่ต้องการ ก็จะเรียกค้นคืนเรคคอร์ดนั้นขึ้นมา การใช้ข้อมูลเรียงลาดับนี่จึงเหมาะสมกับงานประมวลผลที่มีการอ่านข้อมูลต่อเนื่องกันไปเรื่อยๆตามลาดับและ ปริมาณครั้งละมากๆตัวอย่างเช่น ใบแจ้งหนี้ค่าบริการไฟฟ้ า น้าประปาค่าโทรศัพท์หรือค่าบริการสาธารณูปโภคอื่นๆ
  • 8. 8 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบสุ่ม (Direct/Random File Structure) เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่เข้าถึงได้โดยตรง เมื่อต้องการอ่านค่าเรคคอร์ดใดๆสามารถทาการเลือก หรืออ่านค่านั้นได้ทันที ไม่จาเป็นต้องผ่านเรคคอร์ดแรกๆเหมือนกับแฟ้มข้อมูลแบบเรียงลาดับ ซึ่งทาให้การเข้าถึง ข้อมูลได้รวดเร็วกว่า ปกติจะมีการจัดเก็บในสื่อที่มีลักษณะการเข้าถึงได้โดยตรงประเภทจานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์, ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM เป็นต้น 3. โครงสร้างของแฟ้ มข้อมูลแบบลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File Structure) เป็นลักษณะของโครงสร้างแฟ้มข้อมูลที่อาศัยกระบวนการที่เรียกว่า ISAM (Index Sequential Access Method ) ซึ่ง รวมเอาความสามารถในการเข้าถึงข้อมูลแบบสุ่มและแบบเรียงตามลาดับเข้าไว้ด้วยกัน การจัดโครงสร้างแฟ้มข้อมูล วิธีนี้ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บเรียงกันตามลาดับไว้บนสื่อแบบสุ่ม เช่น ฮาร์ดดิสก์ และการเข้าถึงข้อมูลจะทาผ่านแฟ้มข้อมูล ลาดับเชิงดรรชนี (Index Sequential File) ซึ่งทาหน้าที่ช่วยชี้และค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สามารถทางานได้ยืดหยุ่น กว่าวิธีอื่นๆโดยเฉพาะกับกรณีที่ข้อมูลในการประมวลผลมีจานวนมากๆ โครงสร้างแฟ้มข้อมูลแบบนี้จะมีหลักการทางาน คล้ายกับรูปแบบดรรชนีท้ายเล่มหนังสือที่มีการ จัดเรียงหัวเรื่องแยกไว้เป็นลาดับตามหมวดหมู่อักษร ตั้งแต่ A-Z หรือ ก-ฮ เมื่อสนใจหัวเรื่องใดโดยเฉพาะ ผู้อ่านสามารถไล่ค้นได้จากชื่อหัวเรื่องที่พิมพ์เรียงกัน ไว้เป็นลาดับนั้นเพื่อดูหมายเลขหน้าได้ซึ่งทาให้ง่าย และสะดวกมากยิ่งขึ้น
  • 9. 9 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved โครงสร้างแฟ้ม ข้อดี ข้อเสีย สื่อที่ใช้เก็บ 1. แบบเรียงลาดับ - เสียค่าใช้จ่ายน้อยและใช้งานได้ง่าย กว่าวิธีอื่นๆ - เหมาะกับงานประมวลผลที่มีการ อ่านข้อมูลแบบเรียงลาดับและใน ปริมาณมาก - สื่อที่ใช้เก็บเป็นเทปซึ่งมีราคาถูก - การทางานเพื่อค้นหาข้อมูลจะต้อง เริ่มทาตั้งแต่ต้นไฟล์เรียงลาดับไป เรื่อย จนกว่าจะหาข้อมูลนั้นเจอ ทา ให้เสียเวลาค่อนข้างมาก - ข้อมูลที่ใช้ต้องมีการจัดเรียงลาดับ ก่อนเสมอ - ไม่เหมาะกับงานที่ต้อง แก้ไข เพิ่ม ลบข้อมูลเป็นประจา เช่น งานธุรกรรมออนไลน์ เทปแม่เหล็ก เช่น เทปคาสเซ็ต 2. แบบสุ่ม - สามารถทางานได้เร็ว เพราะมีการ เข้าถึงข้อมูลเรคคอร์ดแบบเร็ว มาก เพราะไม่ต้องเรียงลาดับข้อมูล ก่อนเก็บลงไฟล์ - เหมาะสมกับการใช้งานธุรกรรม ออนไลน์ หรืองานที่ต้องการ แก้ไข เพิ่ม ลบรากการเป็นประจา - ไม่เหมาะกับงานประมวลผลที่อ่าน ข้อมูลในปริมาณมาก - การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาข้อมูล จะซับซ้อน - ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลแบบ เรียงลาดับได้ จานแม่เหล็กเช่น ดิสเก็ตต์ , ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM 3. แบบลาดับเชิง ดรรชนี - สามารถรองรับการประมวลผลได้ ทั้ง 2 แบบคือ แบบลาดับและแบบสุ่ม - เหมาะกับงานธุรกรรม ออนไลน์ ด้วยเช่นเดียวกัน - สิ้นเปลืองเนื้อที่ในการจัดเก็บ ดรรชนีที่ใช้อ้างอิงถึงตาแหน่งของ ข้อมูล - การเขียนโปรแกรมเพื่อค้นหาข้อมูล จะซับซ้อน - การทางานช้ากว่าแบบสุ่ม และมี ค่าใช้จ่ายสูง จานแม่เหล็ก เช่น ดิสเก็ตต์ , ฮาร์ดดิสก์หรือ CD-ROM ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างของแฟ้ มข้อมูล
  • 10. 10 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ประเภทของแฟ้ มข้อมูล 1. แฟ้ มข้อมูลหลัก (Master File) เป็นแฟ้มที่เก็บข้อมูลอย่างถาวร แฟ้มนี้จะไม่ค่อยมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลบ่อยนัก เพราะการ ปรับปรุงข้อมูลจะกระทาจากแฟ้มรายการ (Transaction File) ดังนั้นข้อมูลที่เก็บอยู่ในแฟ้มข้อมูล หลักจะเป็นข้อมูลที่ทันสมัย (Up to date) อยู่เสมอ สามารถนาไปอ้างอิงได้ เช่น แฟ้มข้อมูลพนักงาน แฟ้มรายการสินค้า แฟ้มข้อมูลนักศึกษา แฟ้มข้อมูลภาควิชา 2. แฟ้ มรายการ (Transaction File) เป็นแฟ้มข้อมูลชั่วคราว ที่รวบรวมการเปลี่ยนแปลง ของแฟ้มข้อมูลหลักหรือทาหน้าที่รายงานการ เปลี่ยนแปลงของแฟ้มข้อมูลหลัก มีการเก็บเป็นรายการย่อย ๆ โดยอาจจัดเรียงข้อมูลให้เหมือน แฟ้มข้อมูลหลัก เพื่อนาไปปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักให้ทันสมัย เมื่อปฏิบัติงานเสร็จสิ้นก็จะถูก ลบทิ้งโดยอัตโนมัติ ส่วนใหญ่จะเก็บข้อมูลที่ใช้ในธุรกิจประจาวัน เช่น แฟ้มข้อมูลรายการขาย สินค้าประจาวัน รายการฝากถอนเงิน ฯลฯ
  • 11. 11 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved การประมวลผลแบบแฟ้ มข้อมูลกับระบบฐานข้อมูล (File Processing VS Database Systems) การประมวลผลแบบแฟ้ มข้อมูล (File Processing) วิธีการประมวลผล (Processing Technique) การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการประมวลผลทางธุรกิจนั้นมีวิธีการประมวลผลได้หลายแบบดังนี้ 1. การประมวลผลแบบชุด (Batch Processing) คือ การประมวลผลโดยผู้ใช้จะทาการรวบรวมเอกสารที่ต้องการประมวลผลไว้เป็นชุดๆ ซึ่งแต่ละ ชุดอาจจะกาหนดเท่ากับเอกสาร 10 หรือ 20 รายการหรือมากกว่าก็ได้แต่ให้มีขนาดเท่ากัน แล้ว ป้ อนข้อมูลดังกล่าวสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ จากนั้นจึงใช้คาสั่งให้ประมวลผลพร้อมกันที่ละชุด ตัวอย่าง บริษัทหนึ่งอาจจะใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เพื่อออกบิลโดยมีการรวบรวมใบสั่งซื้อจากลูกค้า ภายในหนึ่งวันจากแผนกขาย จากนั้นก็ส่งให้แผนกคอมพิวเตอร์ทาการป้ อนข้อมูลและตรวจสอบ ความ ถูกต้องของข้อมูลก่อนที่จะเก็บบันทึกไว้จากนั้นก็จะนาข้อมูลดังกล่าวไปประมวลผล ซึ่ง อาจจะต้องอาศัยแฟ้มข้อมูลอื่นๆ มาประกอบการประมวลผล
  • 12. 12 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved 2. การประมวลผลแบบโต้ตอบ (Interactive) หมายถึง การทางานในลักษณะที่มีการโต้ตอบระหว่างผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ โดยผู้ใช้สามารถที่จะ ตรวจสอบข้อมูลได้ตลอดเวลา 3. การประมวลผลแบบออนไลน์ (Online processing) คือ การประมวลผลร่วมกันระหว่างคอมพิวเตอร์ที่ ต่อพ่วงกับระบบสื่อสาร (Communication) โดยอาศัย อุปกรณ์ต่อพ่วง เช่น โมเด็ม (Modem) ซึ่งลักษณะการทางานอาจจะมีเครื่องคอมพิวเตอร์หลายเครื่องต่อ พ่วงกันในระบบเครือข่าย (Network) ซึ่งอาจจะเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ ขนาดใหญ่ ขนาดกลางหรือ ไมโครคอมพิวเตอร์ก็ได้โดยที่เครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องไม่จาเป็นต้องอยู่ใกล้กันแต่สามารถที่จะ ติดต่อสื่อสารกันได้โดยมีการส่งผ่านข้อมูลไปมาระหว่างกัน ในระบบไมโครคอมพิวเตอร์เราอาจจะสร้าง เครือข่ายในลักษณะเครือขายเฉพาะ (Local Area Network(LAN) ซึ่งเป็นเครือข่ายใกล้ๆ หรืออาจสร้าง เครือข่ายงานกว้าง [Wide Area Network(WAN) ซึ่งเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่อยู่ห่างไกลกันมากแต่ เชื่อมต่อกันได้โดยระบบ โทรคมนาคม
  • 13. 13 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วยรายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกัน ที่จะนามาใช้ในระบบต่าง ๆ มาใช้ ร่วมกัน แนวคิดของการใช้ฐานข้อมูล ลักษณะแนวคิดของข้อมูลในฐานข้อมูลได้แก่ แนวคิดเชิงกายภาพ (physical ) และเชิงตรรกะ (logical) ในมุมมองของผู้ใช้ฐานข้อมูลหรือโปรแกรมประยุกต์ (application program) จะมองข้อมูลนั้นเป็นแฟ้มข้อมูลเชิงตรรกะ (logical file) ส่วนมุมมองของระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) จะมองข้อมูลนั้นเป็นแฟ้มข้อมูลเชิงกายภาพ (physical file) แนวคิดเชิงเชิงตรรกะ (logical) เป็นลักษณะที่ผู้ใช้มองข้อมูลเช่นเป็นฟิลด์, ระเบียน หรือแฟ้มข้อมูล เป็นต้น ส่วน แนวคิดเชิงกายภาพ (physical ) จะไม่มองเป็นฟิลด์หรือเรคอร์ดใด ๆแต่จะมองเป็นรูปแบบของบิท (bit)ที่เรียงต่อกัน เครื่องมือสาหรับจัดการฐานข้อมูล (DBMS) โดยปกติในการจัดการฐานข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์นั้นจะมี โปรแกรมที่เรียกว่า ระบบการจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS (Database Management Systems) ซึ่งเปรียบเสมือนเป็น ผู้จัดการฐานข้อมูลนั่นเอง โปรแกรมประเภทนี้มีการผลิต ออกมาหลายระบบด้วยกัน แต่ที่ได้รับความนิยมและเป็นที่ รู้จักกันดีคือ ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์หรือ RDBMS (Relational Database Management System) เช่น Oracle, Sybase, Microsoft SQL Server, Microsoft Access, MySQL เป็นต้น
  • 14. 14 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved เช่น ระบบข้อมูลลูกค้า ระบบสินค้าคงคลัง ระบบงานลงทะเบียน ระบบงานธุรกรรมออนไลน์ DBMS เป็นเหมือนตัวกลางที่ยอมให้ผู้ใช้เข้าค้นคืนข้อมูลได้โดยมีเครื่องมือสาคัยคือ ภาษาที่ใช้จัดการกับข้อมูล โดยเฉพาะเรียกว่า ภาษาเรียกค้นข้อมูล หรือ ภาษาคิวรี่ (query language) ซึ่งประกอบด้วยคาสั่งสาหรับเรียกใช้ข้อมูล แก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือลบข้อมูล และยังสามารถนาไปใช้ร่วมกับการพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ทางด้านฐานข้อมูล (Database application) ได้เป็นอย่างดี ภาษาคิวรี่ (Query language) เป็นภาษาที่ใช้สาหรับสอบถามหรือจัดการฐานข้อมูลใน DBMS โดยภาษาประเภทนี้ที่ได้รับความนิยมสูงสุดคือ ภาษา SQL (Structure Query language ) คิดค้นโดยนักวิทยาศาสตร์ของไอบีเอ็มในทศวรรษที่ 1970 มีรูปแบบคาสั่งที่ คล้ายกับประโยคในภาษาอังกฤษมาก ซึ่งปัจจุบันองค์กร ANSI (American National Standard Institute) ได้ประกาศ ให้ SQL เป็นภาษามาตรฐานสาหรับสาหรับระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Management System หรือ RDBMS) ซึ่งเป็นระบบ DBMS แบบที่ใช้กันแพร่หลายที่สุดในปัจจุบัน ลักษณะของ DBMS ระบบการจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะอานวยความ สะดวกกับผู้ใช้ คือสามารถใช้งานได้โดยที่ไม่จาเป็นต้อง ทราบถึงโครงสร้างทางกายภาพของข้อมูลในระดับที่ลึกมาก เหมือนกับการเขียนโปรแกรมของโปรแกรมเมอร์ ระบบ ดังกล่าวจะยอมให้ผู้ใช้กาหนดโครงสร้างและดูแลรักษา ฐานข้อมูลได้เป็นอย่างดี และยังสามารถควบคุมการเข้าถึง ข้อมูลในส่วนต่างๆตามระดับการใช้งานของผู้ใช้แต่ละคน ด้วย เราอาจพบเห็นการใช้งาน DBMS สาหรับการจัดการ ฐานข้อมูลได้ในองค์กรธุรกิจโดยทั่วไป
  • 15. 15 Document Name Your Company Name (C) Copyright (Print Date) All Rights Reserved ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ ทุกระบบจะใช้ คาสั่งพื้นฐานของภาษา SQL ได้เหมือนกันแต่อาจมี คาสั่งพิเศษที่แตกต่างกันบ้าง เนื่องจากบริษัทผู้ผลิตแต่ ละรายก็พยายามทีจะพัฒนา RDBMS ของตนเองให้มี ลักษณะที่เด่นกว่าระบบอื่นโดยเพิ่มคุณสมบัติที่เกิน ข้อจากัดของ ANSI ซึ่งคิดว่าเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้เข้า ไป ความสามารถโดยทั่วไปของระบบการจัดการฐานข้อมูล - แปลงคาสั่งที่ใช้จัดการกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล ให้อยู่ในรูปแบบที่ฐานข้อมูลเข้าใจ - นาคาสั่งต่าง ๆ ซึ่งได้รับการแปลแล้ว ไปสั่งให้ฐานข้อมูลทางาน เช่น การเรียกใช้ (Retrieve) จัดเก็บ (Update) ลบ (Delete) เพิ่มข้อมูล (Add) เป็นต้น - ป้ องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับข้อมูลภายในฐานข้อมูล โดยจะคอยตรวจสอบว่าคาสั่งใดที่สามารถ ทางานได้และคาสั่งใดที่ไม่สามารถทางานได้ - รักษาความสัมพันธ์ของข้อมูลภายในฐานข้อมูลให้มีความถูกต้องอยู่เสมอ - เก็บรายละเอียดต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลภายในฐานข้อมูลไว้ในพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ซึ่ง รายละเอียดเหล่านี้มักจะถูกเรียกว่า เมทาเดตา (MetaData) ซึ่งหมายถึง "ข้อมูลของข้อมูล" - ควบคุมให้ฐานข้อมูลทางานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ - ควบคุมสถานะภาพของคอมพิวเตอร์ในการแปลสถาพฐานข้อมูล ส.ท