SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 1
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในศตวรรษที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากเกษตรกรรมที่
สืบทอดกันมาช้านาน มาเป็นสังคมที่ก้าวไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ หรือ “สังคมนิกส์” ซึ่งกาลังปรากฏอยู่ใน
ชุมชนเมืองโดยทั่วไป ตัวอย่างเช่น ในย่านชาญเมืองและเขตใกล้เมืองใหญ่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่
นครสวรรค์ นครราชสีมา ชลบุลี และสงขลา เป็นต้น การขยายตัวยังเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ได้รับการ
สนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนให้พัฒนาชุมชนอุตสาหกรรมดั่งจะเห็นได้จาก การเกิดชุมชน
อุตสาหกรรมตามชายฝั่งทะเลตะวันออก ภาคใต้ และชุมชนอุตสาหกรรมต่างจังหวัด เพื่อส่งเสริมการสร้าง
งานในชุมชน เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้เป็นปัจจัยหรือตัวบ่งชี้ที่สาคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่
รายได้ประชาชาติ (GNP) สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค เช่นถนน อาคาร ไฟฟ้ า น้าประปา ศูนย์การค้า การ
ไหลเวียนของการเงินกระแสรายวัน และอานาจการใช้จ่ายเงินของประชาชน ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ของสังคมไทย ที่เคยมีความเป็นอยู่อย่างสุขสบาย ตามสบายของการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย มาเป็นสังคมที่
ต้องแข่งขัน รีบเร่งและเพิ่มบรรยากาศความตรึงเครียดในบรรยากาศของสังคมอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงลักษณะของสังคม และชุมชนดังนี้
1.การเพิ่มจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว
เมื่อมีโครงการเกิดชุมชนอุตสาหกรรม ก็มีการเกิดการสร้างงาน ทาให้เกิดการไหลของประชากรเข้าสู่ชุมชน
อย่างรวดเร็วจนเป็นสาเหตุให้เกิดประชากรแออัด กล่าวคือ เกิดจานวนประชากรมากกว่าพื้นที่รองรับและ
สิ่งสาธารณูปโภค ตลอดจนที่อยู่อาศัยไม่เพียงพอ หรือไม่เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น การย้าย
ถิ่นฐานของคนต่างจังหวัดเข้าสูกรุงเทพมหานคร หรือจากต่างอาเภอเข้าสู่หัวเมือง อาเภอเมืองของจังหวัด
ต่างๆ เพื่อมุ่งการสรรหางาน ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆต่อเนื่องในชุมชน
2. การขยายความเจริญของเมืองเป็นไปอย่างไม่หยุดยั้ง
เมื่อมีการเพิ่มจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาเพิ่มพื้นที่ธุรกิจการค้า เขตชุมชนและ
อุตสาหกรรม ตลอดศูนย์กลางธุรกิจการค้า ก็มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง การกาหนดเขตย่าน
ศูนย์กลางชุมชน เขตสุขาภิบาล หรือเทศบาล ต่างก็ขยายตัวออกไปในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เกิดการสร้าง
ย่านธุรกิจการค้านอกเมือง หรือชาญเมือง หมู่บ้านและที่พักอาศัย ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวก และ
สถานบริการหรือสวัสดิการของชุมชนในบริเวณพื้นที่ที่ขยายตัว ดั่งตัวอย่างบริเวณพื้นที่ของ
กรุงเทพมหานคร จากเดิมแบ่งเขตเป็น 12 เขต เพื่อการปกครองท้องถิ่น ได้มีการขยายเขต เนื่องจากการ
เจริญเติบโตของความเป็นเมืองท้องถิ่น เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิมในอดีตเป็นอีกหลายเขตการปกครอง
3. เกิดภาวะเงินเฟ้ อ และเงินฟุบ
การเจริญเติบโตของความเป็นเมือง และประชากรเพิ่มขึ้นในเขตเมืองอย่างรวดเร็ว และต่อเนื่อง
การขยายตัวของชุมชนอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการสร้างงาน รายได้ของประชากรก็ดีขึ้นประชาชนมีอานาจ
การจับจ่ายใช้สอย สถาบันและระบบการเงินก็เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ก่อให้เกิดการขยายตัวในด้านสินค้า
ราคาที่ดินที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ ศูนย์การค้า มีราคาสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และต่อเนื่อง ยิ่งเป็นแรงเสริม
ให้ชาวนา ชาวสวน ส่วนหนึ่งขายที่ดิน ที่นา เพื่อยกสถานะภาพของตนเอง และยกเลิกอาชีพเกษตรกรไปไม่
น้อย อย่างไรก็ตาม การขยายตัวในเรื่องราคาสินค้า และที่ดินอย่างรวดเร็ว และในอัตราสูง ก่อให้เกิด
อานาจการซื้อจับจ่ายใช้สอยของประชาชนมีขีดจากัด โดยเฉพาระอย่างยิ่งสังคมระดับกลาง เช่น
ข้าราชการ และสังคมระดับต้น ไม่สามารถจะจัดหาสิ่งที่ต้องการขั้นพื้นฐานได้เพียงพอ เกิดภาวะเงินเฟ้ อขึ้น
และในกรณีภาวะเศรษฐกิจการเมืองที่จะก่อสงครามของประเทศคูเวต และอีรัก ก่อให้เกิดกรณีน้ามันขึ้น
ราคาสูง จึงกระทบกระเทือนธุรกิจการค้า ชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนชาวไทย และโลกเป็นภาวะเงินฟุบ
กระทบกระเทือนต่อการพัฒนาของเศรษฐกิจของประเทศ และของโลกอย่างรุนแรงเกิดภาวะเงินตรึงตัว
ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของโลกชะงัก และก่อให้เกิดความยากลาบาก และความยากจนแกชุมชน
มากขึ้น
4. การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม
สังคมเกษตรกรรม ซึ่งประชาชนมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สนุกสนาน มีเวลาว่างมากไม่รีร้อน มีความ
ร่วมมือในชุมชน และสังคมเป็นแบบกันเอง เช่น การลงแขกในประเพณีเกี่ยวข้าว เทศการและประเพณีของ
เกษตรกร ขนาดของครอบครัวค่อนข้างใหญ่ คือ มีตั้งแต่ 4 – 10 คน ได้มีการเปลี่ยนวิถีชีวิตเป็นสังคม
อุตสาหกรรมใหม่ ซึ่งมีลักษณะวิถีชีวิตที่เร่งรีบ มีการแข่งขันกับตนเอง และกับกลุ่มผู้ร่วมงานในด้านความ
ประสบความสาเร็จ และความสาฤทธิ์ผล มีการจัดระบบ ระเบียบ กฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน และคุณภาพ
ชีวิตจะเน้นทางด้านวัตถุธรรมมากกว่าคุณธรรม บุคคลจะเริ่มห่างไกลธรรมชาติ แต่จะใกล้ชิดวัตถุเครื่องกล
ขนาดของครอบครัวจะเล็กลงเนื่องจากความจาเป็นในด้านการครองชีพทางเศรษฐกิจ เป็น 2 – 4 คนในหนึ่ง
ครอบครัว และแนวคิดค่านิยมต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว บุคคลจะเน้นในเรื่องของการพึ่งพา
ตนเองมากขึ้น ความเห็นแก่ตัวก็จะมากขึ้น การเน้นในเรื่องความสัมฤทธิ์ผลของทีม และของกลุ่มมากขึ้น
วัฒนธรรมทางตะวันตกก็จะมีอิทธิพลมากขึ้นในขณะที่เยาวชนลดความนิยมในวัฒนธรรมดั้งเดิมลง
พฤติกรรมเบี่ยงเบนของเยาวชนก็จะมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการนากิจกรรมและสิ่งเสพติดมาเผยแพร่ในกลุ่ม
เยาวชนมากขึ้น อุปสรรคปัญหา และความเครียดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของสังคมเกษตรกรรม
มาเป็นอุตสาหกรรมนั้น เป็นไปอย่างรวดเร็วกว่าชุมชนจะรับได้ เกิดเป็นความเครียดทางจิตใจ เพิ่มความ
วิตกกังวลทางจิตใจในสังคมมากขึ้น
5. สภาพแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษ
สภาพแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษที่กาลังประสบอยู่ในกรุงเทพมหานคร และชุมชนอุตสาหกรรม
ชานเมือง กาลังอยู่ในขั้นวิกฤติที่น่าเป็นห่วงมาก จากการสารวจมลภาวะเป็นพิษในปี 2532 ของ
กรุงเทพมหานคร พบว่า ขณะนี้มลภาวะอากาศในย่านชุมชนแออัด 8 แห่งของกรุงเทพมหานคร สูงกว่า
มาตรฐานสากล ที่ยอมรับได้ 7 – 8 เท่า ทาให้สื่อมวลชนต่างประเทศตระหนกตกใจทีเดียว ทั้งนี้เพราะ
ประเทศไทยกาลังเป็นแหล่งอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเอเชีย และของโลก มลภาวะเป็นพิษทางอากาศ เป็น
ภัยร้ายแรงต่อสุขภาพอนามัยของสังคม เพราะก่อให้เกิดสาเหตุของโรคทางเดินหายใจ จากการรายงาน
สุขภาพของอเมริกัน ได้ศึกษาเปรียบเทียบว่า โทษของควันพิษที่เราสูดเข้าไปขณะที่ยืนคอยรถโดยสารอยู่ใน
ย่านโรงงานอุตสาหกรรม เพียง 15 นาที มีค่าเท่ากับสูบบุหรี่ 1 ซองเลยทีเดียว ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของ
รัฐบาลและประชาชนทุกคนจะต้องรณรงค์แก้ไขมลภาวะนี้ด่วน
6. ความเครียดทางสังคมส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต
ปัญหาและอุปสรรคของสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรมนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น มลภาวะ
และสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม การขยายตัวของเมือง ตลอดจนประชากร
แออัด ซึ่งปัญหาเหล่านี้ก่อให้เกิดเป็นสาเหตุความเครียดของจิตใจ จากรายงานของสมาคมสุขภาพจิต
พบว่า ในปัจจุบันอัตราคนเป็นโรคจิตสูงขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมเมืองหลวง อันเนื่องเกิด
จากความเครียดทางสังคม ส่งผลทางด้านจิตใจ ความเครียดทางสังคม ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางกายของ
บุคคลได้เช่นกัน ซึ่งทาให้มีผู้ทานายว่าในอนาคตอายุไขเฉลี่ยของคนไทยจะลดลง สภาพแวดล้อมเป็นพิษ
จะเป็นสาเหตุก่อให้เกิด โรคต่างๆมากมายอันจะเป็นตัวพล่าชีวิตของคนไทยมากขึ้น
7. ปัญหาการจราจรติดขัด
ปัญหาสภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน ที่ก่อให้เกิดเป็นความเครียดของสังคมที่สาคัญ ได้แก่
การจราจรติดขัด คณะกรรมาธิการผู้แทนราษฎรได้รายงาน และพยายามหาแนวทางการแก้ไขจราจรติด
ขัดข้องกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะการจราจรติดขัดก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เป็น
การสิ้นเปลืองพลังงานน้ามัน และแก๊สของรถยนต์ และยังก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษทางอากาศ ก่อให้เกิด
การทาลายบรรยากาศโอโซนของโลกลดลง ขาดการสมดุลในอัตราส่วนที่เหมาะสม อันจะเป็นปัญหา
ต่อเนื่อง ที่จะทาให้เกิดการทาลายธรรมชาติ คือ เกิดการละลายหิมะภูเขาทางขั้วโลก อันจะเป็นสาเหตุ
ก่อให้เกิดน้าท่วมโลกได้
8. ปัญหาอาชญากรรม และพฤติกรรมเยาวชนเบี่ยงเบน
จากการเกิดความเครียดทางสังคม อันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมเป็นพิษ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม
เปลี่ยนแปลง การผันแปรทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของเมือง และประชากรแออัด ก่อให้เกิดปัญหา
พฤติกรรมของสังคม และเยาวชนที่เบี่ยงเบนในทางไม่พึงประสงค์มากขึ้น เป็นปัญหาต่อเนื่องในสังคม การ
ปรับตัวของบุคคลไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว เกิดปัญหาอาชญากรรมขึ้น
เยาวชนได้รับอิทธิพลจากสื่อมวลชนในด้านพฤติกรรมก้าวร้าว ไม่พึงประสงค์ การนาเอาค่านิยม และ
พฤติกรรมของสังคมอื่นๆ มาใช้ในวัฒนธรรมท้องถิ่น ก่อให้เกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบน ปัญหาการปรับตัว
ความเครียด และการชักนาของกลุ่ม ทาให้เยาวชนส่วนหนึ่งหันมานิยมสิ่งเสพติดให้โทษ ซึ่งเป็นการทาลาย
ทรัพยากรมนุษย์ของชาติ
9. ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์
ในขณะที่สังคมไทยกาลังมีการเปลี่ยนแปลงจากเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรมใหม่นั้น ประเทศที่มี
การพัฒนาแล้วก็ได้พัฒนาจากอุตสาหกรรมสู่สังคมคอมพิวเตอร์และยุวอวกาศ ซึ่งได้มีการพัฒนาด้าน
คอมพิวเตอร์สาหรับสิ่งอานวยความสะดวก ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ ซึ่งก็ส่งผลสะท้อนมาที่
ประชากรโลกอย่างรวดเร็ว กล่าวคือ เทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ได้ถูกนามาประยุคใช้
เพื่อก่อความสะดวกสบายในสังคมและประชากรโดยทั่วไป เช่น ระบบการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ คมนาคม
ก่อให้เกิดปัญหาการทาเทคโนโลยีมาใช้ในทางไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดอันตรายต่อสังคม และประชากรโลก
เช่น การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ใหญ่ เช่น เลื่อยไฟฟ้ า ช่วยขุด ตักดิน ตัดต้นไม้ ทาลายป่าอย่างรวดเร็ว
ก่อให้เกิดความไม่สมดุลทางธรรมชาติ ทาให้เกิดภาวะอุทกภัย น้าท่วม เขื่อนพัง ไฟไหม้ เป็นต้น
บทสรุป
การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม สังคมอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงที่ติดตามมา เช่น การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว การขยายความเป็นเมือง ภาวะการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษ ความเครียดทาง
สังคมต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต ปัญหาการจราจรติดขัด อาชญากรรม และพฤติกรรมเยาวชนเบี่ยงเบน
และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นปัญหาของสังคม และประเทศชาติ
คุณภาพชีวิต
สภาพแวดล้อมของสังคมไทย สู่ยุคอุตสาหกรรมใหม่ ทาให้บุคคลต่างก็มีความมุ่งหวังที่จะสรรหา
สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม ให้
เป็นที่อบอุ่นน่าอยู่อาศัย หรืออาจจะกล่าวได้ว่า บุคคลมีความต้องการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตให้อยู่ใน
สังคมอย่างมีความสุขตามอัตภาพ
คาว่า “คุณภาพชีวิต” จึงเป็นคาในปัจจุบันหรือช่วงหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา นิยมนามาใช้กันอย่าง
แพร่หลายเมื่อลองพิจารณาวิเคราะห์ดู จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบ หรือปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมให้บุคคลและ
ชุมชนมีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่นั้นเริ่มมีเกณฑ์ และมาตรฐานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าหรือ
ตีความหมายของคุณภาพชีวิต
คุณภาพชีวิต หมายถึง การพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ความรู้
ความคิด ความสามารถ คุณธรรม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอาชีพ และจิตใจเป็นสิ่งสาคัญ
อย่างยิ่งอาจจะกล่าวโดยสรุปว่า คุณภาพชีวิตเป็นการพัฒนาคุณภาพของคนในทุกๆด้าน ทุกขั้นตอน และ
ระดับวัยของชีวิตเพื่อให้ได้มาซึ่งการดารงชีวิตในสังคมที่ดีขึ้น
เพื่อให้นโยบายและเป้ าหมายบรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสังคมไทย รัฐบาล
ได้มอบหมายให้องค์กรของรัฐที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ 6 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม
และกระทรวงมหาดไทย ร่วมกันหาแนวทางในการที่จะปรับปรุงคุณภาพชีวิตของสังคมไทย ซึ่งประชากร
ส่วนใหญ่มีที่อาศัยอยู่ในเขตชนบท กระทรวงดังกล่าวจึงได้จัดตั้งโครงการที่เรียกว่า “จปฐ 8” หรือความ
จาเป็นขั้นพื้นฐาน 8 ประการ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติพัฒนาให้ชุมชนบทได้มีคุณภาพชีวิตดังนี้
1.กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะในปริมาณที่เพียงพอ
2.มีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม
3.ได้รับบริการพื้นฐานที่จาเป็น
4.มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
5.มีการผลิตรายได้ที่เพียงพอ
6.มีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น
7.สามารถควบคุมช่วงเวลาของการมีบุตรและจานวนบุตรได้
8.ประพฤติปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี และหลักธรรมของศาสนา และรักษาส่งเสริม
กิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ
คุณภาพชีวิตในสังคมหนึ่งก็มีมาตรฐานเกณฑ์ และองค์ประกอบที่แตกต่างกัน เพื่อให้การศึกษา
คุณภาพชีวิตมีความหมายยิ่งขึ้น จึงนาเอาองค์ประกอบและเกณฑ์ของชาวออสเตรเลีย และชาวอเมริกันมา
ศึกษาประกอบ
โฮเวล ได้อธิบายความหมายของคุณภาพชีวิตของชาวออสเตรเลียว่า เป็นความสมดุลของ
สภาพแวดล้อมของบุคคลทั้ง 4 ด้าน คือ ทางกาย ทางสังคม ทางจิตใจ และทางวัฒนธรรม เพื่อที่จะนาไปสู่
ความสุข ความสาเร็จในชีวิตเท่าที่บุคคลจะกระทาได้โดยสรุปลักษณะคุณภาพชีวิตไว้ดังนี้
1.มีชีวิตที่ปราศจากโลกภัยไข้เจ็บทั้งทางร่างกายและจิตใจ
2.มีโอกาสที่พัฒนาความสามารถและการศึกษาให้ก้าวไปสู่ความสาเร็จขั้นสูงสุด ที่บุคคลพึง
กระทาได้
3.มีเวลาและโอกาสที่เพียงพอที่บุคคลพึงมีส่วนร่วมในกิจกรรม เวลาว่าง หรือนันทนาการ
4.มีที่อยู่อาศัยที่สะดวกสบายเพียงพอ และมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย
5. มีความมั่นคงและปลอดภัยในส่วนบุคคลและชุมชน
6.มีรายได้หรือสื่ออานวยความสะดวกทางเศรษฐกิจที่เพียงพอ สามารถจับจ่ายใช้สอยในสิ่งที่
จาเป็น เพื่อเกิดความพึงพอใจได้
7.มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมสังคมดีพอสมควร
8.มีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถขั้นสูงสุดในหน้าที่การงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
เคราส์ ได้ศึกษาสารวจความคิดเห็นของชาวอเมริกันเกี่ยวกับเรื่องของคุณภาพชีวิต และ
องค์ประกอบที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชาวอเมริกัน โดยแบ่งออกเป็น 12 ประการ ตามอันดับความสาคัญ
ดังต่อไปนี้
1.การยอมรับผู้อื่นและตนเอง รวมถึงความมั่นใจในตนเอง
2.ความสัมฤทธิ์ผล กล่าวคือบุคคลควรจะเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมความสาฤทธิ์ผล
3.สุขภาพ การมีสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิตที่ดี
4.มีความรัก ความเข้าใจ รวมทั้งความผูกพันเกี่ยวข้องกับชุมชน
5.มีอิสระแห่งตนในเรื่องสิทธิเสรีภาพของบุคคลและสังคม
6.การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่มและสังคม
7.มีความมั่นคง และความปลอดภัย
8.มีเศรษฐกิจสะพัด รวมถึงสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอ
9.มีกิจกรรมที่ท้าทาย กิจกรรมก่อให้เกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
10.มีสถานภาพทางชุมชน มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในชุมชน
11.มีความคิดสร้างสรรค์
12.นากลุ่ม และควบคุมสถานการณ์ได้ตลอดจนมีผู้ใต้บังคับบัญชา
จรวยพร ธรณินทร์ และสุวรรณ ทองหนุน ได้สนับสนุนว่า การกีฬา และนันทนาการ สามารถ
พัฒนาคุณภาพชีวิตได้ในด้านสุขภาพ บุคลิกภาพ และลักษณะนิสัย และช่วยพัฒนาชุมชนและเด็กได้ดังนี้
1.สามารถแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ
2.มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
3.มีค่านิยมที่ดี
4.มีเหตุผลเชิงจริยธรรม
5.มีความเข้าใจในพฤติกรรมของมนุษย์
6.มีสุขภาพและสมรรถภาพดี
7.มีความคาดหวังในอนาคต
นอกจากนี้นายแพทย์ ประเวศ วะสี ได้สรุปสังคมที่มีคุณภาพ มี่ความสุข บุคคลควรมี
1.มีงานทามีรายได้
2.มีความปลอดภัย
3.มีศีลธรรมจริยธรรม
4.มีสุขภาพจิตและกายดี
กล่าวโดยสรุป ปัจจัยองค์ประกอบหรือกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและสังคมนั้นมี
ความหลากหลายและเกณฑ์มาตรฐานที่แตกต่างกัน แต่ส่วนองค์ประกอบหรือปัจจัยที่เหมือนกันได้แก่
1.การมีสุขภาพทางกาย และสุขภาพทางจิตดี
2.มีที่อยู่อาศัยที่สะดวกสบาย เพียงพอ และปลอดภัย
3.มีรายได้ เศรษฐกิจที่เพียงพอที่จะจัดหาสิ่งจาเป็นได้
4.มีโอกาสที่จะพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถของตนสู่ความสาเร็จขั้นสูงสุด
5.มีเหตุผล มีคุณธรรม และจริยธรรมที่ดี
6.มีโอกาสและเวลาที่จะเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในช่วงเวลาว่าง
7.มีจุดมุ่งหมาย และเป้ าประสงค์ในชีวิต
8.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อชุมชน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน
9.มีความคิดสร้างสรรค์ และคิดในทางที่ดี
10.มีอิสรภาพแก่ตนเอง และในสังคม
องค์ประกอบเหล่านี้ถ้าพิจารณาโดยถ่องแท้จะหาได้จากกิจกรรมนันทนาการ ซึ่งสามารถส่งเสริม
ปัจจัยเหล่านี้ได้มากทีเดียว เคร้าส์ ยืนยันงานวิจัยสารวจความคิดเห็นของคนอเมริกันเกี่ยวกับกิจกรรม
นันทนาการที่มีส่วนพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและสังคม โดยเสนอเป็นเปอร์เซ็นที่กิจกรรมนันทนาการ
ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต ดังนี้
1.การยอมรับตนเอง และผู้อื่น
2.ความสัมฤทธิ์ผล
3.สุขภาพกาย จิต
4.ความรักความเข้าใจ
5.อิสรภาพบุคคลและสังคม
6.การมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับกลุ่ม
7.ส่งเสริม การท้าทาย เสี่ยง
8.ส่งเสริมความปลอดภัย
9.อานวยความสะดวก
10.ส่งเสริมสถานะภาพ
11.ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
12.ส่งเสริมปมเคน
ดังนั้น นันทนาการจึงเป็นกระบวนการที่จะใช้กิจกรรมเวลาว่าง หรือนันทนาการช่วยพัฒนา
คุณภาพชีวิตของสังคมไทยในปัจจุบัน
แรงจูงใจที่ชุมชนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ
นันทนาการเป็นปัจจัยที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่งของชีวิต โดยเฉพาะอย่ายิ่งในสภาพของสังคม
ที่ก้าวไปสู่ความเป็นนิกส์ในปัจจุบัน ปกติบุคคลจะใช้เวลาการทางาน หรือศึกษาเล่าเรียน 8 – 10 ชั่วโมง ใช้
เวลาปฏิบัติหน้าที่ ภารกิจ ในชีวิตประจาวัน เวลารับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ และช่วงเวลาว่าง
อิสระ โดยปกติคนเราจะมีเวลาว่าง 2 – 4 ชั่วโมงต่อวัน กิจกรรมนันทนาการ จึงมีบทบาทสาคัญที่ช่วย
พัฒนาคุณภาพชีวิต ช่วยพัฒนาทางด้านอารมณ์ และจิตใจของสังคม จากการวิจัยศึกษาพฤติกรรมของคน
นี้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ พอสรุปออกมาได้เป็น 8 ประเภทได้แก่
11.พฤติกรรมพื้นฐานทางสังคม ( SOCIAL BEHAVIORS )
กิจกรรมนันทนาการหลายประเภท ส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ของชุมชน เช่น กิจกรรม
เต้นรา การนัดพบ เกี้ยวสาว งานปาร์ตี้การเยี่ยมญาติ เป็นต้น
2.พฤติกรรมเกี่ยวข้องผูกพัน ( ASSOCIATIVE BEHAVIORS )
กิจกรรมนันทนาการส่งเสริมผู้ที่มีส่วนร่วม หรือสมาชิกกลุ่มให้มีความผูกพัน สนใจร่วมงานกันในชุมชน เช่น
สโมสรผู้รักสัตว์ สมาคมรักรถ งานอดิเรก กลุ่มอนุรักษ์โบราณวัตถุ ชมรมท่องเที่ยวไทย เป็นต้น
3.พฤติกรรมเชิงแข่งขัน ( COMPETITIVE BEHAVIORS )
กิจกรรมนันทนาการช่วยส่งเสริมสภาพการณ์การแข่งขัน การประกวด หรือทดสอบความสามารถกิจกรรม
กิจกรรมท้าทายใฝ่สัมฤทธิ์ของมนุษย์ เช่น เกมส์กีฬา และกีฬาเพื่อการแข่งขัน การแสดงละคร การประกวด
ความสามารถต่างๆ เป็นตน
4.พฤติกรรมเสี่ยงอันตราย ท้าทายความสามารถ ( RISK – TAKING BEHAVIORS )
โดยธรรมชาติ มนุษย์ต้องการกิจกรรมเสี่ยงอันตราย และท้าทายความสามารถ หรือพิสูจน์ความสามารถ
เพื่อความเป็นเลิศ เช่น แข่งรถ แข่งเรือ กระโดดร่ม ปีนเขา ล่องแก่ง เป็นต้น
5.พฤติกรรมบุกเบิกค้นหา ( EXPLORATORY BEHAVIORS )
กิจกรรมนันทนาการ ที่ส่งเสริมการบุกเบิกค้นหา ได้แก่ การท่องเที่ยว การตั้งค่ายพักแรม การเดินป่า การไต่
เขา การผจญภัยใต้น้า การผจญภัยในวัฒนธรรมใหม่ เป็นต้น
6.พฤติกรรทดแทน ( ส่งเสริม ) ( VICARIOUS BEHAVIORS )
กิจกรรมนันทนาการ ประเภท อ่าน พูด เขียนในวรรณกรรม ช่วยเสริมสร้างความรู้สึกและประสบการณ์
ทดแทนได้ รวมทั้งรายการโทรทัศน์ วีดีโอ วิทยุ การแสดงละคร นาฏศิลปะ และศิลปกรรม เป็นต้น
7.สิ่งกระตุ้นทางประสาทสัมผัส ( AENSORY STIMULATION )
กิจกรรมนันทนาการทางสังคม และนันทนาการพิเศษต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะส่งเสริมกิจกรรมสังสรรค์เฉลิม
ฉลองความสุข สนุกสนาน กิจกรรมที่มีสิ่งกระตุ้นทางประสาทสัมผัสต่างๆ เช่นการดื่มของเมา ประเภท
แอลกอฮอล์ ยาเสพติด และกิจกรรมเพศสัมพันธ์ เป็นต้น
8.การแสดงออกทางร่างกาย ( PHYSICAL EXPRESSION )
ซึ่งกิจกรรมประเภทเกมส์กีฬา การเต้นรา กิจกรรมเข้าจังหวะ ระบาบัลเล่ย์ แจสแด๊นซ์ ถือว่าเป็น
กิจกรรมการแสดงออกทางกาย
นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพฤติกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ กิจกรรมการทดสอบทางปัญญา
เช่น การเขียน การสัมมนา โต้วาที ซึ่งการกระทาด้วยความสมัครใจ พัฒนาทางจิตใจ เป็นต้น
1.ต้องการสร้างประสบการณ์ใหม่
2.ต้องการเป็นที่ยอมรับหรือยกย่องจากผู้อื่น
3.ต้องการพักผ่อนหย่อนใจเพื่อหนีความเครียด
4.ต้องการความมั่นคงปลอดภัย
5.ต้องการเป็นเจ้า เป็นผู้นากลุ่ม หรือควบคุมสถานการณ์
6.ต้องการการตอบสนอง และมีปฏิกิริยาทางสังคม
7.ต้องการกิจกรรมทางจิตใจ เพื่อก่อให้เกิดอารมณ์สุขสงบ
8.ต้องการความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาความคิด
9.ต้องการบริการผู้อื่นและอยากจะเป็นที่ต้องการ
10.ต้องการกิจกรรมการเคลื่อนไหว และแบบทดสอบการวัดสมรรถภาพ
บทสรุป
การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย จากเดิมเกษตรกรรม มาเป็นสังคมอุตสาหกรรมใหม่ ก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมต่างๆ เช่น การเพิ่มประชากร การขยายความเป็นเมือง ความเจริญทางเศรษฐกิจ วิถี
ชีวิต และวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม และมลภาวะเป็นพิษ สุขภาพกายและจิตเสื่อม ปัญหา
การจราจรติดขัด อาชญากรรม และพฤติกรรมเยาวชนเบี่ยงเบน และความเจริญทางเทคโนโลยี และ
วิทยาศาสตร์ ส่งผลให้เกิดภาวะความตรึงเครียดทางจิตใจของบุคคล และสังคม แหล่งนันทนาการ และ
กิจกรรมนันทนาการ ซึ่งจัดโดยองค์กรของรัฐ เช่น สานักสวัสดิการสังคมของรัฐ กรมป่าไม้ กองพัฒนาชุมชน
หรือสานักการบริหารราชการส่วนจังหวัด เป็นต้น

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาAoun หมูอ้วน
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1Pak Ubss
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6teerachon
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
ค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรมค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรมphochai
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์Sivagon Soontong
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหารDuangsuwun Lasadang
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2Kritsada Changmai
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
กริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อย
กริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อยกริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อย
กริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อยสมใจ จันสุกสี
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษาการแนะแนวและให้คำปรึกษา
การแนะแนวและให้คำปรึกษา
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
บันการฝึกซ้อมนักกีฬาฟุตบอล ทีมอุบล ยูเอ็มที สัปดาห์ที่ 1
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(หลักภาษา) ม.6
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
ค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรมค่ายคุณธรรม
ค่ายคุณธรรม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง การสื่อสารของมนุษย์
 
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหารใบความรู้เรื่อง  การถนอมอาหาร
ใบความรู้เรื่อง การถนอมอาหาร
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
โครงงานปลาเค็มตากแห้ง2
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
กริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อย
กริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อยกริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อย
กริยา 3 ช่อง แบบง่าย ๆ ที่ใช้บ่อย
 

Viewers also liked

1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการteaw-sirinapa
 
การนันทนาการ
การนันทนาการการนันทนาการ
การนันทนาการChamchang
 

Viewers also liked (9)

1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
 
การนันทนาการ
การนันทนาการการนันทนาการ
การนันทนาการ
 

Similar to บทที่ 1

Gat pre admissions 2555 (with key)
Gat pre admissions 2555 (with key)Gat pre admissions 2555 (with key)
Gat pre admissions 2555 (with key)Pim DukDui
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยKlangpanya
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189Raveewin Bannsuan
 
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุปบ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุปfreelance
 
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021Surapon Boonlue
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesThira Woratanarat
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0maruay songtanin
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559Utai Sukviwatsirikul
 
Social Enterprise And Community Volunteer
Social Enterprise And Community VolunteerSocial Enterprise And Community Volunteer
Social Enterprise And Community VolunteerChaiyoot Chamnanlertkit
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1freelance
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11Ong-art Chanprasithchai
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกFURD_RSU
 

Similar to บทที่ 1 (20)

Gat pre admissions 2555 (with key)
Gat pre admissions 2555 (with key)Gat pre admissions 2555 (with key)
Gat pre admissions 2555 (with key)
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
 
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุปบ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
บ้านหลังเขียว --พลวัตชุมชนบ้านเปร็ดในภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง สรุป
 
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
สัมมนาการพัฒนาศักยภาพองค์กร 2021
 
Group2
Group2Group2
Group2
 
Group2
Group2Group2
Group2
 
Group2
Group2Group2
Group2
 
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case StudiesHealth Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
Health Research Translation: State of the Art Review and Case Studies
 
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
Sustainability of production 4.0 การผลิตอย่างยั่งยืน 4.0
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
รายงานสุขภาพคนไทย ปี 2559
 
Asia2030 mam
Asia2030 mamAsia2030 mam
Asia2030 mam
 
Social Enterprise And Community Volunteer
Social Enterprise And Community VolunteerSocial Enterprise And Community Volunteer
Social Enterprise And Community Volunteer
 
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1บ้านเพชร พระราม 2  --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
บ้านเพชร พระราม 2 --เศรษฐกิจพอเพียงวิถีแห่งความสมดุลpart1
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
ส่วนที่ 1 สรุปสาระสำคัญแผนฯ 11
 
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลกอี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
อี้อู (义乌) เมืองการค้าโลก การพัฒนาเมืองตอนใน สู่เมืองการค้าโลก
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการteaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (20)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
 
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
 

บทที่ 1

  • 1. บทที่ 1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ การเปลี่ยนแปลงสังคมไทยในศตวรรษที่ผ่านมา การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากเกษตรกรรมที่ สืบทอดกันมาช้านาน มาเป็นสังคมที่ก้าวไปสู่อุตสาหกรรมใหม่ หรือ “สังคมนิกส์” ซึ่งกาลังปรากฏอยู่ใน ชุมชนเมืองโดยทั่วไป ตัวอย่างเช่น ในย่านชาญเมืองและเขตใกล้เมืองใหญ่ กรุงเทพมหานคร เชียงใหม่ นครสวรรค์ นครราชสีมา ชลบุลี และสงขลา เป็นต้น การขยายตัวยังเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ได้รับการ สนับสนุนจากนโยบายของรัฐบาลที่สนับสนุนให้พัฒนาชุมชนอุตสาหกรรมดั่งจะเห็นได้จาก การเกิดชุมชน อุตสาหกรรมตามชายฝั่งทะเลตะวันออก ภาคใต้ และชุมชนอุตสาหกรรมต่างจังหวัด เพื่อส่งเสริมการสร้าง งานในชุมชน เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนี้เป็นปัจจัยหรือตัวบ่งชี้ที่สาคัญทางเศรษฐกิจ ได้แก่ รายได้ประชาชาติ (GNP) สิ่งก่อสร้างสาธารณูปโภค เช่นถนน อาคาร ไฟฟ้ า น้าประปา ศูนย์การค้า การ ไหลเวียนของการเงินกระแสรายวัน และอานาจการใช้จ่ายเงินของประชาชน ซึ่งทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ของสังคมไทย ที่เคยมีความเป็นอยู่อย่างสุขสบาย ตามสบายของการใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย มาเป็นสังคมที่ ต้องแข่งขัน รีบเร่งและเพิ่มบรรยากาศความตรึงเครียดในบรรยากาศของสังคมอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงลักษณะของสังคม และชุมชนดังนี้ 1.การเพิ่มจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว เมื่อมีโครงการเกิดชุมชนอุตสาหกรรม ก็มีการเกิดการสร้างงาน ทาให้เกิดการไหลของประชากรเข้าสู่ชุมชน อย่างรวดเร็วจนเป็นสาเหตุให้เกิดประชากรแออัด กล่าวคือ เกิดจานวนประชากรมากกว่าพื้นที่รองรับและ สิ่งสาธารณูปโภค ตลอดจนที่อยู่อาศัยไม่เพียงพอ หรือไม่เป็นอัตราส่วนที่เหมาะสม ตัวอย่างเช่น การย้าย ถิ่นฐานของคนต่างจังหวัดเข้าสูกรุงเทพมหานคร หรือจากต่างอาเภอเข้าสู่หัวเมือง อาเภอเมืองของจังหวัด ต่างๆ เพื่อมุ่งการสรรหางาน ก่อให้เกิดปัญหาต่างๆต่อเนื่องในชุมชน 2. การขยายความเจริญของเมืองเป็นไปอย่างไม่หยุดยั้ง เมื่อมีการเพิ่มจานวนประชากรอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาเพิ่มพื้นที่ธุรกิจการค้า เขตชุมชนและ อุตสาหกรรม ตลอดศูนย์กลางธุรกิจการค้า ก็มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง การกาหนดเขตย่าน ศูนย์กลางชุมชน เขตสุขาภิบาล หรือเทศบาล ต่างก็ขยายตัวออกไปในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง เกิดการสร้าง ย่านธุรกิจการค้านอกเมือง หรือชาญเมือง หมู่บ้านและที่พักอาศัย ตลอดจนสิ่งอานวยความสะดวก และ สถานบริการหรือสวัสดิการของชุมชนในบริเวณพื้นที่ที่ขยายตัว ดั่งตัวอย่างบริเวณพื้นที่ของ
  • 2. กรุงเทพมหานคร จากเดิมแบ่งเขตเป็น 12 เขต เพื่อการปกครองท้องถิ่น ได้มีการขยายเขต เนื่องจากการ เจริญเติบโตของความเป็นเมืองท้องถิ่น เพิ่มขึ้นมากกว่าเดิมในอดีตเป็นอีกหลายเขตการปกครอง 3. เกิดภาวะเงินเฟ้ อ และเงินฟุบ การเจริญเติบโตของความเป็นเมือง และประชากรเพิ่มขึ้นในเขตเมืองอย่างรวดเร็ว และต่อเนื่อง การขยายตัวของชุมชนอุตสาหกรรมก่อให้เกิดการสร้างงาน รายได้ของประชากรก็ดีขึ้นประชาชนมีอานาจ การจับจ่ายใช้สอย สถาบันและระบบการเงินก็เป็นส่วนหนึ่งของชุมชน ก่อให้เกิดการขยายตัวในด้านสินค้า ราคาที่ดินที่อยู่อาศัย อาคารพาณิชย์ ศูนย์การค้า มีราคาสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว และต่อเนื่อง ยิ่งเป็นแรงเสริม ให้ชาวนา ชาวสวน ส่วนหนึ่งขายที่ดิน ที่นา เพื่อยกสถานะภาพของตนเอง และยกเลิกอาชีพเกษตรกรไปไม่ น้อย อย่างไรก็ตาม การขยายตัวในเรื่องราคาสินค้า และที่ดินอย่างรวดเร็ว และในอัตราสูง ก่อให้เกิด อานาจการซื้อจับจ่ายใช้สอยของประชาชนมีขีดจากัด โดยเฉพาระอย่างยิ่งสังคมระดับกลาง เช่น ข้าราชการ และสังคมระดับต้น ไม่สามารถจะจัดหาสิ่งที่ต้องการขั้นพื้นฐานได้เพียงพอ เกิดภาวะเงินเฟ้ อขึ้น และในกรณีภาวะเศรษฐกิจการเมืองที่จะก่อสงครามของประเทศคูเวต และอีรัก ก่อให้เกิดกรณีน้ามันขึ้น ราคาสูง จึงกระทบกระเทือนธุรกิจการค้า ชีวิตความเป็นอยู่ของชุมชนชาวไทย และโลกเป็นภาวะเงินฟุบ กระทบกระเทือนต่อการพัฒนาของเศรษฐกิจของประเทศ และของโลกอย่างรุนแรงเกิดภาวะเงินตรึงตัว ส่งผลต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจของโลกชะงัก และก่อให้เกิดความยากลาบาก และความยากจนแกชุมชน มากขึ้น 4. การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม สังคมเกษตรกรรม ซึ่งประชาชนมีวิถีชีวิตที่เรียบง่าย สนุกสนาน มีเวลาว่างมากไม่รีร้อน มีความ ร่วมมือในชุมชน และสังคมเป็นแบบกันเอง เช่น การลงแขกในประเพณีเกี่ยวข้าว เทศการและประเพณีของ เกษตรกร ขนาดของครอบครัวค่อนข้างใหญ่ คือ มีตั้งแต่ 4 – 10 คน ได้มีการเปลี่ยนวิถีชีวิตเป็นสังคม อุตสาหกรรมใหม่ ซึ่งมีลักษณะวิถีชีวิตที่เร่งรีบ มีการแข่งขันกับตนเอง และกับกลุ่มผู้ร่วมงานในด้านความ ประสบความสาเร็จ และความสาฤทธิ์ผล มีการจัดระบบ ระเบียบ กฎเกณฑ์ในการอยู่ร่วมกัน และคุณภาพ ชีวิตจะเน้นทางด้านวัตถุธรรมมากกว่าคุณธรรม บุคคลจะเริ่มห่างไกลธรรมชาติ แต่จะใกล้ชิดวัตถุเครื่องกล ขนาดของครอบครัวจะเล็กลงเนื่องจากความจาเป็นในด้านการครองชีพทางเศรษฐกิจ เป็น 2 – 4 คนในหนึ่ง ครอบครัว และแนวคิดค่านิยมต่างๆมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว บุคคลจะเน้นในเรื่องของการพึ่งพา ตนเองมากขึ้น ความเห็นแก่ตัวก็จะมากขึ้น การเน้นในเรื่องความสัมฤทธิ์ผลของทีม และของกลุ่มมากขึ้น วัฒนธรรมทางตะวันตกก็จะมีอิทธิพลมากขึ้นในขณะที่เยาวชนลดความนิยมในวัฒนธรรมดั้งเดิมลง
  • 3. พฤติกรรมเบี่ยงเบนของเยาวชนก็จะมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากการนากิจกรรมและสิ่งเสพติดมาเผยแพร่ในกลุ่ม เยาวชนมากขึ้น อุปสรรคปัญหา และความเครียดที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของสังคมเกษตรกรรม มาเป็นอุตสาหกรรมนั้น เป็นไปอย่างรวดเร็วกว่าชุมชนจะรับได้ เกิดเป็นความเครียดทางจิตใจ เพิ่มความ วิตกกังวลทางจิตใจในสังคมมากขึ้น 5. สภาพแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษ สภาพแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษที่กาลังประสบอยู่ในกรุงเทพมหานคร และชุมชนอุตสาหกรรม ชานเมือง กาลังอยู่ในขั้นวิกฤติที่น่าเป็นห่วงมาก จากการสารวจมลภาวะเป็นพิษในปี 2532 ของ กรุงเทพมหานคร พบว่า ขณะนี้มลภาวะอากาศในย่านชุมชนแออัด 8 แห่งของกรุงเทพมหานคร สูงกว่า มาตรฐานสากล ที่ยอมรับได้ 7 – 8 เท่า ทาให้สื่อมวลชนต่างประเทศตระหนกตกใจทีเดียว ทั้งนี้เพราะ ประเทศไทยกาลังเป็นแหล่งอุตสาหกรรมท่องเที่ยวของเอเชีย และของโลก มลภาวะเป็นพิษทางอากาศ เป็น ภัยร้ายแรงต่อสุขภาพอนามัยของสังคม เพราะก่อให้เกิดสาเหตุของโรคทางเดินหายใจ จากการรายงาน สุขภาพของอเมริกัน ได้ศึกษาเปรียบเทียบว่า โทษของควันพิษที่เราสูดเข้าไปขณะที่ยืนคอยรถโดยสารอยู่ใน ย่านโรงงานอุตสาหกรรม เพียง 15 นาที มีค่าเท่ากับสูบบุหรี่ 1 ซองเลยทีเดียว ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของ รัฐบาลและประชาชนทุกคนจะต้องรณรงค์แก้ไขมลภาวะนี้ด่วน 6. ความเครียดทางสังคมส่งผลต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต ปัญหาและอุปสรรคของสังคมที่กาลังเปลี่ยนแปลงสู่อุตสาหกรรมนั้นมีหลายสาเหตุ เช่น มลภาวะ และสิ่งแวดล้อมเป็นพิษ การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตและวัฒนธรรม การขยายตัวของเมือง ตลอดจนประชากร แออัด ซึ่งปัญหาเหล่านี้ก่อให้เกิดเป็นสาเหตุความเครียดของจิตใจ จากรายงานของสมาคมสุขภาพจิต พบว่า ในปัจจุบันอัตราคนเป็นโรคจิตสูงขึ้นอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสังคมเมืองหลวง อันเนื่องเกิด จากความเครียดทางสังคม ส่งผลทางด้านจิตใจ ความเครียดทางสังคม ก่อให้เกิดพฤติกรรมทางกายของ บุคคลได้เช่นกัน ซึ่งทาให้มีผู้ทานายว่าในอนาคตอายุไขเฉลี่ยของคนไทยจะลดลง สภาพแวดล้อมเป็นพิษ จะเป็นสาเหตุก่อให้เกิด โรคต่างๆมากมายอันจะเป็นตัวพล่าชีวิตของคนไทยมากขึ้น 7. ปัญหาการจราจรติดขัด ปัญหาสภาพของสังคมไทยในปัจจุบัน ที่ก่อให้เกิดเป็นความเครียดของสังคมที่สาคัญ ได้แก่ การจราจรติดขัด คณะกรรมาธิการผู้แทนราษฎรได้รายงาน และพยายามหาแนวทางการแก้ไขจราจรติด ขัดข้องกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เพราะการจราจรติดขัดก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจอย่างมหาศาล เป็น การสิ้นเปลืองพลังงานน้ามัน และแก๊สของรถยนต์ และยังก่อให้เกิดมลภาวะเป็นพิษทางอากาศ ก่อให้เกิด
  • 4. การทาลายบรรยากาศโอโซนของโลกลดลง ขาดการสมดุลในอัตราส่วนที่เหมาะสม อันจะเป็นปัญหา ต่อเนื่อง ที่จะทาให้เกิดการทาลายธรรมชาติ คือ เกิดการละลายหิมะภูเขาทางขั้วโลก อันจะเป็นสาเหตุ ก่อให้เกิดน้าท่วมโลกได้ 8. ปัญหาอาชญากรรม และพฤติกรรมเยาวชนเบี่ยงเบน จากการเกิดความเครียดทางสังคม อันเนื่องมาจากสภาพแวดล้อมเป็นพิษ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม เปลี่ยนแปลง การผันแปรทางเศรษฐกิจ การขยายตัวของเมือง และประชากรแออัด ก่อให้เกิดปัญหา พฤติกรรมของสังคม และเยาวชนที่เบี่ยงเบนในทางไม่พึงประสงค์มากขึ้น เป็นปัญหาต่อเนื่องในสังคม การ ปรับตัวของบุคคลไม่ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ก่อให้เกิดพฤติกรรมก้าวร้าว เกิดปัญหาอาชญากรรมขึ้น เยาวชนได้รับอิทธิพลจากสื่อมวลชนในด้านพฤติกรรมก้าวร้าว ไม่พึงประสงค์ การนาเอาค่านิยม และ พฤติกรรมของสังคมอื่นๆ มาใช้ในวัฒนธรรมท้องถิ่น ก่อให้เกิดพฤติกรรมเบี่ยงเบน ปัญหาการปรับตัว ความเครียด และการชักนาของกลุ่ม ทาให้เยาวชนส่วนหนึ่งหันมานิยมสิ่งเสพติดให้โทษ ซึ่งเป็นการทาลาย ทรัพยากรมนุษย์ของชาติ 9. ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ในขณะที่สังคมไทยกาลังมีการเปลี่ยนแปลงจากเกษตรกรรมเป็นอุตสาหกรรมใหม่นั้น ประเทศที่มี การพัฒนาแล้วก็ได้พัฒนาจากอุตสาหกรรมสู่สังคมคอมพิวเตอร์และยุวอวกาศ ซึ่งได้มีการพัฒนาด้าน คอมพิวเตอร์สาหรับสิ่งอานวยความสะดวก ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ต่างๆ ซึ่งก็ส่งผลสะท้อนมาที่ ประชากรโลกอย่างรวดเร็ว กล่าวคือ เทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ได้ถูกนามาประยุคใช้ เพื่อก่อความสะดวกสบายในสังคมและประชากรโดยทั่วไป เช่น ระบบการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ คมนาคม ก่อให้เกิดปัญหาการทาเทคโนโลยีมาใช้ในทางไม่ถูกต้อง ก่อให้เกิดอันตรายต่อสังคม และประชากรโลก เช่น การพัฒนาเครื่องมืออุปกรณ์ใหญ่ เช่น เลื่อยไฟฟ้ า ช่วยขุด ตักดิน ตัดต้นไม้ ทาลายป่าอย่างรวดเร็ว ก่อให้เกิดความไม่สมดุลทางธรรมชาติ ทาให้เกิดภาวะอุทกภัย น้าท่วม เขื่อนพัง ไฟไหม้ เป็นต้น บทสรุป การพัฒนาเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากสังคมเกษตรกรรม สังคมอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงที่ติดตามมา เช่น การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว การขยายความเป็นเมือง ภาวะการขยายตัว ทางเศรษฐกิจ วิถีชีวิต และวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมและมลภาวะเป็นพิษ ความเครียดทาง
  • 5. สังคมต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิต ปัญหาการจราจรติดขัด อาชญากรรม และพฤติกรรมเยาวชนเบี่ยงเบน และความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นปัญหาของสังคม และประเทศชาติ คุณภาพชีวิต สภาพแวดล้อมของสังคมไทย สู่ยุคอุตสาหกรรมใหม่ ทาให้บุคคลต่างก็มีความมุ่งหวังที่จะสรรหา สิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน การพัฒนาตนเอง ครอบครัวและสังคม ให้ เป็นที่อบอุ่นน่าอยู่อาศัย หรืออาจจะกล่าวได้ว่า บุคคลมีความต้องการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิตให้อยู่ใน สังคมอย่างมีความสุขตามอัตภาพ คาว่า “คุณภาพชีวิต” จึงเป็นคาในปัจจุบันหรือช่วงหนึ่งทศวรรษที่ผ่านมา นิยมนามาใช้กันอย่าง แพร่หลายเมื่อลองพิจารณาวิเคราะห์ดู จะเห็นได้ว่าองค์ประกอบ หรือปัจจัยที่จะช่วยส่งเสริมให้บุคคลและ ชุมชนมีคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่นั้นเริ่มมีเกณฑ์ และมาตรฐานที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการให้คุณค่าหรือ ตีความหมายของคุณภาพชีวิต คุณภาพชีวิต หมายถึง การพัฒนาคุณภาพของประชาชนทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรม และวัฒนธรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านอาชีพ และจิตใจเป็นสิ่งสาคัญ อย่างยิ่งอาจจะกล่าวโดยสรุปว่า คุณภาพชีวิตเป็นการพัฒนาคุณภาพของคนในทุกๆด้าน ทุกขั้นตอน และ ระดับวัยของชีวิตเพื่อให้ได้มาซึ่งการดารงชีวิตในสังคมที่ดีขึ้น เพื่อให้นโยบายและเป้ าหมายบรรลุวัตถุประสงค์ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของสังคมไทย รัฐบาล ได้มอบหมายให้องค์กรของรัฐที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบ 6 กระทรวง ได้แก่ กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงอุตสาหกรรม และกระทรวงมหาดไทย ร่วมกันหาแนวทางในการที่จะปรับปรุงคุณภาพชีวิตของสังคมไทย ซึ่งประชากร ส่วนใหญ่มีที่อาศัยอยู่ในเขตชนบท กระทรวงดังกล่าวจึงได้จัดตั้งโครงการที่เรียกว่า “จปฐ 8” หรือความ จาเป็นขั้นพื้นฐาน 8 ประการ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติพัฒนาให้ชุมชนบทได้มีคุณภาพชีวิตดังนี้ 1.กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะในปริมาณที่เพียงพอ 2.มีที่อยู่อาศัยและสภาพแวดล้อมที่เหมาะสม 3.ได้รับบริการพื้นฐานที่จาเป็น 4.มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน 5.มีการผลิตรายได้ที่เพียงพอ
  • 6. 6.มีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่น 7.สามารถควบคุมช่วงเวลาของการมีบุตรและจานวนบุตรได้ 8.ประพฤติปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี และหลักธรรมของศาสนา และรักษาส่งเสริม กิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรมของชาติ คุณภาพชีวิตในสังคมหนึ่งก็มีมาตรฐานเกณฑ์ และองค์ประกอบที่แตกต่างกัน เพื่อให้การศึกษา คุณภาพชีวิตมีความหมายยิ่งขึ้น จึงนาเอาองค์ประกอบและเกณฑ์ของชาวออสเตรเลีย และชาวอเมริกันมา ศึกษาประกอบ โฮเวล ได้อธิบายความหมายของคุณภาพชีวิตของชาวออสเตรเลียว่า เป็นความสมดุลของ สภาพแวดล้อมของบุคคลทั้ง 4 ด้าน คือ ทางกาย ทางสังคม ทางจิตใจ และทางวัฒนธรรม เพื่อที่จะนาไปสู่ ความสุข ความสาเร็จในชีวิตเท่าที่บุคคลจะกระทาได้โดยสรุปลักษณะคุณภาพชีวิตไว้ดังนี้ 1.มีชีวิตที่ปราศจากโลกภัยไข้เจ็บทั้งทางร่างกายและจิตใจ 2.มีโอกาสที่พัฒนาความสามารถและการศึกษาให้ก้าวไปสู่ความสาเร็จขั้นสูงสุด ที่บุคคลพึง กระทาได้ 3.มีเวลาและโอกาสที่เพียงพอที่บุคคลพึงมีส่วนร่วมในกิจกรรม เวลาว่าง หรือนันทนาการ 4.มีที่อยู่อาศัยที่สะดวกสบายเพียงพอ และมีสภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย 5. มีความมั่นคงและปลอดภัยในส่วนบุคคลและชุมชน 6.มีรายได้หรือสื่ออานวยความสะดวกทางเศรษฐกิจที่เพียงพอ สามารถจับจ่ายใช้สอยในสิ่งที่ จาเป็น เพื่อเกิดความพึงพอใจได้ 7.มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมสังคมดีพอสมควร 8.มีโอกาสพัฒนาขีดความสามารถขั้นสูงสุดในหน้าที่การงาน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต เคราส์ ได้ศึกษาสารวจความคิดเห็นของชาวอเมริกันเกี่ยวกับเรื่องของคุณภาพชีวิต และ องค์ประกอบที่ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของชาวอเมริกัน โดยแบ่งออกเป็น 12 ประการ ตามอันดับความสาคัญ ดังต่อไปนี้ 1.การยอมรับผู้อื่นและตนเอง รวมถึงความมั่นใจในตนเอง 2.ความสัมฤทธิ์ผล กล่าวคือบุคคลควรจะเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริมความสาฤทธิ์ผล 3.สุขภาพ การมีสุขภาพทางกายและสุขภาพทางจิตที่ดี 4.มีความรัก ความเข้าใจ รวมทั้งความผูกพันเกี่ยวข้องกับชุมชน
  • 7. 5.มีอิสระแห่งตนในเรื่องสิทธิเสรีภาพของบุคคลและสังคม 6.การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของกลุ่มและสังคม 7.มีความมั่นคง และความปลอดภัย 8.มีเศรษฐกิจสะพัด รวมถึงสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอ 9.มีกิจกรรมที่ท้าทาย กิจกรรมก่อให้เกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 10.มีสถานภาพทางชุมชน มีชื่อเสียงเป็นที่ยอมรับในชุมชน 11.มีความคิดสร้างสรรค์ 12.นากลุ่ม และควบคุมสถานการณ์ได้ตลอดจนมีผู้ใต้บังคับบัญชา จรวยพร ธรณินทร์ และสุวรรณ ทองหนุน ได้สนับสนุนว่า การกีฬา และนันทนาการ สามารถ พัฒนาคุณภาพชีวิตได้ในด้านสุขภาพ บุคลิกภาพ และลักษณะนิสัย และช่วยพัฒนาชุมชนและเด็กได้ดังนี้ 1.สามารถแก้ไขปัญหาอย่างมีประสิทธิภาพ 2.มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 3.มีค่านิยมที่ดี 4.มีเหตุผลเชิงจริยธรรม 5.มีความเข้าใจในพฤติกรรมของมนุษย์ 6.มีสุขภาพและสมรรถภาพดี 7.มีความคาดหวังในอนาคต นอกจากนี้นายแพทย์ ประเวศ วะสี ได้สรุปสังคมที่มีคุณภาพ มี่ความสุข บุคคลควรมี 1.มีงานทามีรายได้ 2.มีความปลอดภัย 3.มีศีลธรรมจริยธรรม 4.มีสุขภาพจิตและกายดี กล่าวโดยสรุป ปัจจัยองค์ประกอบหรือกิจกรรมที่ช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและสังคมนั้นมี ความหลากหลายและเกณฑ์มาตรฐานที่แตกต่างกัน แต่ส่วนองค์ประกอบหรือปัจจัยที่เหมือนกันได้แก่ 1.การมีสุขภาพทางกาย และสุขภาพทางจิตดี 2.มีที่อยู่อาศัยที่สะดวกสบาย เพียงพอ และปลอดภัย 3.มีรายได้ เศรษฐกิจที่เพียงพอที่จะจัดหาสิ่งจาเป็นได้
  • 8. 4.มีโอกาสที่จะพัฒนาศักยภาพ ขีดความสามารถของตนสู่ความสาเร็จขั้นสูงสุด 5.มีเหตุผล มีคุณธรรม และจริยธรรมที่ดี 6.มีโอกาสและเวลาที่จะเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการในช่วงเวลาว่าง 7.มีจุดมุ่งหมาย และเป้ าประสงค์ในชีวิต 8.มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดีต่อชุมชน และมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน 9.มีความคิดสร้างสรรค์ และคิดในทางที่ดี 10.มีอิสรภาพแก่ตนเอง และในสังคม องค์ประกอบเหล่านี้ถ้าพิจารณาโดยถ่องแท้จะหาได้จากกิจกรรมนันทนาการ ซึ่งสามารถส่งเสริม ปัจจัยเหล่านี้ได้มากทีเดียว เคร้าส์ ยืนยันงานวิจัยสารวจความคิดเห็นของคนอเมริกันเกี่ยวกับกิจกรรม นันทนาการที่มีส่วนพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและสังคม โดยเสนอเป็นเปอร์เซ็นที่กิจกรรมนันทนาการ ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต ดังนี้ 1.การยอมรับตนเอง และผู้อื่น 2.ความสัมฤทธิ์ผล 3.สุขภาพกาย จิต 4.ความรักความเข้าใจ 5.อิสรภาพบุคคลและสังคม 6.การมีส่วนร่วมเกี่ยวข้องกับกลุ่ม 7.ส่งเสริม การท้าทาย เสี่ยง 8.ส่งเสริมความปลอดภัย 9.อานวยความสะดวก 10.ส่งเสริมสถานะภาพ 11.ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 12.ส่งเสริมปมเคน ดังนั้น นันทนาการจึงเป็นกระบวนการที่จะใช้กิจกรรมเวลาว่าง หรือนันทนาการช่วยพัฒนา คุณภาพชีวิตของสังคมไทยในปัจจุบัน
  • 9. แรงจูงใจที่ชุมชนสนใจเข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ นันทนาการเป็นปัจจัยที่สาคัญและจาเป็นอย่างหนึ่งของชีวิต โดยเฉพาะอย่ายิ่งในสภาพของสังคม ที่ก้าวไปสู่ความเป็นนิกส์ในปัจจุบัน ปกติบุคคลจะใช้เวลาการทางาน หรือศึกษาเล่าเรียน 8 – 10 ชั่วโมง ใช้ เวลาปฏิบัติหน้าที่ ภารกิจ ในชีวิตประจาวัน เวลารับประทานอาหาร พักผ่อนนอนหลับ และช่วงเวลาว่าง อิสระ โดยปกติคนเราจะมีเวลาว่าง 2 – 4 ชั่วโมงต่อวัน กิจกรรมนันทนาการ จึงมีบทบาทสาคัญที่ช่วย พัฒนาคุณภาพชีวิต ช่วยพัฒนาทางด้านอารมณ์ และจิตใจของสังคม จากการวิจัยศึกษาพฤติกรรมของคน นี้เข้าร่วมกิจกรรมนันทนาการ พอสรุปออกมาได้เป็น 8 ประเภทได้แก่ 11.พฤติกรรมพื้นฐานทางสังคม ( SOCIAL BEHAVIORS ) กิจกรรมนันทนาการหลายประเภท ส่งเสริมกิจกรรมกลุ่มการสร้างมนุษย์สัมพันธ์ของชุมชน เช่น กิจกรรม เต้นรา การนัดพบ เกี้ยวสาว งานปาร์ตี้การเยี่ยมญาติ เป็นต้น 2.พฤติกรรมเกี่ยวข้องผูกพัน ( ASSOCIATIVE BEHAVIORS ) กิจกรรมนันทนาการส่งเสริมผู้ที่มีส่วนร่วม หรือสมาชิกกลุ่มให้มีความผูกพัน สนใจร่วมงานกันในชุมชน เช่น สโมสรผู้รักสัตว์ สมาคมรักรถ งานอดิเรก กลุ่มอนุรักษ์โบราณวัตถุ ชมรมท่องเที่ยวไทย เป็นต้น 3.พฤติกรรมเชิงแข่งขัน ( COMPETITIVE BEHAVIORS ) กิจกรรมนันทนาการช่วยส่งเสริมสภาพการณ์การแข่งขัน การประกวด หรือทดสอบความสามารถกิจกรรม กิจกรรมท้าทายใฝ่สัมฤทธิ์ของมนุษย์ เช่น เกมส์กีฬา และกีฬาเพื่อการแข่งขัน การแสดงละคร การประกวด ความสามารถต่างๆ เป็นตน 4.พฤติกรรมเสี่ยงอันตราย ท้าทายความสามารถ ( RISK – TAKING BEHAVIORS ) โดยธรรมชาติ มนุษย์ต้องการกิจกรรมเสี่ยงอันตราย และท้าทายความสามารถ หรือพิสูจน์ความสามารถ เพื่อความเป็นเลิศ เช่น แข่งรถ แข่งเรือ กระโดดร่ม ปีนเขา ล่องแก่ง เป็นต้น 5.พฤติกรรมบุกเบิกค้นหา ( EXPLORATORY BEHAVIORS ) กิจกรรมนันทนาการ ที่ส่งเสริมการบุกเบิกค้นหา ได้แก่ การท่องเที่ยว การตั้งค่ายพักแรม การเดินป่า การไต่ เขา การผจญภัยใต้น้า การผจญภัยในวัฒนธรรมใหม่ เป็นต้น 6.พฤติกรรทดแทน ( ส่งเสริม ) ( VICARIOUS BEHAVIORS ) กิจกรรมนันทนาการ ประเภท อ่าน พูด เขียนในวรรณกรรม ช่วยเสริมสร้างความรู้สึกและประสบการณ์ ทดแทนได้ รวมทั้งรายการโทรทัศน์ วีดีโอ วิทยุ การแสดงละคร นาฏศิลปะ และศิลปกรรม เป็นต้น 7.สิ่งกระตุ้นทางประสาทสัมผัส ( AENSORY STIMULATION )
  • 10. กิจกรรมนันทนาการทางสังคม และนันทนาการพิเศษต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะส่งเสริมกิจกรรมสังสรรค์เฉลิม ฉลองความสุข สนุกสนาน กิจกรรมที่มีสิ่งกระตุ้นทางประสาทสัมผัสต่างๆ เช่นการดื่มของเมา ประเภท แอลกอฮอล์ ยาเสพติด และกิจกรรมเพศสัมพันธ์ เป็นต้น 8.การแสดงออกทางร่างกาย ( PHYSICAL EXPRESSION ) ซึ่งกิจกรรมประเภทเกมส์กีฬา การเต้นรา กิจกรรมเข้าจังหวะ ระบาบัลเล่ย์ แจสแด๊นซ์ ถือว่าเป็น กิจกรรมการแสดงออกทางกาย นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมที่ส่งเสริมพฤติกรรมสร้างสรรค์ทางศิลปะ กิจกรรมการทดสอบทางปัญญา เช่น การเขียน การสัมมนา โต้วาที ซึ่งการกระทาด้วยความสมัครใจ พัฒนาทางจิตใจ เป็นต้น 1.ต้องการสร้างประสบการณ์ใหม่ 2.ต้องการเป็นที่ยอมรับหรือยกย่องจากผู้อื่น 3.ต้องการพักผ่อนหย่อนใจเพื่อหนีความเครียด 4.ต้องการความมั่นคงปลอดภัย 5.ต้องการเป็นเจ้า เป็นผู้นากลุ่ม หรือควบคุมสถานการณ์ 6.ต้องการการตอบสนอง และมีปฏิกิริยาทางสังคม 7.ต้องการกิจกรรมทางจิตใจ เพื่อก่อให้เกิดอารมณ์สุขสงบ 8.ต้องการความคิดสร้างสรรค์ พัฒนาความคิด 9.ต้องการบริการผู้อื่นและอยากจะเป็นที่ต้องการ 10.ต้องการกิจกรรมการเคลื่อนไหว และแบบทดสอบการวัดสมรรถภาพ บทสรุป การเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย จากเดิมเกษตรกรรม มาเป็นสังคมอุตสาหกรรมใหม่ ก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมต่างๆ เช่น การเพิ่มประชากร การขยายความเป็นเมือง ความเจริญทางเศรษฐกิจ วิถี ชีวิต และวัฒนธรรมเปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม และมลภาวะเป็นพิษ สุขภาพกายและจิตเสื่อม ปัญหา การจราจรติดขัด อาชญากรรม และพฤติกรรมเยาวชนเบี่ยงเบน และความเจริญทางเทคโนโลยี และ วิทยาศาสตร์ ส่งผลให้เกิดภาวะความตรึงเครียดทางจิตใจของบุคคล และสังคม แหล่งนันทนาการ และ กิจกรรมนันทนาการ ซึ่งจัดโดยองค์กรของรัฐ เช่น สานักสวัสดิการสังคมของรัฐ กรมป่าไม้ กองพัฒนาชุมชน หรือสานักการบริหารราชการส่วนจังหวัด เป็นต้น