SlideShare a Scribd company logo
1 of 189
Download to read offline
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                              ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข


                           กำ�ลังกาย
                        ออกกำ�ลังใจ
                      พระราชด�ำรัสในหลวง
                                    วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๙

	      ขอขอบใจที่ ท ่ า นทั้ ง หลายมาให้ พ รในวั น นี้ และที่
นายกฯ ได้กล่าวค�ำให้พร ซึ่งนับว่าเป็นค�ำให้พรที่ให้ก�ำลังใจ
ต้องมีก�ำลังใจอย่างเสมอ เมื่อครู่นี้ไม่ได้ลุก เพราะว่าก�ำลัง
ใจอาจจะมี แต่ก�ำลังกายไม่มี ฉะนั้นจึงไม่ลุกขึ้น ถ้าลุกขึ้น
ก็เสียก�ำลังกายเปล่าๆ แต่ท่านก็เข้าใจที่ว่าอย่างนี้ เพราะ
ว่ า จะต้ อ งรั ก ษาก� ำ ลั ง กายไว้ ใ ห้ ดี ซึ่ ง ก� ำ ลั ง กายไม่ ค ่ อ ยดี
ด้วยเหตุว่าการออกก�ำลังนี้เกินส่วนที่จะมีทางที่จะมีก�ำลัง ก็
เลยต้องประหยัดก�ำลัง แต่ในเวลาเดียวกัน ถ้ามีก�ำลังกายไว้
ก็คงเข้าใจว่า จะมีประโยชน์เพราะว่าชาติบ้านเมืองต้องใช้
ก�ำลังกาย ก�ำลังจิตใจด้วย อย่างที่ท่านนายกฯ ต้องออก
ก�ำลังกาย และก�ำลังจิตใจ คนก็ได้เห็นทังนันว่าได้ประโยชน์
                                                    ้ ้
ต้องอธิบายนิดหน่อย
                                     1
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

	     แต่ ก ารที่ มี ก� ำ ลั ง ใจก� ำ ลั ง กายนี้ จ ะต้ อ งให้ ทุ ก คนได้
ร่วมกันช่วยกันร่วมกันออกก�ำลังกาย ก�ำลังใจเพื่อให้ชาติ
บ้านเมือง รอดพ้นอันตรายได้...

                โรคสูตร *(๑) คือสูตรว่าด้วยโรค
	        สรุ ป ความจากพระสุ ต ตั น ตปิ ฎ ก อั ง คุ ต ตรนิ ก าย
จตุกนิบาต ได้ว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงสอนในโรคสูตรว่า โรคมี
๒ ชนิด คือโรคทางกายและโรคทางใจ โรคทางกาย น้อยกว่า
โรคทางใจ ผู้ที่ไม่มีโรคทางกายตลอดระยะเวลา ๑ ปี หรือ
หลายปี แม้ยิ่งกว่า ๑๐๐ ปี ยังพอมีอยู่ แต่ผู้จะกล่าวอ้างว่า
ตนไม่มีโรคทางใจตลอดระยะเวลาแม้ครู่เดียวหาได้ยากมาก
ยกเว้นผู้ที่หมดกิเลสแล้ว พระพุทธองค์ยังได้สอนอีกว่าโรค
ของบรรพชิตมี ๔ อย่าง สรุปความว่าเป็นคนมักมาก คับแค้น
ไม่สันโดษด้วยปัจจัย ๔ ตั้งความปรารถนาชั่วเพื่อให้ได้ลาภ
สักการะและ ชื่อเสียง วิ่งเต้นขวนขวายพยายามเพื่อไม่ให้
ผู้อื่นดูหมิ่นเพื่อให้ได้ลาภสักการะและชื่อเสียง และเข้าไป
หาตระกูล (ผู้มีฐานะดี ร�่ำรวย) นั่งกล่าวธรรม กลั้นอุจจาระ
ปัสสาวะ เพื่อให้เขานับถือ พระองค์ทรงสอนให้ละเว้นจาก
โรคเหล่านี้ โดยจักเป็นผู้อดทน อดกลั้นเวทนาทั้งหลาย อัน

                                   2
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                        ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

เกิดมีในร่างกายแล้ว ดังนั้นจะเห็นได้ว่า พระพุทธองค์ทรง
อธิบายเรื่องโรคกว้างขวางกว่าโรคทางกายและทางใจ แต่
รวมถึงความไม่สันโดษ มักมากในปัจจัย ๔ ความปรารถนา
ทางชั่ ว และวิ่ ง เต้ น เพื่ อ ลาภสั ก การะ คบหาหรื อ สั ง คม
กั บ คนรวยเพื่ อ ให้ เ ขานั บ ถื อ ในสมั ย ใหม่ อ งค์ ก ารอนามั ย
โลกได้ ข ยายความหมายของค� ำ ว่ า สุ ข ภาพ รวมถึ ง ความ
สมบู ร ณ์ พ ร้ อ มมู ล ทางกาย จิ ต สั ง คม และจิ ต วิ ญ ญาณ
และต่ อ มาในปี ๒๕๕๐ ใน พ.ร.บ.สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ไ ด้ มี
การนิยามค�ำว่าสุขภาพที่วงการสาธารณสุขไทยใช้กันอยู่
ในปัจจุบันว่า “สุขภาพ” หมายความว่า “ภาวะของมนุษย์
ที่สมบูรณ์ ทั้ง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม
เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม อย่างสมดุล”
	      จากโรคสูตรนี้ จึงพอเจ้าใจว่าพระพุทธองค์ทรงให้ความ
ส�ำคัญกับโรคทางใจมาก และทรงใช้การบ�ำเพ็ญทางจิต เพื่อ
ป้องกันและรักษาทั้งโรคทางจิตและโรคทางกายด้วย เพราะ
กายกับจิตเป็นของคู่กัน ดังนั้นเมื่อมีการออกก�ำลังกาย ก็ควร
มีการออกก�ำลังใจ ควบคู่กันด้วย
	      (๑) พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ หน้า ๒๑๗-๒๑๘

                               3
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ




                          สภาพปัญหาสุขภาพในปัจจุบัน




	        จากกระแสโลกาภิวัตน์ ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อการ
พั ฒ นาทางด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คมของทั่ ว โลกและของ
ประเทศไทย ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทางวัตถุแบบทุนนิยม ที่
มุ ่ ง แสวงหาก� ำ ไรเป็ น ส� ำ คั ญ ท� ำ ให้ เ ศรษฐกิ จ เกิ ด ความ
เหลื่ อ มล�้ ำ สั ง คมเปลี่ ย นไปสู ่ ก ารเสื่ อ มสลาย จากสั ง คม
ตะออกเป็ น สั ง คมตะวั น ตก สั ง คมเกษตรกรรมเป็ น สั ง คม
อุ ต สาหกรรม สั ง คมชนบทกลายเป็ น สั ง คมเมื อ งมากขึ้ น
ท� ำ ให้ แ บบแผนในการด� ำ รงชี วิ ต เปลี่ ย นไป เกิ ด กระแส


                               4
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                        ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

วั ต ถุ นิ ย ม บริ โ ภคนิ ย ม ที่ มี ค ่ า นิ ย มเลี ย นแบบการบริ โ ภค
ตามต่างชาติ ฟุ่มเฟือย ไม่เพียงพอ มีการใช้เทคโนโลยีเกิน
ความจ�ำเป็นและไม่เหมาะสม สถาบันทางสังคมอ่อนแอ
กลายเป็ น สั ง คมที่ บ กพร่ อ งทางด้ า นคุ ณ ธรรม ศี ล ธรรม
จริยธรรม มีการใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบ แก่งแย่ง แข่งขัน เอา
รัดเอาเปรียบ แสวงหารายได้เพื่อเลี้ยงดูตนเอง ครอบครัว
และการเติบโตของธุรกิจ ท�ำให้ขาดความเอื้ออาทร ใส่ใจซึ่ง
กันและกัน ขาดการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพ รับผิดชอบต่อผล
กระทบทางด้านสุขภาพและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
ผลิตสินค้าบริโภคทีไร้คณค่าทางโภชนาการ เกิดการขับเคลือน
                       ่ ุ                                          ่
โดยอุ ต สาหกรรมอาหารและการเกษตรข้ า มชาติ แ ละใน
ประเทศ จากการส่งเสริมการตลาดเพื่อช่วงชิงผลประโยชน์
ทางการค้ า อาหารฟาสต์ ฟู ด ส์ อาหารจานด่ ว น อาหาร
ส�ำเร็จรูป กึ่งส�ำเร็จรูป ที่หาได้ง่าย สะดวก ไม่สิ้นเปลืองเวลา
มาก ซึ่งส่วนมากมักเป็นอาหารประเภทผัดทอด ย่างหรือปิ้ง
อาหารประเภทเนื้อที่มีโปรตีนมีไขมันสูงและพฤติกรรมการ
บริโภคทีไม่เหมาะสม นิยมอาหารรสจัด มีเกลือโซเดียมสูงและ
             ่


                                  5
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

หวานมากไป กินผักและผลไม้น้อย ขาดการออกก�ำลังกาย
ไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบทางสุขภาพที่น�ำไปสู่ภาระโรคต่างๆ
รวมทังสิงแวดล้อมทีไม่ปลอดภัยมีมลพิษท�ำให้วถการเดินทาง
      ้ ่          ่                        ิี
ทีเอือต่อสุขภาพไม่เกิดขึนกับคนส่วนใหญ่ นอกจากนันยังเกิด
  ่ ้                   ้                         ้
ความเครียดสะสม ในบางรายไม่สามารถหาทางออกได้ต้อง
หันไปพึ่งการกินอาหาร สูบบุหรี่ และดื่มสุรา ซึ่งมีกลไกการ
ตลาดที่เข้มแข็ง ต้องมีการควบคุมได้อย่างเท่าทัน
	       ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้ปัญหาทางด้านสุขภาพ
เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแบบแผนการเจ็บป่วยและตายเปลี่ยน
จากภาวะทุพโภชนาการเป็นภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน
มากขึ้น จากโรคติดเชื้อหรือโรคติดต่อทั่วไป เป็นโรคไม่ติดต่อ
เรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ ที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงภายใต้วิถี
ชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ซึ่งองค์การอนามัยโลก
(World Health Organization – WHO) ได้คาดประมาณว่า
ในปี ๒๕๔๘ จ�ำนวน




                             6
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                   ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	        การตายของประชากรโลกทั้งหมดประมาณ ๕๘ ล้าน
คน มีประมาณ ๓๕ ล้านคน ( ร้อยละ ๖๐ ) มีสาเหตุหลักจาก
โรคเรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรคไร้
เชื้อเรื้อรัง จากโรคหัวใจและหลอดเลือด(Cardiovascular
Disease) เป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของทั่วโลก มีการตาย
ประมาณ ๑๗.๕ ล้านคน ( ร้อยละ ๒๙) และมีแนวโน้มรุนแรง
ขึ้น โดยคาดว่าในปี ๒๕๖๕ ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตประมาณ
๒๕ ล้านคน โดยมีประชากรประมาณ ๑๙ ล้านคน หรือ
ร้อยละ ๘๐ จะเกิดขึนในกลุมประเทศก�ำลังพัฒนาและยากจน
                    ้        ่
และเป็นสาเหตุการตายทีสำคัญของกลุมประชากรวัยแรงงาน
                         ่ �         ่
ซึงจะเป็นเหตุให้เกิดความสูบเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว
   ่
สังคมและประเทศชาติ และความสูญเสียปีสุขภาวะหรือ
ภาระทางสุขภาพ (Disability Adjusted Life Year : DALY)
จากโรคเรื้อรัง ๖ ใน ๑๐ อันดับแรกและมากกว่า เกือบ ๒ เท่า
เมื่อเทียบกับโรคติดเชื้อ




                             7
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

	       จากการศึ ก ษาภาระโรคและภาวะจากปั จ จั ย เสี่ ย ง
ทางสุขภาพของประชาชนไทย ในปี ๒๕๔๗ มีความสูญเสีย
ปีสุขภาพ *(๓) จากโรคไม่ติดต่อ คิดเป็นร้อยละ ๖๕ ของ
ความสูญเสียทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโรคหัวใจและ
หลอดเลือด และโรคมะเร็ง นอกจากนี้ยังพบว่าภาระโรค
๑๐ อันดับแรก เกิดจากปัจจัยเสี่ยงจากการด�ำเนินวิถีชีวิตที่
ไม่ถูกต้องเหมาะสมที่ส�ำคัญตามล�ำดับคือ การบริโภคสุรา
หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ บุหรี่ ความดันโลหิต ภาวะ
อ้วน โคเลสเตอรอล การบริโภคผักและผลไม้ กิจกรรมทาง
กายหรือการออกก�ำลังกายไม่เพียงพอ(ดูแผนภูมิที่ ๑.๑)
โดยสถานการณ์ อั ต ราการเจ็ บ ป่ ว ยเข้ า รั บ การรั ก ษาเป็ น
ผู้ป่วยในด้วยโรคที่มีความส�ำคัญในอันดับต้นๆ ใน ๕ โรค มี
แนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๔๘ - ๒๕๕๑ ประมาณ ๑.๒. -
๑.๖ เท่ า ส� ำ หรั บ ในปี ๒๕๕๔ พบว่ า มี อั ต ราผู ้ ป ่ ว ยใน
(ผู้ป่วยที่นอนพักรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล) ด้วยโรค
ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และ
โรคหลอดเลือดสมอง คิดเป็น ๑,๑๔๙, ๘๔๕, ๖๘๕, ๕๐๕


                              8
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                  ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

และ ๒๕๗ ต่อประชากรแสนคน ตามล�ำดับ และมีอัตรา
ผู้ป่วยนอก คิดเป็น ๑๔,๓๒๘, ๙,๗๐๒, ๒๕๖๕, ๑,๐๒๓ และ
๙๘๐ ต่อประชากรแสนคน ตามล�ำดับ (ในแผนภูมิที่๑.๒)
และสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทยที่ส�ำคัญ ๑๐ อันดับแรก
ในปี ๒๕๕๒ มาจากโรคมะเร็ง รองลงมาคือ โรคหัวใจ โรค
หลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
ในอัตรา ๘๘.๓,๒๙.๐, ๒๑.๐, ๑๑.๑ และ ๓.๖ ต่อประชากร
แสนคนตามล�ำดับ โดยมีผเู้ สียชีวตจาก ๕ โรคทีสำคัญจ�ำนวน
                                 ิ           ่ �
๙๗,๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๖ ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด
	       จากโครงสร้างประชากรไทยที่เปลี่ยนไปสู่สังคมผู้สูง
อายุ ท�ำให้ประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น ประชากรวัยเด็กและ
วัยแรงงานลดลง ภาวะอนามัยเจริญพันธ์รวมอยูตำกว่าระดับ
                                               ่ �่
ทดแทน มีสัดส่วนประชากรเด็ก : แรงงาน : ผู้สูงอายุ ร้อยละ
๒๐.๕ : ๖๗.๖ : ๑๑.๙ ในปี ๒๕๕๓ เป็นร้อยละ ๑๘.๓ : ๖๖.๙
: ๑๔.๘ ในปี ๒๕๕๙ ในขณะที่อายขัยเฉลี่ยของคนไทยเพิ่ม
ขึ้นเป็น ๗๕.๖ ปี (เพิ่มจากปี ๒๕๔๙ ชาย ๖๘ ปี หญิง ๗๕
ปี แต่ยังต�่ำกว่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ๘๐ ปี แต่มีปัญหาการ


                           9
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะ
กลุ่มผู้สูงอายุมีอัตรามารับบริการผู้ป่วยใน ในอัตราค่อนข้าง
สูงมากในปี ๒๕๕๑ ด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุดใน
อัตรา ๗,๒๑๓ ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือเบาหวาน
ไขมันในเลือดสูง หัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต ในอัตรา
๔,๖๕๖ ๑,๙๐๙ ๑,๘๕๗ และ ๙๙๕ ต่อประชากรแสนคน
ท�ำให้สงผลกระทบต่อภาระค่าใช้จายรักษาพยาบาลของภาค
         ่                       ่
รัฐในปัจจุบันและอนาคตอย่างมากมาย




                           10
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                  ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข




                                แนวโน้มการดูแลสุขภาพ




	     แนวโน้มการดูแลสุขภาพ ได้เปลียนแปลงจากเดิมทีเ่ น้น
                                    ่
เพียงดูแลร่างกายเฉพาะเมือเกิดโรคขึนแล้วหรือเมือเกิดความ
                         ่        ้           ่
ผิดปกติ ปัจจุบันเน้นการดูแลคนเพื่อป้องกันด้วยการเน้นการ
ออกก�ำลังกายป้องกันโรคภัยไข้เจ็บภายนอก โรคทางกายเป็น
หลักและมีการเพิมโรคทางใจ ดูแลแบบครบวงจร ดูแลสุขภาพ
                 ่
กายและสุขภาพใจ ไม่ใช่รักษาแค่โรคเพียงอย่างเดียวแต่
หมายถึงการมุ่งเน้นรักษา คน (จิตใจ) ด้วย ท�ำให้เกิดมีแนว
โน้มการออกก�ำลังกาย - ก�ำลังใจ เป็นจ�ำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้น

                           11
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

ดูแลตนเอง (ทางกาย-ใจ) เรียกว่า รักษาแค่โรคอย่างเดียวไม่
พอแล้ว ต้องให้ความใส่ใจคนด้วย
	          เช่นเดียวกันแนวโน้มการใช้ยา ปัจจุบนได้เปลียนแปลง
                                              ั      ่
จากผลิตเพื่อใช้รักษาเมื่อเกิดโรคหรือความผิดปกติขึ้น แต่จะ
หันมาผลิตยาเพื่อป้องกันไม่ให้เซลล์ในร่างกายอ่อนแอ ไม่มี
ก�ำลัง เพื่อเสริมบ�ำรุงแต่ละเซลล์ในร่างกายให้แข็งแรงมีก�ำลัง
มีภมคมกันและช่วยตัดวงจรไม่ให้เชือโรคหรือไวรัสมีการเจริญ
    ู ิ ุ้                             ้
เติบโตได้ครบวงจรได้ ยาสมัยใหม่จึงเน้นหนักไปด้านการ
บ�ำรุงป้องกัน เป็นอาหารเสริมหรือกินเพื่อสุขภาพโดยน� ำ
สมุนไพรมาท�ำเป็นยา เช่น กระเทียม มะระ ขิง กระชาย พริก
ไทย ฯลฯ และเน้นการป้องกันด้วยการออกก�ำลังกายขยับตัว
ยึดเส้นยึดสาย มีการเดินเพื่อสุขภาพ เป็นต้น
	          ทั้งนี้เป็นเพราะว่า มนุษย์ประกอบด้วยกายเรียกว่ารูป
และจิตใจเรียกว่า นาม กายกับจิตใจหรือรูปกับนามประกอบ
เข้าด้วยกัน เรียกว่า ชีวิต ชีวิตที่ประกอบด้วยกายและใจ
เท่านันไม่สามารถทีจะด�ำเนินไปได้ จะต้องมีสงทีคอยผยุงและ
       ้                 ่                      ิ่ ่
ขับเคลื่อนไป เรียกว่า ก�ำลัง หรือพลัง เป็นเครื่องหล่อเลี้ยง


                            12
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                   ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

ท�ำให้กายและใจด�ำเนินไปได้ หากมีแต่กายและใจเท่านั้นคง
ยังไม่สามารถด�ำเนินไปได้เหมือนรถจะวิ่งไปได้ แม้มีรถและ
คนขับพร้อม แต่ถ้าหากปราศจากน�้ำมัน (พลังงาน) รถก็วิ่งไป
ไม่ได้ฉันใด ชีวิตคน (ร่างกายและจิตใจ) จะด�ำเนินไปได้และ
ได้ดีด้วย จ�ำเป็นต้องมีก�ำลังและพลัง (พละ) ชีวิตอาศัยก�ำลัง
เกิดจากสิ่งภายนอกได้รับมาจากภายนอก และพลังภายใน
ตัวคือพลังกายและพลังใจให้มีขึ้นภายในตนให้ได้ ร่างกาย
และจิตใจนี้ จึงสามารถไปได้
	       ร่างกายและใจนันก็มระบบส่งก�ำลังเหมือนรถยนต์ เช่น
                       ้ ี
ปอด ระบบหายใจ หัวใจ กล้ามเนื้อ โดยอาศัยก�ำลังจาก
อาหาร การออกก�ำลังกายใช้เป็นก�ำลังกลและถ่ายทอดไปขับ
เคลื่อนร่างกาย ด้วยการส่งเป็นพลังเรียวแรงจากตัวไปสู่
ร่างกายทุกส่วน เช่น ขาและมือ ด�ำเนินไปได้ดวยอิรยาบถหลัก
                                           ้ ิ
ยืน เดิน นั่ง และนอน สับเปลี่ยนกัน นี้คือ ระดับการสร้าง
พลังงานของร่างกาย
  	 ในระดั บ ตน การมี ก� ำ ลั ง กาย นั้ น ต้ อ งได้ ม าจาก
อาหารที่สบายได้มาจากธาตุ ๔ ที่สมดุลกันและมาจากการ


                            13
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

สับเปลี่ยนอิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔ และอิริยาบถย่อยต่างๆ การ
นอน-ตื่นพักผ่อนให้สม�่ำเสมอและการรักษาความสะอาดให้
ดี จะท�ำให้ระบบหายใจสะดวก คล่อง
	      ในระดับสังคม การอยู่ด้วยกันย่อมต้องการก�ำลังใจ
จากผู้อื่นเพื่อสร้างพลังใจด้วยตัวเองนั้นคือ การสร้างแรง
จูงใจจากภายในและการมีแรงบันดาลใจจากภายนอก
	      ชี วิ ต ซึ่ ง มี ร ่ า งกายและจิ ต ใจรวมเข้ า ด้ ว ยกั น นี้ ย่ อ ม
ต้องการสิ่งที่จะหล่อเลี้ยงช่วยสมบูรณ์พร้อมมากยิ่งขึ้น ท�ำให้
กาย-ใจขับเคลื่อนด�ำเนินต่อไป สิ่งดีๆ ที่ได้จากการออกก�ำลัง
กาย - ใจ นั้น มีเป็นอเนกอนันต์ คือ อายุ วรรณะ สุข และพละ
	      ผลดีที่ได้จากการออกก�ำลังกาย คือ ร่างกายแข็งแรง
ผิวพรรณผ่องใส สุขภาพกาย พลังกาย การไหลเวียนของเลือด
เส้นเลือด และหัวใจ กล้ามเนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้ามเนื้อ
หัวใจแข็งแรงสมองและประสาทปกติดี ไขข้อต่างๆ ในร่างกาย
มีปญหาน้อย การย่อยอาหารและการขับถ่ายดีขน ท�ำให้มภมิ
    ั                                                     ึ้           ี ู
ต้านทาน โรคในร่างกายหมดไป หรือ น้อยลง ร่างกายมีก�ำลัง
แข็งแรง อายุวัฒนะ มีสุขภาพกาย และส่งผลไปสู่สุขภาพใจ
ด้วย

                                   14
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                           ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	        ส่วนสิ่งที่ได้จากการออกก�ำลังใจ คือ จิตใจ เข้มแข็ง
สุขภาพจิตใจ และมีพลังใจ ปราศจากความเครียด วิตกกังวล
ฟุ้งซ่าน ลังเลสงสัย มีจิตใจมั่นคง มีความเชื่อมั่น มีความมุ่งมั่
นพยายาม มีสติตื่นรู้เบิกบาน มีสมาธิตั้งมั่น และมีปัญญา
พิจารณาทุกอย่างตามความเป็นจริง
	        ดังนั้น สิ่งที่ได้จากการออกก�ำลังกาย-ใจ คือ
	        - อายุ มีอายุยืนยาวนาน
	        - วรรณะ มีผิวพรรณผุดผ่องใส
	        - สุข มีสุขภาพกาย สุขภาพใจ
	        - พละ มีก�ำลังพลังทางกายและใจ
	        การอยู่ร่วมกันในสังคมประกอบด้วยคนจ�ำนวนมาก
การได้รับก�ำลังจากสิ่งอื่น เป็นสิ่งส�ำคัญซึ่งสังคมรอบข้างจะ
ต้องเป็นผู้หยิบยื่นมีน�้ำใจให้แก่กันและกัน ล�ำพังตัวคนเดียว
ไม่สามารถมีขึ้นได้เองต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นเป็นส�ำคัญก�ำลัง
ที่จะได้รับมาจากสังคมรอบข้างนั้นประกอบด้วย
	        ก� ำ ลั ง สิ่ ง ของ มนุ ษ ย์ ต ้ อ งการปั จ จั ย พื้ น ฐานทั้ ง ๔
อาหาร เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวม
ทั้ง เงินทอง ทรัพย์สินสิ่งของอื่นๆ ที่จ�ำเป็นต่อการใช้ชีวิตด้าน

                                   15
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

ร่างกาย ที่สามารถใช้เป็นเครื่องประคองชีวิตให้อยู่ในสังคม
ได้อย่างมีความสุข ไม่เดือดร้อนนอนทุกข์
	      ก�ำลังแรงกาย มนุษย์ต้องการก�ำลังกาย เรี่ยวแรงทาง
กาย แต่กว่าจะได้กำลังทางกาย ก็ตองได้รบก�ำลังทีผอนลงทุน
                  �              ้        ั        ่ ู้ ื่
ลงแรงท�ำขึนมา เช่น อาหาร หรือแม้แต่การออกก�ำลังกายอาจ
           ้
ต้องท�ำเองแต่ก็เป็นสิ่งทางกายภายนอก การพักผ่อนนอน
หลั บ การปรั บ สมดุ ล ของธาตุ หรื อ การบริ ห ารร่ า งกาย
สม�่ำเสมอ ด้วยการสับเปลี่ยนอิริยาบถหลักทั้ง ๔ ยืน เดิน นั่ง
และนอน เพื่อมีสุขภาพพลานามัยทางร่างกายสมบูรณ์แข็ง
แรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ประกอบกิจต่างๆ โดยไม่
เหน็ดเหนื่อย มนุษย์ย่อมได้รับจากการหยิบยื่นเพื่อแผ่จากคน
รอบข้าง
	      ก�ำลังใจ มนุษย์ต้องการก�ำลังใจ ซึ่งต้องมีคนอื่นหยิบ
ยืนให้เช่นกัน มีคนพูดจาไพเราะ และพูดจาเป็นประโยชน์ ทังนี้
  ่                                                        ้
จะมีสุขภาพจิตที่ดี เข้มแข็ง ประสบอุปสรรคต่างๆ ก็มีผู้คอย
ช่วยเหลือให้ก�ำลังใจตลอดเวลา
	      ก�ำลังความรู้ มนุษย์จะขับเคลื่อนด�ำเนินชีวิตไปได้ก็
ต้องอาศัยความรู้ ซึ่งได้รับมาจากผู้อื่น เช่นกัน มีการศึกษาที่

                            16
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                     ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

ดี มีสติปัญญาแก้ปัญหา และมีความรู้จักบาปบุญคุณโทษ มี
ความสามารถในกิจการต่างๆ โดยเฉพาะรู้จักวิถีทางที่จะอยู่
ในสภาพสังคมปัจจุบันได้อย่างมีความสุข จนกลายเป็นสติ
ปัญญา ภายในของมนุษย์เองที่จะพิจารณาตามความพอ
เหมาะพอสม
	       ก�ำลังทัง ๔ นีมความส�ำคัญมากต่อการด�ำเนินชีวตช่วย
                ้ ้ ี                                     ิ
ท�ำให้เกิดเป็นพลังขึ้นภายในตัวเอง ก�ำลังสิ่งของ ก�ำลังกาย
ก�ำลังใจ และก�ำลังความรู้นี้ที่ผู้อื่นหยิบยื่นส่งผ่านมาให้ จะ
ต้องสร้างแปรสภาพให้เป็น พลังขึ้น ไม่ให้สุญเปล่า พลังทั้ง ๔
นี้ สรุปย่อ เป็น ๒ พลัง เรียกว่า พลังกาย - พลังใจ
	       ดังนั้น มนุษย์มีชีวิตอยู่ จะด�ำรงชีวิตต่อไปได้นั้นก็ต้อง
อาศัยก�ำลัง และมักจะปรารถนา อายุ วรรณะ สุข และพละ
	       ประการแรก ชีวิตนี้ต้องการอายุยืนยาวนาน
	       อายุ คือ ความเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งที่น�ำไปสู่ความ
เปลี่ ย นแปลง หมายถึ ง เปลี่ ย นแปลงสู ่ ค วามสลายและ
เปลียนแปลงสูความยังยืน บางคนแม้จะมีอายุยนยาว แต่เป็น
     ่         ่    ่                        ื
อยูดวยความประมาท หลงติดยาเสพติด หลงในรูป เสียง กลิน
   ่ ้                                                ่

                              17
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

รส สัมผัส จนท�ำให้หลงผิดละเว้นหน้าที่ที่ตนพึงกระท�ำ ชื่อว่า
มีอายุความเปลี่ยนแปลงไปสู่ความสลาย แม้จะมีชีวิตอยู่ก็
เท่ากับว่าเป็นผู้ตายแล้ว บางคนแม้จะมีอายุน้อย แต่เป็นอยู่
ด้วยความไม่ประมาท ตั้งใจท�ำหน้าที่ของตนให้บริบูรณ์ และ
เว้นทางที่จะน�ำไปสู่ความเสื่อม ชื่อว่ามีความเปลี่ยนแปลงไป
สู่ความยั่งยืน คือ แม้จะตายไปแล้ว ก็เป็นเหมือนมีชีวิตอยู่ ใน
ปฐมอนายุสสาสูตร พระพุทธเจ้าตรัสแสดงเหตุให้อายุยืนไว้
๕ ประการคือ
	      ๑.	ท�ำสิ่งที่สบายพอเหมาะพอดี เป็นสัปปายะ
	      ๒.	รู้จักประมาณในสิ่ งที่ ส บายพอเหมาะพอดี เป็น
สัปปายะ
	      ๓.	บริโภคสิ่งที่ย่อยง่าย
	      ๔.	เที่ยวในเวลาที่สมควร
	      ๕.	ประพฤติพรหมจรรย์ (บวชใจ)
	    ประการทีสอง ชีวตต้องการวรรณะผิวพรรณผ่องใส
              ่     ิ
มีความหมาย ๔ ประการ คือ
	    ๑) ผิวพรรณ หน้าตาอิ่มเอมผ่องใส
	    ๒) การยกย่องสรรเสริญ ได้รับการยอมรับจากสังคม
                            18
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                    ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	     ๓) ยศชั้น ฐานันดร ต�ำแหน่งหน้าที่การงานต่างๆ ให้
เจริญก้าวหน้ามั่นคงถาวร
	     ๔) เพศ เป็นเพศชายเพศหญิงที่สมบูรณ์
	     ผู้ให้เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มชื่อว่า ให้ผิวพรรณ
	        ประการที่สาม ชีวิตย่อมต้องการความสุข สุขกาย
สบายใจ สุขะ หมายถึง สภาพที่ทนได้ง่าย ตรงข้ามกับความ
ทุกข์ สภาพทีทนได้ยากล�ำบาก ความสบาย ความสะดวกราบ
             ่
รืนความสุขมีสองทาง คือ ทางกายและทางใจ สุขทางกาย คือ
  ่
มีสุขภาพดี ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย การท�ำงานสะดวกราบรื่น ไม่มี
อุปสรรคด้านร่างกาย ส่วนสุขทางใจ คือ มีจตใจทีดงาม ปลอด
                                          ิ ่ ี
โปร่งสดชื่น ไม่ว้าวุ่นวิตกกังวล แม้จะมีปัจจัยภายนอกเข้ามา
เบียดเบียนก็ตาม แม้ส�ำหรับคนทั่วไปความสุขนั้นมีหลายรูป
แบบ ยกตัวอย่าง สุขเกิดจากการมีทรัพย์ สุขเกิดจากการได้
ใช้จายทรัพย์ สุขเกิดจากการไม่เป็นหนี้ สุขเกิดจากการท�ำงาน
     ่
ที่ไม่มีโทษ
	      ประการที่สี่ ชีวิตนี้ต้องการก�ำลัง เพื่อสร้างเป็นพลัง
ส�ำหรับก�ำลังกายนั้นไม่ใช่อยู่ดีๆ แล้วจะมีก�ำลังจ�ำเป็นต้องมี

                             19
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

อาหารมีหล่อเลี้ยง พระพุทธองค์ตรัสว่า ผู้ให้อาหาร ชื่อว่าให้
ก�ำลัง อัตภาพของคนเรานั้น จะด�ำรงอยู่ได้ก็ต้องอาศัยอาหาร
ขาดอาหารแล้วชีวิตไม่อาจด�ำรงอยู่ได้ แม้บุคคลจะมีรูปร่าง
ใหญ่โตแข็งแรง มีก�ำลังมากปานใด หากไม่ได้รับประทาน
อาหาร ร่างกายก็ขาดก�ำลัง ส่วนบุคคลผู้มีก�ำลังน้อย ถ้าได้รับ
ประทานอาหารบริบูรณ์แล้ว ย่อมมีก�ำลังขึ้นมาได้
 	 ร่ า งกายนี้ ต ้ อ งการอาหารเพื่ อ สร้ า งพลั ง ในการขั บ
เคลื่อนต่อไป แต่จะมีพลังได้ ก็ต้องอาศัยอาหาร สรรพชีวิตทั้ง
หลายเป็นอยูได้ดวยอาหาร ดังค�ำว่า "สรรพสัตว์เป็นอยูได้ดวย
               ่ ้                                    ่ ้
อาหาร (สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฺฐิติกา)" เพราะการหิวอยากรับ
ประทานอาหารจึงถือว่าเป็นความทุกข์อย่างยิ่งนัก ดังพุทธ
พจน์ว่า "ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง (ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา)"
อาหารจึงเป็นสิ่งบ�ำรุงหล่อเลี้ยงที่จ�ำเป็นโดยมีจุดประสงค์คือ
ให้ แ ต่ ล ะคนมี สุ ข ภาพดี บุ ค คลจึ ง ควรเลื อ กอาหารอย่ า ง
ระมัดระวัง และรับประทานแต่พอประมาณ ดังที่พระพุทธเจ้า
ตรัสสอนให้ พระเจ้า ปเสนทิโกศลผู้เสวยอาหารมากเกินไป
จึงทรงอึดอัดจึงตรัสสอนด้วยคาถาว่า “ในกาลใด บุคคลเป็น
ผู้กินจุ มักง่วง และมักนอนหลับ กระสับกระส่ายเป็นดุจสุกร

                             20
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                  ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

ใหญ่ ทีเขาเลียงด้วยอาหาร ในกาลนัน เขาเป็นคนมึนซึม ย่อม
        ่     ้                     ้
เข้าห้องบ่อยๆ” พระพุทธองค์ตรัสอีกว่า “มหาบพิตร การ
บริ โ ภคโภชนะแต่ พ อประมาณจึ ง ควรเพราะผู ้ บ ริ โ ภคพอ
ประมาณย่อมมีความสุข” ต่อจากนันพระองค์จงตรัสคาถาแก่
                                  ้            ึ
พระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “ผู้มีสติทุกเมื่อ รู้ประมาณในโภชนะ
(อาหาร) ที่ได้มา มีเวทนาเบาบาง แก่ช้า อายุยืน”
	      พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมอบหมายให้สทสสนะ นัดดา
                                              ุ ั
ของพระองค์เรียนคาถานี้แล้วทูลคาถาในเวลาที่เสวย ต่อมา
พระองค์มีพระวรกายกระปรี้กระเปร่าดี ทรงลูบพระวรกาย
ด้วยฝ่าพระหัตถ์ ทรงเปล่งอุทานว่า “พระพุทธเจ้านั้น ทรง
อนุเคราะห์เราทั้งประโยชน์ชาตินี้และประโยชน์ชาติหน้า”
	      ชีวิตทางร่างกายต้องการพลังทางกายซึ่งการจะได้มา
นันจ�ำเป็นต้อง ออกก�ำลังกาย และ ก�ำลังกิน รวมทังก�ำลังนอน
  ้                                               ้
ด้วย ซึ่ง เป็นการปรับเปลี่ยนอิริยาบถ และปรับธาตุทั้ง ๔
ภายในร่างกายให้สมดุลกัน นั้นเอง
	      ชีวิตด�ำเนินต่อไปได้ต้องประกอบด้วยอายุ วรรณะ สุข
พละ


                           21
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

	        จะเห็นว่าทั้ง ๔ อย่างนี้พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน
หากปราศจากอายุ เราก็คงไม่สามารถมีชีิวิตได้ หากปราศ
วรรณะ เราคงไม่สามารถมีผิวพรรณที่ป้องกันลม แดดอยู่ได้
แม้แต่ความสุขจ�ำเป็นต้องมี และสุดท้าย คือ พละ ได้แก่ ก�ำลัง
ซึ่งถือเป็นสิ่งส�ำคัญ การที่จะมีก�ำลังต้องออกก�ำลัง เพื่อสร้าง
ให้เกิดพลังในการด�ำเนินชีวิต
	        สังคมตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคม
โลก จะด�ำเนินต่อไปได้ เพราะคนมีทั้งก�ำลังกายและก�ำลังใจ
ต่อกัน ถ้าคนในสังคมไม่ว่าระดับใดก็ตาม มีสุขภาพกาย ใจ
ย�่ำแย่ คนเป็นโรค อมทุกข์ ครอบครัวนั้น ชุมชนนั้น สังคมนั้น
หรือแม้แต่โลกนี้ ก็จะเป็นโรค เป็นทุกข์เป็นด้วย เรียกว่า คน
ป่วยไม่พอ สังคมประเทศชาติป่วยด้วย หรือสังคมประเทศ
ชาติ ป ่ ว ยไม่ พ อ ก็ พ ลอยท� ำ ให้ ค นภายในชาติ ป ่ ว ยไปด้ ว ย
ความเจ็บป่วยนี้แทนที่จะมีวงจ�ำกัดอยู่แค่ระดับปัจเจกบุคคล
เป็นคนป่วย (sick person) กลับขยายวงไปจนเป็นสังคมป่วย
(sick society) ด้วย ถ้าเป็นประเทศชาติ ก็เป็นประเทศป่วย
เพราะคนภายในประเทศขาดการออกก�ำลังกาย ก�ำลังใจ


                              22
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                  ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข




                     รู้จักชีวิตก่อนออกก�ำลังกาย-ใจ




	      เมื่อคนเห็นพระพุทธรูปคนส่วนมากมักให้คุณค่าหรือ
มองต่างกันไป ถ้าคนคนนั้นเป็นนักธุรกิจหวังผลก�ำไรที่ไม่ได้
ท�ำซีเอสอาร์แท้ (รับผิดชอบต่อสังคม) ก็จะเน้นการค้าขายตี
ค่าหวังก�ำไร ถ้าเป็นนักสะสมของเก่าก็เน้นการประมูลว่าเก่า
ขนาดไหน อายุเท่าไร เพียงไร และราคาควรอยู่ที่เท่าไร ถ้า
เป็นนักเคมีกจะเน้นสารเคมี ชนิดอะไร ท�ำมาจากอะไร ถ้าเป็น
             ็
นักโบราณคดีมองว่าสร้างขึ้นยุคสมัยไหน ท�ำด้วยอะไร อายุ
น่าจะประมาณเท่าไร และถ้าคนคนนั้นเป็นพุทธศาสนิกชน

                           23
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

เป็นชาวพุทธก็จะมองพระพุทธรูปด้วยความเคารพศรัทธา
เลือมใสท�ำให้จตใจสงบและเกิดปัญญา แต่ถาเป็นโจรก็พร้อม
   ่               ิ                               ้
ที่จะขโมยพระพุทธรูปน�ำไปขายอาจตามใบสั่งหรือหารายได้
	       ด้วยสถานภาพและอาชีพที่แตกต่างกันดังกล่าวท�ำให้
มองสิ่งเดียวกันแต่จากหลากหลายมุมมองหรือจากภูมิหลัง
ของตนเอง บางก็มหลายสถานภาพหลากหลาย เช่น นักธุรกิจ
                       ี
อาจเป็นชาวพุทธหรือเป็นขโมยเป็นโจรก็ได้ หรือบางคนอาจ
เป็นทั้งนักธุรกิจเป็นชาวพุทธและเป็นขโมยด้วยก็ได้
	       เช่ น เดี ย วกั น การมองชี วิ ต ก็ แ ตกต่ า งกั น ถ้ า เป็ น นั ก
วิทยาศาสตร์ก็อีกแบบหนึ่ง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เองก็มีหลาก
หลายสาขาแยกย่อยลงไป พวกวัตถุนิยมก็อีกแบบ พระพุทธ
ศาสนาก็อีกแบบ
	       ในที่นี้จะกล่าวถึงการมีชีวิตอยู่จากแง่มุมทางพระพุทธ
ศาสนาและวิทยาศาสตร์มองชีวิตกัน
	       การด�ำรงอยู่ของชีวิตทางพระพุทธศาสนา โดยปกติ
ถือว่ามีลักษณะส�ำคัญอยู่ ๓ ประการ คือ
	       (๑)	 อายุ ได้แก่ อินทรีย์ ๕
	       (๒)	 ไออุ่น ได้แก่ ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) ที่เกิดจากกรรม

                                  24
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                        ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	        (๓)	 วิญญาณ ได้แก่ จิต
	        ลักษณะทั้ง ๓ ดังกล่าวอาศัยกันและกันด�ำรงอยู่ ตั้งอยู่
จึงชื่อว่ายังมีชีวิตอยู่ รูปอินทร์ หรือ อินทรีย์ ๕ คือ (๑) จักขุนทรีย์
(๒) โสตินทรีย์ (๓) ฆานินทรีย์ (๔) ชิวหินทรีย์ (๕) กายินทรีย์
มีการรับอารมณ์ต่างกัน มีที่เที่ยวไปต่างกัน ไม่รับรู้อารมณ์
อันเป็นที่เที่ยวไปของกันและกัน เมื่ออินทรีย์ ๕ ประการนี้มี
อารมณ์ต่างกัน มีที่เที่ยวไปต่างกัน ไม่รับรู้อารมณ์อันเป็นที่
เที่ยวไปของ กันและกัน มีใจเป็นที่อาศัยและใจย่อมรับรู้
อารมณ์อันเป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์เหล่านั้น และ อินทรีย์ ๕
ประการนี้ อาศัยอายุด�ำรงอยู่ อายุอาศัยไออุ่นด�ำรงอยู่ และ
ไออุ่นอาศัยอายุด�ำรงอยู่เหมือนกัน เปรียบเหมือนเมื่อประทีป
น�้ำมันก�ำลังติดไฟอยู่ แสงสว่างอาศัยเปลวไฟจึงปรากฏ เปลว
ไฟก็อาศัยแสงสว่างจึงปรากฏอยู่
	        ท่าน ชี้ให้เห็นถึงความเหมือนและความต่างกัน อายุ
สังขาร กับเวทนียธรรม	 อายุสังขารกับเวทนียธรรมไม่เป็น
อันเดียวกัน (ถ้า) อายุสังขารกับเวทนียธรรมเป็นอันเดียวกัน
แล้ว การออกจากสมาบัติของภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
ก็ไม่พึงปรากฏ แต่เพราะอายุสังขารกับเวทนียธรรมต่างกัน

                                 25
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

ฉะนั้นการออกจากสมาบัติของภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
จึงปรากฏ เมื่อ ๓ สิ่งเหล่านี้ คือ (๑) อายุ (๒) ไออุ่น (๓)
วิญญาณ (จิต)ละกายนีไปกายนีจงถูกทอดทิง นอนนิงเหมือน
                         ้        ้ึ         ้          ่
ท่อนไม้ที่ปราศจากเจตนาคือ ตายนั่นเอง
	        ผูทตายไปแล้วกับภิกษุผเู้ ข้าสัญญาเวทยิตนิโรธต่างกัน
           ้ ี่
ตรงที่ผู้ที่ตายไปแล้วมีกายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร
ดับระงับไปมีอายุหมดสิ้นไป ไม่มีไออุ่น มีอินทรีย์แตกท�ำลาย
ส่วนภิกษุผเู้ ข้าสัญญาเวทยิตนิโรธมีกายสังขาร วจีสงขาร และ
                                                      ั
จิตตสั ง ขารดั บ ระงับ ไป แต่อายุยังไม่หมดสิ้นยั งมี ไออุ ่น มี
อินทรีย์ผ่องใส
	        ส่วนนักชีววิทยา ก็มองชีวิต ว่า หน่วยที่ต้องใช้พลังงาน
(life is the consuming unit) หรือ อาจเรียกว่า สิงทีมลกษณะ
                                                   ่ ่ ี ั
พื้นฐานประกอบด้วยโครงสร้างที่เป็นระบบ สืบพันธุ์ เจริญ
เติบโต กินอาหาร หายใจ ขับถ่ายของเสีย ตอบสนองต่อสภาพ
แวดล้ อ ม เคลื่ อ นไหว ควบคุม สภาพภายในและสามารถ
วิวัฒนาการได้ ท�ำให้สรุปได้ว่า ชีวิต คือ สภาวะของพืชและ
สัตว์ที่ด�ำรงชีวิตของตนเองอย่างเป็นระบบ มีการเจริญเติบโต
กินอาหาร หายใจ ขับถ่ายของเสีย ตอบสนองสภาพแวดล้อม

                             26
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                       ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

เคลื่อนไหว ควบคุมสภาพภายในและมีวิวฒนาการ จึงเป็นส่ิง
                                             ั
ที่ด�ำรงสภาวะแห่งชีวิตนี้ว่า สิ่งมีชีวิต
	        ถ้ามองถึงองค์ประกอบของชีวิต จะมีโครงสร้างที่เป็น
ส่วนค�ำคัญ คือ อะตอม โมเลกุล เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ และ
ระบบอวัยวะ
	        อะตอม (atom) เป็นองค์ประกอบที่เล็กที่สุดของสิ่งมี
ชีวิต ซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของธาตที่สามารถคงลักษณะของ
ธาตุชนิดนั้นๆ ได้
	        โมเลกุล (molecules) เป็นอะตอมสองอะตอมหรือ
มากกว่าของธาตุชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน
	        เซลล์ (cells) หน่วยเล็กทีสดทีแสดงคุณสมบัตของชีวต
                                   ่ ุ ่                    ิ     ิ
และสามารถสืบพันธ์ุได้ โดยตัวเอง มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มี
เซลล์เป็นจ�ำนวนมาก
	        เนื้อเยื่อ (tissue) เซลล์และสารประกอบที่มารวมกลุ่ม
กันเพื่อท�ำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งให้กับสิ่งมีชีวิต ประกอบ
ด้ ว ย (๑) เนื้ อ เยื่ อ บุ ผิ ว (๒) เนื้ อ เยื่ อ เกี่ ย วพั น (๓)
เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (๔) เนื้อเยื่อประสาท


                               27
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

	       อวัยวะ (organs) เป็นโครงสร้างทีประกอบด้วยเนือเยือ
                                       ่            ้ ่
มากกว่า ๑ ชนิดช่วยกันท�ำหน้าที่บางอย่างในร่างกายของสิ่ง
มีชีวิต ประกอบด้วย หัวใจ ปอด สมอง กระเพาะอาหาร ม้าม
กระดูก ตับอ่อน ไต ตับ ล�ำไส้ ผิวหนัง มดลูก และกระเพาะ
ปัสสาวะ
	       ระบบอวัยวะ (organ system) มีหลากหลายประกอบ
ด้วย (๑) ระบะบสิ่งปกคลุม (๒) ระบบประสาท (๓) ระบบ
กล้ามเนื้อ (๔) ระบบโครงร่าง (๕) ระบบไหลเวียน (๖) ระบบ
ต่อมไร้ท่อ (๗) ระบบน�้ำเหลือง (๘) ระบบหายใจ (๙) ระบบ
ย่อยอาหาร (๑๐) ระบบขับปัสสาวะ และ (๑๑) ระบบสืบพันธุ์
	       ในทางพระพุทธศาสนามองชีวิตที่แคบลงไป ท่านใช้
ค�ำว่า ปาณ หรือ ปราณ เช่นในศีล ๕ สิกขาบทข้อที่หนึ่งใช้
ค�ำว่า ปาณาติปาตา หมายถึง สัตว์ที่มีลมหายใจมีปราณ
ขนวบการหายใจ จะสกัดพลังงานจากอาหารที่กิน สิ่งมีชีวิต
ทุกชนิดจึงต้องหายใจ เพราะต้องการพลังงาน การหายใจ
ปกติเลยต้องการใช้ออกซิเจน มีลักษณะอาหาร + ออกซิเจน
คาร์บอนใดออกไซด์ + น�้ำ + พลังงาน


                          28
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                              ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	         ค�ำว่า ปาณะ แปลว่า สัตว์ ชีวิต ลมหายใจ หรือปราณ
มีความหมาย ๔ อย่างคือ (๑) ชีวิต (อสุ) (๒) ก�ำลัง (พล)
(๓) สัตว์ (สตฺต) และ (๔) ลมหายใจ (หทยคานิล) ค�ำว่า ปาณ
นี้ มีความว่า สิ่งเป็นเครื่องเป็นอยู่ได้แห่งเลห่าสัตว์ หมายถึง
สัตว์ทงหลายจะด�ำรงชีวต มีชวตอยูได้กเพราะปาณะ คือ ชีวต
       ั้                        ิ ีิ ่ ็                                      ิ
ก�ำลัง สัตว์และลมหายใจ
	         การเข้าใจชีวิต การด�ำรงอยู่ของชีวิต หรือการมีชีวิตอยู่
นี้เป็นสิ่งส�ำคัญเบื้องต้น และการจะใช้ชีวิตอยู่อย่างไร ก็มี
ความส�ำคัญ ต่อไป เช่นกัน จึงเน้นให้มการออกก�ำลังกาย - ใจ
                                               ี
	         ดั ง นั้ น ท่ า นจึ ง มี ก ารออกก� ำ ลั ง ซึ่ ง ก� ำ ลั ง เป็ น ส่ ว น
ประกอบหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นสิ่งที่ท�ำให้อาหารย่อย จิตใจ
เช่นกัน ท�ำให้เกิดการตื้นรู้ และขยัน ต่อไป ไม่ท้อแท้ ท้อถอย
มุ่งออกก�ำลังกายและก�ำลังใจต่อไป




                                      29
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ




                                    รู้จักกายและหน้าที่ของกาย



	       ก่อนจะออกก�ำลังกายต้องท�ำความเข้าใจว่า กายคือ
อะไรก่อน
	       ในทางพระพุทธศาสนา แม้จะเน้นสอนธรรมเรืองใจเป็น          ่
หลั ก แต่ ใ นเรื่ อ งกายก็ มี ด ้ ว ยและส� ำ คั ญ เป็ น เบื้ อ งต้ น เช่ น
เดียวกัน เพราะชีวิตประกอบด้วยกายและจิต หากมีค�ำถาม
ว่า ชีวิตคืออะไร ตามทัศนะของพุทธศาสนา ก็ต้องตอบว่า
ขันธ์ ๕ หรือ กอง ๕ กอง ประกอบกัน ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง
ไม่ได้ เพราะบางสิ่งแม้จะมีชีวิต ก็อาจมีแค่ ๔ กองหรือ ๓ กอง
ก็ได้

                                   30
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                     ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	       ส่วนกองที่เป็นส่วนของร่างกายนั้นเรียกว่า กองรูป
ประกอบด้วยธาตุ (ส่วนเป็นที่รวมกันเข้า) ทั้ง ๔ ดิน น�้ำ ไฟ
และลม องค์ประกอบส่วนต่างๆ ทั้งอวัยวะภายในและอวัยวะ
ภายนอก ทุกส่วนของร่างกาย สรุปลงในธาตุ ๔ ไม่อย่างใด
ก็อย่างหนึ่ง นี้เป็นส่วนลักษณะของธาตุทั้ง ๔ แต่ละส่วน
	       -	 ธาตุดิน มีลักษณะแข้นแข็ง มีอยู่ในร่างกายอวัยวะ
ภายในและภายนอกประกอบด้วย ผม ขน เล็บ ฟัง หนัง เนื้อ
เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ไส้
ใหญ่ ไส้เล็ก อาหารใหม่ อาหารเก่า เรียกว่า ปฐวีธาตุ
	       -	 ธาตุน�้ำ มีลักษณะเหลว เอิบอาบ ไหลซึมซาบ มีอยู่
ในร่างกาย น�้ำดี เสลด น�้ำหนอง น�้ำเลือด เหงือ มันข้น น�้ำตา
มันเหลว น�้ำลาย น�้ำมูก ไขข้อ มูตร เรียกว่า อาโปธาตุ
	       -	 ธาตุไฟ เป็นสิ่งที่มีลักษณะอบอุ่น ร้อน เผาผลาญ
อาหาร (ย่อย) มีอยู่ในร่างกาย ประกอบด้วย ไฟซึ่งท�ำให้
ร่างกายอบอุ่นอยู่เสมอ ไฟที่ท�ำให้ร่างกายช�ำรุดทรุดโทรม ไฟ
ที่ท�ำให้ร่างกายเร่าร้อน ไฟที่ท�ำให้อาหารที่กิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้ม
เข้าไปย่อย เรียกว่า เตโชธาตุ


                              31
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

	       -	 ธาตุลม มีลักษณะท�ำให้เคลื่อนไหว ไหวตัวได้ ฟุ้งไป
ลมในร่างกาย ประกอบด้วย ลมพัดขึนเบืองบน ลมพัดลงเบือง
                                      ้ ้                  ้
ต�่ำ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมพัดไปตาอวัยวะน้อยใหญ่ ลม
หายใจเข้า ลมหายใจออก เรียกว่า วาโยธาตุ
	       ร่างกายซึ่งประกอบด้วยธาตุ ๔ ดังกล่าวมานี้ มีขนาด
กว้างศอกก�ำมายาววา หนาคืบ มี ๕ กิง (ปัญจสาขา) ประกอบ
                                       ่
ด้วย แขน ๒ ขา ๒ ศีษระ ๑
	       บางที่ท่านเพิ่ม ว่า ธาตุอากาศ มีอยู่ในบางแห่ง คือช่อง
ว่างในร่างกายนี้ ได้แก่ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปาก ช่องที่อาหาร
ล่วงล�้ำล�ำคอลงไป และช่องที่อาหารเก็บอยู่ ช่องที่อาหารออก
ไปในภายนอก หรือช่องว่างเหล่าอื่นในร่างกายนี้ เรียกว่า อา
กาสธาตุ
	       ร่างกายนี้ท่านเรียกว่า ถ�้ำ ก็เพราะร่างกายมีลักษณะ
เหมือนถ�้ำ คือ โพรงข้างใน มีช่องทางคือประตูเข้าออกถึง ๙
ช่อง คือ ช่องตา ๒ ช่องจมูก ๒ ช่องปาก ๑ ช่องเบา ๑ ช่อง
หนัก ๑
	       ช่องเหล่านี้เป็นทางน�ำอาหารเข้าไปเลี้ยงร่างกายบ้าง
เป็นทางถ่ายเทของบูดของเสียออกจากร่างกายบ้าง

                            32
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                    ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	       มีจักร (ล้อ) ๔ คือ อิริยาบถใหญ่ ทั้ง ๔ ได้แก่ การยืน
เดิน นั่ง และนอน ผัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน เพื่อให้ร่างกายมี
ชีวะเป็นไป
	       ร่างกายของมนุษย์ มีกระดูกเป็นโครง รึงรัดไว้ด้วยเส้น
เอ็น ฉาบไว้ด้วยเนื้อและเลือด หุ้มไว้ด้วยผืนหนัง ข้างนอกดู
สะอาด แต่ข้างในเป็นโพรง มีสายโยงใยไปมายั้วเยี้ย เต็มไป
ด้วยสิ่งปฏิกูล
	       รูปหรือกาย คืออวัยวะทุกส่วนตังแต่ปลายผมลงไปจรด
                                      ้
พื้นเท้า สรุปคือธาตุ ๔ ธาตุดิน ธาตุน�้ำ ธาตุไฟ และธาตุลม
ดินน�้ำไฟลมประชุมร่วมกันทุกส่วนเป็นรูปเป็นร่าง เรียกว่า
กาย จะขาดเสียอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้
	       ชีวิตในทางปฏิบัติหรือชีวิตโดยความสัมพันธ์กับโลกนี้
ซึ่งต้องใช้งานอวัยวะในร่างกายแบ่งออกได้เป็น ๒ ภาค แต่ละ
ภาคมีระบบการท�ำงาน ซึ่งอาศัยช่องทางที่ชีวิตจะติดต่อ
เกี่ยวข้องกับโลกได้ซึ่งเรียกว่า “ทวาร” (ประตู, ช่องทาง) ดังนี้




                             33
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

	       ๑.	ภาครับรู้และเสพเสวยโลก อาศัยทวาร ๖ คือ ตา หู
จมูก ลิ้น กาย ใจ ส�ำหรับรับรู้และเสพเสวยโลกซึ่งปรากฏแก่
มนุษย์โดยลักษณะและอาการต่างๆ ที่เรียกว่า อารมณ์ ๖ คือ
รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์
	       ๒.	ภาคแสดงออกหรือกระท�ำต่อโลก อาศัย ทวาร ๓
คือ กาย วาจา ใจ (กายทวาร วจีทวาร มโนทวาร)
	       ส� ำ หรั บ กระท� ำ ตอบต่ อ โลก โดยแสดงออกเป็ น การ
ท�ำการพูด และการคิด (กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม) ในภาค
ที่ ๑ มีข้อที่พึงย�้ำเป็นพิเศษเพื่อสะดวกแก่การศึกษาต่อไปว่า
ค�ำว่า “ทวาร” (ใน ทวาร ๖) นั้น เมื่อน�ำไปกล่าวในระบบการ
ท�ำงานของกระบวนธรรมแห่งชีวิต ท่านนิยมเปลี่ยนไปใช้ค�ำ
ว่า “อายตนะ” ซึ่งแปลว่า แดนเชื่อมต่อให้เกิดความรู้หรือทาง
รับรู้
	       หน้าที่ของกายทั่วไปซึ่งมีอายตนะ (แดนเชื่อมต่อ)ทั้ง ๖
ซึ่งเป็นส่วนแสดงออกไปรับข้อมูลภายนอกหน้าที่ของกายซึ่ง
หมายถึงอวัยวะในร่างกายโดยเฉพาะภายนอกนั้นแตกต่าง
กัน


                            34
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                   ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

	    ตามีหน้าที่รับรูปสิ่งที่กระทบทางตา
	    หูมีหน้าที่รับเสียงสิ่งที่กระทบทางหู
	    จมูกมีหน้าที่รับกลิ่นสิ่งกระทบทางจมูก
	    ลิ้นมีหน้าที่รับรสสิ่งที่กระทบทางลิ้น
	    กาย (สิ่งที่นอกจากตา หู จมูก ลิ้น)มีหน้าที่รับสัมผัสที่
กระทบทางกาย
	    ใจ มีหน้าที่รับสิ่งที่มากระทบทางใจ




                            35
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ




                    แผนผังนาฬิกาชีวิต
	      อวั ย วะในส่ ว นภายในร่ า งกายที่ ท� ำ หน้ า ที่ ต ่ า งๆ มี
ลั ก ษณะการท� ำ งานแบ่ ง ตามล� ำ ดั บ เวลาของวั น เรี ย กว่ า
นาฬิกาชีวิตทางร่างกาย เป็นการท�ำงานของระบบร่างกาย
นาฬิกาชีวต ชีให้เห็นถึงการท�ำงานของอวัยวะในร่างกาย หาก
            ิ ้
เราได้รู้จักนาฬิกาชีวิตของตัวเอง ก็อาจจะสามารถใช้ชีวิต
อย่างสมดุลย์ โรคภัยมาเยี่ยมเยียนถามหาน้อยลง


                               36
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                  ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

                นี้เริ่มเวลาตั้งแต่วันใหม่
๐๑.๐๐ -๐๓.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ตับ" ควร
หลับพักผ่อนให้สนิทเป็นการออกก�ำลังนอนพักผ่อนอิริยาบถ
๐๓.๐๐-๐๕.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ปอด" ควร
ตื่นมาสูดอากาศสดชื่น ตื่นมาประกอบความเพียร
๐๕.๐๐-๐๗.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาของ "ล�ำไส้ใหญ่" ควรขับ
ถ่ายอุจจาระ ปรับธาตุสี่ให้สมดุลย์
๐๗.๐-๐๙.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "กระเพาะ
อาหาร" ควรกินอาหารเช้า ซึ่งถือเป็นการรับอาหารเพื่อออก
ก�ำลังกิน ทานอาหารเพื่อสร้างพลังกาย
๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงาน "ม้าม" ควรพูด
น้อย กินน้อย ม้ามท�ำหน้าที่ในการดึงเอาธาตุเหล็กจากฮีโม
โกลบินของเซลล์เม็ดเลือดแดง น�ำมาใช้ในร่างกาย และยังท�ำ
หน้าที่เอาของเสียออกจากกระแสเลือดในรูปของน�้ำปัสสาวะ
เช่นเดียวกับตับเพื่อปรับสมดุลของธาตุ

                           37
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

๑๑.๐๐-๑๓.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "หัวใจ" ควร
เลี่ยงการใช้ความคิด ความเครียด ระงับอารมณ์ตื่นเต้นตกใจ
ปรับเปลี่ยนอิริยาบถให้สม�่ำเสมอ
๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ล�ำไส้เล็ก"
ควรงดกินอาหารทุกประเภท ล�ำไส้เล็กมีหน้าที่ย่อยอาหาร
ตั้งแต่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ปรับสมดุลย์ธาตุ
๑๕.๐๐-๑๗.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาท�ำงานของ "กระเพาะ
ปัสสาวะ" ควรท�ำให้เหงื่อออก ออกก�ำลังกาย ปรับเปลี่ยน
อิริยาบถ บริหารร่างกาย
๑๗.๐๐-๑๙.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาท�ำงานของ "ไต" ควรท�ำตัว
ให้สดชื่น ปรับสมดุลย์ธาตุ
๑๙.๐๐-๒๑.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาท�ำงานของ "เยื่อหุ้มหัวใจ"
ควรท�ำสมาธิ สวดมนต์ เป็นการออกก�ำลังใจ บริหารจิต
๒๑.๐๐-๒๓.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ระบบความ
ร้อน" ห้ามอาบน�้ำเย็น ตากลม ควรท�ำร่างกายให้อบอุ่น ปรับ
สมดุลธาตุทั้ง ๔

                          38
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                     ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ถุงน�้ำดี"
ควรดื่ ม น�้ ำ ก่ อ นเข้ า นอน สวมชุ ด นอนผ้ า ฝ้ า ย เพราะผ้ า
สังเคราะห์จะดูดน�้ำในร่างกาย โดยถุงน�้ำดีท�ำหน้าที่ในการ
เก็บสะสมน�้ำดีเพื่อช่วย ในการย่อยอาหาร ปรับสมดุลธาตุ
ปรับเปลี่ยนอิริยาบถ




                              39
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ




                                   รู้จักจิตและหน้าที่ของใจ




	      ค�ำว่า จิต นี้ เป็นชื่อที่สมมติเรียก ได้แก่สิ่งที่ไม่มีรูป
ปรากฏมีแต่ชื่อสมมติ ตกลงกัน แต่สิ่งนั้นมีอยู่ในตัวของคน
และสรรพชีวิต ไม่สามารถจะเห็นด้วยตาหรือพิสูจน์ได้ด้วย
วัตถุใดๆ มีแต่ชื่อ ไม่มีตัวตน แต่ว่ามีจริง เรียกว่า จิต
	      ทุกคน มีจตเพียงดวงเดียวเท่านัน แต่จตท�ำหน้าทีหลาย
                  ิ                     ้      ิ          ่
อย่าง เปรียบเสมือนคนๆ เดียวแต่ท�ำงานหรือหลายหน้าที่
	      ค�ำศัพท์ที่ใช้ใกล้เคียงกับค�ำว่า ใจ ซึ่งมีอยู่หลากหลาย
ศัพท์ คือ ค�ำว่า จิต ใจ มโน วิญญาณและหัวใจ
	      ค�ำว่า จิต หมายถึง ธาตุกายสิทธิ์ผู้ส�ำเร็จความคิด
นอกจากให้ส�ำเร็จความคิดแล้ว (สังขาร) ยังสามารถท�ำการ
                              40
ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต
                                   ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข

เก็บสั่งสมสิ่งที่คิดนั้นไว้ด้วย (สัญญา) จิตให้ส�ำเร็จความคิด
ด้วยให้ส�ำเร็จการสั่งสมด้วย
	        ค�ำว่า ใจ หมายถึง มโนทวาร ทีมกเรียกกันว่า กาย วาจา
                                      ่ ั
ใจ กายก็คือ กายทวาร วาจาก็คือ วจีทวาร และมโนทวาร
	        ค�ำว่า มโน ศัพท์นี้มีใช้มาก่อนพุทธกาลหมายถึงธาตุ
กายสิทธิ์อันหนึ่งซึ่งสิงอยู่ในร่างกายของคนที่ยังมีชีวิตอยู่
สามารถรับรูอารมณ์และให้สำเร็จความคิดได้ หมายเอาทวาร
               ้                �
เป็นช่องทางที่รู้อารมณ์เรียกว่า มโนทวาร เช่น ค�ำว่า มนุษย์
มาจากรากศัพท์ว่า มน + อุสฺส มน แปลว่า ใจ อุสฺส แปลว่า
สูง รวมเรียกว่า มนุษย์ มนุสฺส แปลว่า ผู้มีใจสูง เพราะมีจิตใจ
สูง สติปัญญามาก จึงเรียกว่า มนุษย์
	        ค�ำว่า วิญญาณ เป็นศัพท์ที่มีความหมายในภาษาไทย
ไปอีกอย่าง ซึ่งความหมายเดิม หมายถึงอาการรู้ของจิตอย่าง
หนึ่งที่เรียกว่า วิญญาณขันธ์ อันเกิดมาจากทวารทั้ง ๖ อีก
อย่างหนึ่งหมายเอาธาตุรู้อย่างเดียวว่า วิญญาณาตุ ซึ่งก็คือ
ธาตุกายสิทธิ์ นอกจากให้สำเร็จความคิดเพราะการสังสมแล้ว
                              �                      ่
ยังมีลักษณะรู้แจ้งอารมณ์อยู่ในตัวด้วย ข้อน่าสังเกตส�ำหรับ
ค�ำว่า วิญญาณนี้ ในภาษาไทย อาจแปลมาจากภาษาอังกฤษ

                            41
ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ

ว่า Soul ซึ่งมีความหมายถึงตัวอัตตา หรือสิ่งที่เป็นนิรันดร
ซึ่งทางพระพุทธศาสนาปฏิเสธ ไม่ใช้ค�ำนี้ ดังทีมีค�ำว่า อนัตตา
                                               ่
มาแย้งนั้นเอง
	      ค�ำที่น่าสนใจอีกค�ำหนึ่ง คือ ค�ำว่า หัวใจ หมายถึง ก้อน
เนือส่วนหนึงในร่างกาย เป็นคนละอันกับจิต จิตเป็นนามธรรม
    ้        ่
ส่วนหัวใจเป็นรูปธรรม หัวใจเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกาย
แต่ผู้คนไม่เข้าใจ มักเข้าใจว่า เป็นจิต จึงมีค�ำศัพท์ที่ใช้ค�ำว่า
หัวใจนี้ แทน จิตใจอยู่บ่อยครั้ง เป็นสัญญะ เช่น คนไม่มีหัวใจ
หมายถึงคนที่ไม่มีความรู้สึกนึกถึงผู้อื่นเลย แม้จะมีหัวใจเป็น
อวัยวะก็ตามแต่จิตใจที่เป็นธรรมะ เป็นจิตวิญญาณภายใน
ไม่มี
	      ดังนั้น ทั้งค�ำว่า จิต ใจ มโน และวิญญาณ เป็นค�ำที่มี
ความหมายใกล้เคียงกัน คือ ธาตุกายสิทธิ์อันเดียวกันนั่นเอง
แต่เรียกไปตามลักษณะและคุณสมบัติต่างหากออกไปอย่าง
ในคัมภีร์รุ่นหลังพระไตรปิฏก คัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านกล่าวว่า
“ วิญญาณํ จิตฺตํ มโนติ อตฺถโต เอกํ” แปลว่า ค�ำว่า วิญญาณ
จิต และมโน โดยใจความเป็นอันเดียวกัน


                              42
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189
ออกกำลังกาย ใจ1-189

More Related Content

Similar to ออกกำลังกาย ใจ1-189

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxKritwarongTheychasir
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพTerapong Piriyapan
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์Apichat kon
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559Klangpanya
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยChuchai Sornchumni
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfFaiSurkumron1
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)Chuchai Sornchumni
 
Resilient for health innovation
Resilient for health innovationResilient for health innovation
Resilient for health innovationPhathai Singkham
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsThira Woratanarat
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์kawpod
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘Fah Chimchaiyaphum
 

Similar to ออกกำลังกาย ใจ1-189 (20)

เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptxสุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
สุขศึกษา ม. 5 หน่วยที่ 7.pptx
 
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพหน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
หน่วยที่ 4 โรคทางพันธุกรรมและโรคจากการประกอบอาชีพ
 
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
โครงร่างวิจัยเกี่ยวกับการแพทย์แผนไทยประยุกต์
 
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
World Think Tank Monitors l พฤษภาคม 2559
 
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัยระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
ระบบบริการปฐมภูมิหมออนามัย
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Health care system 2018
Health care system 2018Health care system 2018
Health care system 2018
 
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdfรายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
รายงาน แนวคิดสุขภาพองค์รวมในสังคมไทย.pdf
 
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
โครงการพัฒนาการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว(ตัวอย่าง)
 
Resilient for health innovation
Resilient for health innovationResilient for health innovation
Resilient for health innovation
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Foods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problemsFoods and common musculokeletal problems
Foods and common musculokeletal problems
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
โครงการคัดกรองโรคทางหลอดเลือดและสุขภาพจิต ปี ๒๕๕๘
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Sadsana
SadsanaSadsana
Sadsana
 
Clu5
Clu5Clu5
Clu5
 

ออกกำลังกาย ใจ1-189

  • 1. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข กำ�ลังกาย ออกกำ�ลังใจ พระราชด�ำรัสในหลวง วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๙ ขอขอบใจที่ ท ่ า นทั้ ง หลายมาให้ พ รในวั น นี้ และที่ นายกฯ ได้กล่าวค�ำให้พร ซึ่งนับว่าเป็นค�ำให้พรที่ให้ก�ำลังใจ ต้องมีก�ำลังใจอย่างเสมอ เมื่อครู่นี้ไม่ได้ลุก เพราะว่าก�ำลัง ใจอาจจะมี แต่ก�ำลังกายไม่มี ฉะนั้นจึงไม่ลุกขึ้น ถ้าลุกขึ้น ก็เสียก�ำลังกายเปล่าๆ แต่ท่านก็เข้าใจที่ว่าอย่างนี้ เพราะ ว่ า จะต้ อ งรั ก ษาก� ำ ลั ง กายไว้ ใ ห้ ดี ซึ่ ง ก� ำ ลั ง กายไม่ ค ่ อ ยดี ด้วยเหตุว่าการออกก�ำลังนี้เกินส่วนที่จะมีทางที่จะมีก�ำลัง ก็ เลยต้องประหยัดก�ำลัง แต่ในเวลาเดียวกัน ถ้ามีก�ำลังกายไว้ ก็คงเข้าใจว่า จะมีประโยชน์เพราะว่าชาติบ้านเมืองต้องใช้ ก�ำลังกาย ก�ำลังจิตใจด้วย อย่างที่ท่านนายกฯ ต้องออก ก�ำลังกาย และก�ำลังจิตใจ คนก็ได้เห็นทังนันว่าได้ประโยชน์ ้ ้ ต้องอธิบายนิดหน่อย 1
  • 2. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ แต่ ก ารที่ มี ก� ำ ลั ง ใจก� ำ ลั ง กายนี้ จ ะต้ อ งให้ ทุ ก คนได้ ร่วมกันช่วยกันร่วมกันออกก�ำลังกาย ก�ำลังใจเพื่อให้ชาติ บ้านเมือง รอดพ้นอันตรายได้... โรคสูตร *(๑) คือสูตรว่าด้วยโรค สรุ ป ความจากพระสุ ต ตั น ตปิ ฎ ก อั ง คุ ต ตรนิ ก าย จตุกนิบาต ได้ว่าพระพุทธเจ้าได้ทรงสอนในโรคสูตรว่า โรคมี ๒ ชนิด คือโรคทางกายและโรคทางใจ โรคทางกาย น้อยกว่า โรคทางใจ ผู้ที่ไม่มีโรคทางกายตลอดระยะเวลา ๑ ปี หรือ หลายปี แม้ยิ่งกว่า ๑๐๐ ปี ยังพอมีอยู่ แต่ผู้จะกล่าวอ้างว่า ตนไม่มีโรคทางใจตลอดระยะเวลาแม้ครู่เดียวหาได้ยากมาก ยกเว้นผู้ที่หมดกิเลสแล้ว พระพุทธองค์ยังได้สอนอีกว่าโรค ของบรรพชิตมี ๔ อย่าง สรุปความว่าเป็นคนมักมาก คับแค้น ไม่สันโดษด้วยปัจจัย ๔ ตั้งความปรารถนาชั่วเพื่อให้ได้ลาภ สักการะและ ชื่อเสียง วิ่งเต้นขวนขวายพยายามเพื่อไม่ให้ ผู้อื่นดูหมิ่นเพื่อให้ได้ลาภสักการะและชื่อเสียง และเข้าไป หาตระกูล (ผู้มีฐานะดี ร�่ำรวย) นั่งกล่าวธรรม กลั้นอุจจาระ ปัสสาวะ เพื่อให้เขานับถือ พระองค์ทรงสอนให้ละเว้นจาก โรคเหล่านี้ โดยจักเป็นผู้อดทน อดกลั้นเวทนาทั้งหลาย อัน 2
  • 3. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข เกิดมีในร่างกายแล้ว ดังนั้นจะเห็นได้ว่า พระพุทธองค์ทรง อธิบายเรื่องโรคกว้างขวางกว่าโรคทางกายและทางใจ แต่ รวมถึงความไม่สันโดษ มักมากในปัจจัย ๔ ความปรารถนา ทางชั่ ว และวิ่ ง เต้ น เพื่ อ ลาภสั ก การะ คบหาหรื อ สั ง คม กั บ คนรวยเพื่ อ ให้ เ ขานั บ ถื อ ในสมั ย ใหม่ อ งค์ ก ารอนามั ย โลกได้ ข ยายความหมายของค� ำ ว่ า สุ ข ภาพ รวมถึ ง ความ สมบู ร ณ์ พ ร้ อ มมู ล ทางกาย จิ ต สั ง คม และจิ ต วิ ญ ญาณ และต่ อ มาในปี ๒๕๕๐ ใน พ.ร.บ.สุ ข ภาพแห่ ง ชาติ ไ ด้ มี การนิยามค�ำว่าสุขภาพที่วงการสาธารณสุขไทยใช้กันอยู่ ในปัจจุบันว่า “สุขภาพ” หมายความว่า “ภาวะของมนุษย์ ที่สมบูรณ์ ทั้ง ทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงกันเป็นองค์รวม อย่างสมดุล” จากโรคสูตรนี้ จึงพอเจ้าใจว่าพระพุทธองค์ทรงให้ความ ส�ำคัญกับโรคทางใจมาก และทรงใช้การบ�ำเพ็ญทางจิต เพื่อ ป้องกันและรักษาทั้งโรคทางจิตและโรคทางกายด้วย เพราะ กายกับจิตเป็นของคู่กัน ดังนั้นเมื่อมีการออกก�ำลังกาย ก็ควร มีการออกก�ำลังใจ ควบคู่กันด้วย (๑) พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระสุตตันตปิฎก เล่ม ๒๑ หน้า ๒๑๗-๒๑๘ 3
  • 4. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ สภาพปัญหาสุขภาพในปัจจุบัน จากกระแสโลกาภิวัตน์ ท�ำให้เกิดผลกระทบต่อการ พั ฒ นาทางด้ า นเศรษฐกิ จ และสั ง คมของทั่ ว โลกและของ ประเทศไทย ที่มุ่งเน้นการพัฒนาทางวัตถุแบบทุนนิยม ที่ มุ ่ ง แสวงหาก� ำ ไรเป็ น ส� ำ คั ญ ท� ำ ให้ เ ศรษฐกิ จ เกิ ด ความ เหลื่ อ มล�้ ำ สั ง คมเปลี่ ย นไปสู ่ ก ารเสื่ อ มสลาย จากสั ง คม ตะออกเป็ น สั ง คมตะวั น ตก สั ง คมเกษตรกรรมเป็ น สั ง คม อุ ต สาหกรรม สั ง คมชนบทกลายเป็ น สั ง คมเมื อ งมากขึ้ น ท� ำ ให้ แ บบแผนในการด� ำ รงชี วิ ต เปลี่ ย นไป เกิ ด กระแส 4
  • 5. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข วั ต ถุ นิ ย ม บริ โ ภคนิ ย ม ที่ มี ค ่ า นิ ย มเลี ย นแบบการบริ โ ภค ตามต่างชาติ ฟุ่มเฟือย ไม่เพียงพอ มีการใช้เทคโนโลยีเกิน ความจ�ำเป็นและไม่เหมาะสม สถาบันทางสังคมอ่อนแอ กลายเป็ น สั ง คมที่ บ กพร่ อ งทางด้ า นคุ ณ ธรรม ศี ล ธรรม จริยธรรม มีการใช้ชีวิตอย่างเร่งรีบ แก่งแย่ง แข่งขัน เอา รัดเอาเปรียบ แสวงหารายได้เพื่อเลี้ยงดูตนเอง ครอบครัว และการเติบโตของธุรกิจ ท�ำให้ขาดความเอื้ออาทร ใส่ใจซึ่ง กันและกัน ขาดการเอาใจใส่ดูแลสุขภาพ รับผิดชอบต่อผล กระทบทางด้านสุขภาพและสังคม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ผลิตสินค้าบริโภคทีไร้คณค่าทางโภชนาการ เกิดการขับเคลือน ่ ุ ่ โดยอุ ต สาหกรรมอาหารและการเกษตรข้ า มชาติ แ ละใน ประเทศ จากการส่งเสริมการตลาดเพื่อช่วงชิงผลประโยชน์ ทางการค้ า อาหารฟาสต์ ฟู ด ส์ อาหารจานด่ ว น อาหาร ส�ำเร็จรูป กึ่งส�ำเร็จรูป ที่หาได้ง่าย สะดวก ไม่สิ้นเปลืองเวลา มาก ซึ่งส่วนมากมักเป็นอาหารประเภทผัดทอด ย่างหรือปิ้ง อาหารประเภทเนื้อที่มีโปรตีนมีไขมันสูงและพฤติกรรมการ บริโภคทีไม่เหมาะสม นิยมอาหารรสจัด มีเกลือโซเดียมสูงและ ่ 5
  • 6. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ หวานมากไป กินผักและผลไม้น้อย ขาดการออกก�ำลังกาย ไม่ค�ำนึงถึงผลกระทบทางสุขภาพที่น�ำไปสู่ภาระโรคต่างๆ รวมทังสิงแวดล้อมทีไม่ปลอดภัยมีมลพิษท�ำให้วถการเดินทาง ้ ่ ่ ิี ทีเอือต่อสุขภาพไม่เกิดขึนกับคนส่วนใหญ่ นอกจากนันยังเกิด ่ ้ ้ ้ ความเครียดสะสม ในบางรายไม่สามารถหาทางออกได้ต้อง หันไปพึ่งการกินอาหาร สูบบุหรี่ และดื่มสุรา ซึ่งมีกลไกการ ตลาดที่เข้มแข็ง ต้องมีการควบคุมได้อย่างเท่าทัน ด้วยเหตุดังกล่าวข้างต้น ท�ำให้ปัญหาทางด้านสุขภาพ เปลี่ยนแปลงไป โดยมีแบบแผนการเจ็บป่วยและตายเปลี่ยน จากภาวะทุพโภชนาการเป็นภาวะโภชนาการเกินและโรคอ้วน มากขึ้น จากโรคติดเชื้อหรือโรคติดต่อทั่วไป เป็นโรคไม่ติดต่อ เรื้อรังที่สามารถป้องกันได้ ที่เกิดจากปัจจัยเสี่ยงภายใต้วิถี ชีวิตและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนไป ซึ่งองค์การอนามัยโลก (World Health Organization – WHO) ได้คาดประมาณว่า ในปี ๒๕๔๘ จ�ำนวน 6
  • 7. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข การตายของประชากรโลกทั้งหมดประมาณ ๕๘ ล้าน คน มีประมาณ ๓๕ ล้านคน ( ร้อยละ ๖๐ ) มีสาเหตุหลักจาก โรคเรื้อรัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังหรือโรคไร้ เชื้อเรื้อรัง จากโรคหัวใจและหลอดเลือด(Cardiovascular Disease) เป็นปัญหาอันดับต้นๆ ของทั่วโลก มีการตาย ประมาณ ๑๗.๕ ล้านคน ( ร้อยละ ๒๙) และมีแนวโน้มรุนแรง ขึ้น โดยคาดว่าในปี ๒๕๖๕ ทั่วโลกจะมีผู้เสียชีวิตประมาณ ๒๕ ล้านคน โดยมีประชากรประมาณ ๑๙ ล้านคน หรือ ร้อยละ ๘๐ จะเกิดขึนในกลุมประเทศก�ำลังพัฒนาและยากจน ้ ่ และเป็นสาเหตุการตายทีสำคัญของกลุมประชากรวัยแรงงาน ่ � ่ ซึงจะเป็นเหตุให้เกิดความสูบเสียทางเศรษฐกิจของครอบครัว ่ สังคมและประเทศชาติ และความสูญเสียปีสุขภาวะหรือ ภาระทางสุขภาพ (Disability Adjusted Life Year : DALY) จากโรคเรื้อรัง ๖ ใน ๑๐ อันดับแรกและมากกว่า เกือบ ๒ เท่า เมื่อเทียบกับโรคติดเชื้อ 7
  • 8. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ จากการศึ ก ษาภาระโรคและภาวะจากปั จ จั ย เสี่ ย ง ทางสุขภาพของประชาชนไทย ในปี ๒๕๔๗ มีความสูญเสีย ปีสุขภาพ *(๓) จากโรคไม่ติดต่อ คิดเป็นร้อยละ ๖๕ ของ ความสูญเสียทั้งหมด โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มโรคหัวใจและ หลอดเลือด และโรคมะเร็ง นอกจากนี้ยังพบว่าภาระโรค ๑๐ อันดับแรก เกิดจากปัจจัยเสี่ยงจากการด�ำเนินวิถีชีวิตที่ ไม่ถูกต้องเหมาะสมที่ส�ำคัญตามล�ำดับคือ การบริโภคสุรา หรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ บุหรี่ ความดันโลหิต ภาวะ อ้วน โคเลสเตอรอล การบริโภคผักและผลไม้ กิจกรรมทาง กายหรือการออกก�ำลังกายไม่เพียงพอ(ดูแผนภูมิที่ ๑.๑) โดยสถานการณ์ อั ต ราการเจ็ บ ป่ ว ยเข้ า รั บ การรั ก ษาเป็ น ผู้ป่วยในด้วยโรคที่มีความส�ำคัญในอันดับต้นๆ ใน ๕ โรค มี แนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี ๒๕๔๘ - ๒๕๕๑ ประมาณ ๑.๒. - ๑.๖ เท่ า ส� ำ หรั บ ในปี ๒๕๕๔ พบว่ า มี อั ต ราผู ้ ป ่ ว ยใน (ผู้ป่วยที่นอนพักรักษาพยาบาลในโรงพยาบาล) ด้วยโรค ความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน โรคหัวใจ โรคมะเร็ง และ โรคหลอดเลือดสมอง คิดเป็น ๑,๑๔๙, ๘๔๕, ๖๘๕, ๕๐๕ 8
  • 9. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข และ ๒๕๗ ต่อประชากรแสนคน ตามล�ำดับ และมีอัตรา ผู้ป่วยนอก คิดเป็น ๑๔,๓๒๘, ๙,๗๐๒, ๒๕๖๕, ๑,๐๒๓ และ ๙๘๐ ต่อประชากรแสนคน ตามล�ำดับ (ในแผนภูมิที่๑.๒) และสาเหตุการเสียชีวิตของคนไทยที่ส�ำคัญ ๑๐ อันดับแรก ในปี ๒๕๕๒ มาจากโรคมะเร็ง รองลงมาคือ โรคหัวใจ โรค หลอดเลือดสมอง โรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ในอัตรา ๘๘.๓,๒๙.๐, ๒๑.๐, ๑๑.๑ และ ๓.๖ ต่อประชากร แสนคนตามล�ำดับ โดยมีผเู้ สียชีวตจาก ๕ โรคทีสำคัญจ�ำนวน ิ ่ � ๙๗,๑๐๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๒๔.๖ ของผู้เสียชีวิตทั้งหมด จากโครงสร้างประชากรไทยที่เปลี่ยนไปสู่สังคมผู้สูง อายุ ท�ำให้ประชากรวัยสูงอายุเพิ่มขึ้น ประชากรวัยเด็กและ วัยแรงงานลดลง ภาวะอนามัยเจริญพันธ์รวมอยูตำกว่าระดับ ่ �่ ทดแทน มีสัดส่วนประชากรเด็ก : แรงงาน : ผู้สูงอายุ ร้อยละ ๒๐.๕ : ๖๗.๖ : ๑๑.๙ ในปี ๒๕๕๓ เป็นร้อยละ ๑๘.๓ : ๖๖.๙ : ๑๔.๘ ในปี ๒๕๕๙ ในขณะที่อายขัยเฉลี่ยของคนไทยเพิ่ม ขึ้นเป็น ๗๕.๖ ปี (เพิ่มจากปี ๒๕๔๙ ชาย ๖๘ ปี หญิง ๗๕ ปี แต่ยังต�่ำกว่าเป้าหมายที่ก�ำหนดไว้ ๘๐ ปี แต่มีปัญหาการ 9
  • 10. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ เจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นเช่นกัน โดยเฉพาะ กลุ่มผู้สูงอายุมีอัตรามารับบริการผู้ป่วยใน ในอัตราค่อนข้าง สูงมากในปี ๒๕๕๑ ด้วยโรคความดันโลหิตสูงมากที่สุดใน อัตรา ๗,๒๑๓ ต่อประชากรแสนคน รองลงมาคือเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หัวใจขาดเลือด อัมพฤกษ์อัมพาต ในอัตรา ๔,๖๕๖ ๑,๙๐๙ ๑,๘๕๗ และ ๙๙๕ ต่อประชากรแสนคน ท�ำให้สงผลกระทบต่อภาระค่าใช้จายรักษาพยาบาลของภาค ่ ่ รัฐในปัจจุบันและอนาคตอย่างมากมาย 10
  • 11. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข แนวโน้มการดูแลสุขภาพ แนวโน้มการดูแลสุขภาพ ได้เปลียนแปลงจากเดิมทีเ่ น้น ่ เพียงดูแลร่างกายเฉพาะเมือเกิดโรคขึนแล้วหรือเมือเกิดความ ่ ้ ่ ผิดปกติ ปัจจุบันเน้นการดูแลคนเพื่อป้องกันด้วยการเน้นการ ออกก�ำลังกายป้องกันโรคภัยไข้เจ็บภายนอก โรคทางกายเป็น หลักและมีการเพิมโรคทางใจ ดูแลแบบครบวงจร ดูแลสุขภาพ ่ กายและสุขภาพใจ ไม่ใช่รักษาแค่โรคเพียงอย่างเดียวแต่ หมายถึงการมุ่งเน้นรักษา คน (จิตใจ) ด้วย ท�ำให้เกิดมีแนว โน้มการออกก�ำลังกาย - ก�ำลังใจ เป็นจ�ำนวนเพิ่มมากยิ่งขึ้น 11
  • 12. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ ดูแลตนเอง (ทางกาย-ใจ) เรียกว่า รักษาแค่โรคอย่างเดียวไม่ พอแล้ว ต้องให้ความใส่ใจคนด้วย เช่นเดียวกันแนวโน้มการใช้ยา ปัจจุบนได้เปลียนแปลง ั ่ จากผลิตเพื่อใช้รักษาเมื่อเกิดโรคหรือความผิดปกติขึ้น แต่จะ หันมาผลิตยาเพื่อป้องกันไม่ให้เซลล์ในร่างกายอ่อนแอ ไม่มี ก�ำลัง เพื่อเสริมบ�ำรุงแต่ละเซลล์ในร่างกายให้แข็งแรงมีก�ำลัง มีภมคมกันและช่วยตัดวงจรไม่ให้เชือโรคหรือไวรัสมีการเจริญ ู ิ ุ้ ้ เติบโตได้ครบวงจรได้ ยาสมัยใหม่จึงเน้นหนักไปด้านการ บ�ำรุงป้องกัน เป็นอาหารเสริมหรือกินเพื่อสุขภาพโดยน� ำ สมุนไพรมาท�ำเป็นยา เช่น กระเทียม มะระ ขิง กระชาย พริก ไทย ฯลฯ และเน้นการป้องกันด้วยการออกก�ำลังกายขยับตัว ยึดเส้นยึดสาย มีการเดินเพื่อสุขภาพ เป็นต้น ทั้งนี้เป็นเพราะว่า มนุษย์ประกอบด้วยกายเรียกว่ารูป และจิตใจเรียกว่า นาม กายกับจิตใจหรือรูปกับนามประกอบ เข้าด้วยกัน เรียกว่า ชีวิต ชีวิตที่ประกอบด้วยกายและใจ เท่านันไม่สามารถทีจะด�ำเนินไปได้ จะต้องมีสงทีคอยผยุงและ ้ ่ ิ่ ่ ขับเคลื่อนไป เรียกว่า ก�ำลัง หรือพลัง เป็นเครื่องหล่อเลี้ยง 12
  • 13. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ท�ำให้กายและใจด�ำเนินไปได้ หากมีแต่กายและใจเท่านั้นคง ยังไม่สามารถด�ำเนินไปได้เหมือนรถจะวิ่งไปได้ แม้มีรถและ คนขับพร้อม แต่ถ้าหากปราศจากน�้ำมัน (พลังงาน) รถก็วิ่งไป ไม่ได้ฉันใด ชีวิตคน (ร่างกายและจิตใจ) จะด�ำเนินไปได้และ ได้ดีด้วย จ�ำเป็นต้องมีก�ำลังและพลัง (พละ) ชีวิตอาศัยก�ำลัง เกิดจากสิ่งภายนอกได้รับมาจากภายนอก และพลังภายใน ตัวคือพลังกายและพลังใจให้มีขึ้นภายในตนให้ได้ ร่างกาย และจิตใจนี้ จึงสามารถไปได้ ร่างกายและใจนันก็มระบบส่งก�ำลังเหมือนรถยนต์ เช่น ้ ี ปอด ระบบหายใจ หัวใจ กล้ามเนื้อ โดยอาศัยก�ำลังจาก อาหาร การออกก�ำลังกายใช้เป็นก�ำลังกลและถ่ายทอดไปขับ เคลื่อนร่างกาย ด้วยการส่งเป็นพลังเรียวแรงจากตัวไปสู่ ร่างกายทุกส่วน เช่น ขาและมือ ด�ำเนินไปได้ดวยอิรยาบถหลัก ้ ิ ยืน เดิน นั่ง และนอน สับเปลี่ยนกัน นี้คือ ระดับการสร้าง พลังงานของร่างกาย ในระดั บ ตน การมี ก� ำ ลั ง กาย นั้ น ต้ อ งได้ ม าจาก อาหารที่สบายได้มาจากธาตุ ๔ ที่สมดุลกันและมาจากการ 13
  • 14. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ สับเปลี่ยนอิริยาบถใหญ่ทั้ง ๔ และอิริยาบถย่อยต่างๆ การ นอน-ตื่นพักผ่อนให้สม�่ำเสมอและการรักษาความสะอาดให้ ดี จะท�ำให้ระบบหายใจสะดวก คล่อง ในระดับสังคม การอยู่ด้วยกันย่อมต้องการก�ำลังใจ จากผู้อื่นเพื่อสร้างพลังใจด้วยตัวเองนั้นคือ การสร้างแรง จูงใจจากภายในและการมีแรงบันดาลใจจากภายนอก ชี วิ ต ซึ่ ง มี ร ่ า งกายและจิ ต ใจรวมเข้ า ด้ ว ยกั น นี้ ย่ อ ม ต้องการสิ่งที่จะหล่อเลี้ยงช่วยสมบูรณ์พร้อมมากยิ่งขึ้น ท�ำให้ กาย-ใจขับเคลื่อนด�ำเนินต่อไป สิ่งดีๆ ที่ได้จากการออกก�ำลัง กาย - ใจ นั้น มีเป็นอเนกอนันต์ คือ อายุ วรรณะ สุข และพละ ผลดีที่ได้จากการออกก�ำลังกาย คือ ร่างกายแข็งแรง ผิวพรรณผ่องใส สุขภาพกาย พลังกาย การไหลเวียนของเลือด เส้นเลือด และหัวใจ กล้ามเนื้อ โดยเฉพาะอย่างยิ่งกล้ามเนื้อ หัวใจแข็งแรงสมองและประสาทปกติดี ไขข้อต่างๆ ในร่างกาย มีปญหาน้อย การย่อยอาหารและการขับถ่ายดีขน ท�ำให้มภมิ ั ึ้ ี ู ต้านทาน โรคในร่างกายหมดไป หรือ น้อยลง ร่างกายมีก�ำลัง แข็งแรง อายุวัฒนะ มีสุขภาพกาย และส่งผลไปสู่สุขภาพใจ ด้วย 14
  • 15. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ส่วนสิ่งที่ได้จากการออกก�ำลังใจ คือ จิตใจ เข้มแข็ง สุขภาพจิตใจ และมีพลังใจ ปราศจากความเครียด วิตกกังวล ฟุ้งซ่าน ลังเลสงสัย มีจิตใจมั่นคง มีความเชื่อมั่น มีความมุ่งมั่ นพยายาม มีสติตื่นรู้เบิกบาน มีสมาธิตั้งมั่น และมีปัญญา พิจารณาทุกอย่างตามความเป็นจริง ดังนั้น สิ่งที่ได้จากการออกก�ำลังกาย-ใจ คือ - อายุ มีอายุยืนยาวนาน - วรรณะ มีผิวพรรณผุดผ่องใส - สุข มีสุขภาพกาย สุขภาพใจ - พละ มีก�ำลังพลังทางกายและใจ การอยู่ร่วมกันในสังคมประกอบด้วยคนจ�ำนวนมาก การได้รับก�ำลังจากสิ่งอื่น เป็นสิ่งส�ำคัญซึ่งสังคมรอบข้างจะ ต้องเป็นผู้หยิบยื่นมีน�้ำใจให้แก่กันและกัน ล�ำพังตัวคนเดียว ไม่สามารถมีขึ้นได้เองต้องพึ่งพาอาศัยผู้อื่นเป็นส�ำคัญก�ำลัง ที่จะได้รับมาจากสังคมรอบข้างนั้นประกอบด้วย ก� ำ ลั ง สิ่ ง ของ มนุ ษ ย์ ต ้ อ งการปั จ จั ย พื้ น ฐานทั้ ง ๔ อาหาร เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัยและยารักษาโรค รวม ทั้ง เงินทอง ทรัพย์สินสิ่งของอื่นๆ ที่จ�ำเป็นต่อการใช้ชีวิตด้าน 15
  • 16. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ ร่างกาย ที่สามารถใช้เป็นเครื่องประคองชีวิตให้อยู่ในสังคม ได้อย่างมีความสุข ไม่เดือดร้อนนอนทุกข์ ก�ำลังแรงกาย มนุษย์ต้องการก�ำลังกาย เรี่ยวแรงทาง กาย แต่กว่าจะได้กำลังทางกาย ก็ตองได้รบก�ำลังทีผอนลงทุน � ้ ั ่ ู้ ื่ ลงแรงท�ำขึนมา เช่น อาหาร หรือแม้แต่การออกก�ำลังกายอาจ ้ ต้องท�ำเองแต่ก็เป็นสิ่งทางกายภายนอก การพักผ่อนนอน หลั บ การปรั บ สมดุ ล ของธาตุ หรื อ การบริ ห ารร่ า งกาย สม�่ำเสมอ ด้วยการสับเปลี่ยนอิริยาบถหลักทั้ง ๔ ยืน เดิน นั่ง และนอน เพื่อมีสุขภาพพลานามัยทางร่างกายสมบูรณ์แข็ง แรง ไม่มีโรคภัยไข้เจ็บเบียดเบียน ประกอบกิจต่างๆ โดยไม่ เหน็ดเหนื่อย มนุษย์ย่อมได้รับจากการหยิบยื่นเพื่อแผ่จากคน รอบข้าง ก�ำลังใจ มนุษย์ต้องการก�ำลังใจ ซึ่งต้องมีคนอื่นหยิบ ยืนให้เช่นกัน มีคนพูดจาไพเราะ และพูดจาเป็นประโยชน์ ทังนี้ ่ ้ จะมีสุขภาพจิตที่ดี เข้มแข็ง ประสบอุปสรรคต่างๆ ก็มีผู้คอย ช่วยเหลือให้ก�ำลังใจตลอดเวลา ก�ำลังความรู้ มนุษย์จะขับเคลื่อนด�ำเนินชีวิตไปได้ก็ ต้องอาศัยความรู้ ซึ่งได้รับมาจากผู้อื่น เช่นกัน มีการศึกษาที่ 16
  • 17. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ดี มีสติปัญญาแก้ปัญหา และมีความรู้จักบาปบุญคุณโทษ มี ความสามารถในกิจการต่างๆ โดยเฉพาะรู้จักวิถีทางที่จะอยู่ ในสภาพสังคมปัจจุบันได้อย่างมีความสุข จนกลายเป็นสติ ปัญญา ภายในของมนุษย์เองที่จะพิจารณาตามความพอ เหมาะพอสม ก�ำลังทัง ๔ นีมความส�ำคัญมากต่อการด�ำเนินชีวตช่วย ้ ้ ี ิ ท�ำให้เกิดเป็นพลังขึ้นภายในตัวเอง ก�ำลังสิ่งของ ก�ำลังกาย ก�ำลังใจ และก�ำลังความรู้นี้ที่ผู้อื่นหยิบยื่นส่งผ่านมาให้ จะ ต้องสร้างแปรสภาพให้เป็น พลังขึ้น ไม่ให้สุญเปล่า พลังทั้ง ๔ นี้ สรุปย่อ เป็น ๒ พลัง เรียกว่า พลังกาย - พลังใจ ดังนั้น มนุษย์มีชีวิตอยู่ จะด�ำรงชีวิตต่อไปได้นั้นก็ต้อง อาศัยก�ำลัง และมักจะปรารถนา อายุ วรรณะ สุข และพละ ประการแรก ชีวิตนี้ต้องการอายุยืนยาวนาน อายุ คือ ความเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งที่น�ำไปสู่ความ เปลี่ ย นแปลง หมายถึ ง เปลี่ ย นแปลงสู ่ ค วามสลายและ เปลียนแปลงสูความยังยืน บางคนแม้จะมีอายุยนยาว แต่เป็น ่ ่ ่ ื อยูดวยความประมาท หลงติดยาเสพติด หลงในรูป เสียง กลิน ่ ้ ่ 17
  • 18. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ รส สัมผัส จนท�ำให้หลงผิดละเว้นหน้าที่ที่ตนพึงกระท�ำ ชื่อว่า มีอายุความเปลี่ยนแปลงไปสู่ความสลาย แม้จะมีชีวิตอยู่ก็ เท่ากับว่าเป็นผู้ตายแล้ว บางคนแม้จะมีอายุน้อย แต่เป็นอยู่ ด้วยความไม่ประมาท ตั้งใจท�ำหน้าที่ของตนให้บริบูรณ์ และ เว้นทางที่จะน�ำไปสู่ความเสื่อม ชื่อว่ามีความเปลี่ยนแปลงไป สู่ความยั่งยืน คือ แม้จะตายไปแล้ว ก็เป็นเหมือนมีชีวิตอยู่ ใน ปฐมอนายุสสาสูตร พระพุทธเจ้าตรัสแสดงเหตุให้อายุยืนไว้ ๕ ประการคือ ๑. ท�ำสิ่งที่สบายพอเหมาะพอดี เป็นสัปปายะ ๒. รู้จักประมาณในสิ่ งที่ ส บายพอเหมาะพอดี เป็น สัปปายะ ๓. บริโภคสิ่งที่ย่อยง่าย ๔. เที่ยวในเวลาที่สมควร ๕. ประพฤติพรหมจรรย์ (บวชใจ) ประการทีสอง ชีวตต้องการวรรณะผิวพรรณผ่องใส ่ ิ มีความหมาย ๔ ประการ คือ ๑) ผิวพรรณ หน้าตาอิ่มเอมผ่องใส ๒) การยกย่องสรรเสริญ ได้รับการยอมรับจากสังคม 18
  • 19. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ๓) ยศชั้น ฐานันดร ต�ำแหน่งหน้าที่การงานต่างๆ ให้ เจริญก้าวหน้ามั่นคงถาวร ๔) เพศ เป็นเพศชายเพศหญิงที่สมบูรณ์ ผู้ให้เสื้อผ้าเครื่องนุ่งห่มชื่อว่า ให้ผิวพรรณ ประการที่สาม ชีวิตย่อมต้องการความสุข สุขกาย สบายใจ สุขะ หมายถึง สภาพที่ทนได้ง่าย ตรงข้ามกับความ ทุกข์ สภาพทีทนได้ยากล�ำบาก ความสบาย ความสะดวกราบ ่ รืนความสุขมีสองทาง คือ ทางกายและทางใจ สุขทางกาย คือ ่ มีสุขภาพดี ไม่เจ็บไข้ได้ป่วย การท�ำงานสะดวกราบรื่น ไม่มี อุปสรรคด้านร่างกาย ส่วนสุขทางใจ คือ มีจตใจทีดงาม ปลอด ิ ่ ี โปร่งสดชื่น ไม่ว้าวุ่นวิตกกังวล แม้จะมีปัจจัยภายนอกเข้ามา เบียดเบียนก็ตาม แม้ส�ำหรับคนทั่วไปความสุขนั้นมีหลายรูป แบบ ยกตัวอย่าง สุขเกิดจากการมีทรัพย์ สุขเกิดจากการได้ ใช้จายทรัพย์ สุขเกิดจากการไม่เป็นหนี้ สุขเกิดจากการท�ำงาน ่ ที่ไม่มีโทษ ประการที่สี่ ชีวิตนี้ต้องการก�ำลัง เพื่อสร้างเป็นพลัง ส�ำหรับก�ำลังกายนั้นไม่ใช่อยู่ดีๆ แล้วจะมีก�ำลังจ�ำเป็นต้องมี 19
  • 20. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ อาหารมีหล่อเลี้ยง พระพุทธองค์ตรัสว่า ผู้ให้อาหาร ชื่อว่าให้ ก�ำลัง อัตภาพของคนเรานั้น จะด�ำรงอยู่ได้ก็ต้องอาศัยอาหาร ขาดอาหารแล้วชีวิตไม่อาจด�ำรงอยู่ได้ แม้บุคคลจะมีรูปร่าง ใหญ่โตแข็งแรง มีก�ำลังมากปานใด หากไม่ได้รับประทาน อาหาร ร่างกายก็ขาดก�ำลัง ส่วนบุคคลผู้มีก�ำลังน้อย ถ้าได้รับ ประทานอาหารบริบูรณ์แล้ว ย่อมมีก�ำลังขึ้นมาได้ ร่ า งกายนี้ ต ้ อ งการอาหารเพื่ อ สร้ า งพลั ง ในการขั บ เคลื่อนต่อไป แต่จะมีพลังได้ ก็ต้องอาศัยอาหาร สรรพชีวิตทั้ง หลายเป็นอยูได้ดวยอาหาร ดังค�ำว่า "สรรพสัตว์เป็นอยูได้ดวย ่ ้ ่ ้ อาหาร (สพฺเพ สตฺตา อาหารฏฺฐิติกา)" เพราะการหิวอยากรับ ประทานอาหารจึงถือว่าเป็นความทุกข์อย่างยิ่งนัก ดังพุทธ พจน์ว่า "ความหิวเป็นโรคอย่างยิ่ง (ชิฆจฺฉา ปรมา โรคา)" อาหารจึงเป็นสิ่งบ�ำรุงหล่อเลี้ยงที่จ�ำเป็นโดยมีจุดประสงค์คือ ให้ แ ต่ ล ะคนมี สุ ข ภาพดี บุ ค คลจึ ง ควรเลื อ กอาหารอย่ า ง ระมัดระวัง และรับประทานแต่พอประมาณ ดังที่พระพุทธเจ้า ตรัสสอนให้ พระเจ้า ปเสนทิโกศลผู้เสวยอาหารมากเกินไป จึงทรงอึดอัดจึงตรัสสอนด้วยคาถาว่า “ในกาลใด บุคคลเป็น ผู้กินจุ มักง่วง และมักนอนหลับ กระสับกระส่ายเป็นดุจสุกร 20
  • 21. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ใหญ่ ทีเขาเลียงด้วยอาหาร ในกาลนัน เขาเป็นคนมึนซึม ย่อม ่ ้ ้ เข้าห้องบ่อยๆ” พระพุทธองค์ตรัสอีกว่า “มหาบพิตร การ บริ โ ภคโภชนะแต่ พ อประมาณจึ ง ควรเพราะผู ้ บ ริ โ ภคพอ ประมาณย่อมมีความสุข” ต่อจากนันพระองค์จงตรัสคาถาแก่ ้ ึ พระเจ้าปเสนทิโกศลว่า “ผู้มีสติทุกเมื่อ รู้ประมาณในโภชนะ (อาหาร) ที่ได้มา มีเวทนาเบาบาง แก่ช้า อายุยืน” พระเจ้าปเสนทิโกศลทรงมอบหมายให้สทสสนะ นัดดา ุ ั ของพระองค์เรียนคาถานี้แล้วทูลคาถาในเวลาที่เสวย ต่อมา พระองค์มีพระวรกายกระปรี้กระเปร่าดี ทรงลูบพระวรกาย ด้วยฝ่าพระหัตถ์ ทรงเปล่งอุทานว่า “พระพุทธเจ้านั้น ทรง อนุเคราะห์เราทั้งประโยชน์ชาตินี้และประโยชน์ชาติหน้า” ชีวิตทางร่างกายต้องการพลังทางกายซึ่งการจะได้มา นันจ�ำเป็นต้อง ออกก�ำลังกาย และ ก�ำลังกิน รวมทังก�ำลังนอน ้ ้ ด้วย ซึ่ง เป็นการปรับเปลี่ยนอิริยาบถ และปรับธาตุทั้ง ๔ ภายในร่างกายให้สมดุลกัน นั้นเอง ชีวิตด�ำเนินต่อไปได้ต้องประกอบด้วยอายุ วรรณะ สุข พละ 21
  • 22. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ จะเห็นว่าทั้ง ๔ อย่างนี้พึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน หากปราศจากอายุ เราก็คงไม่สามารถมีชีิวิตได้ หากปราศ วรรณะ เราคงไม่สามารถมีผิวพรรณที่ป้องกันลม แดดอยู่ได้ แม้แต่ความสุขจ�ำเป็นต้องมี และสุดท้าย คือ พละ ได้แก่ ก�ำลัง ซึ่งถือเป็นสิ่งส�ำคัญ การที่จะมีก�ำลังต้องออกก�ำลัง เพื่อสร้าง ให้เกิดพลังในการด�ำเนินชีวิต สังคมตั้งแต่ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติ และสังคม โลก จะด�ำเนินต่อไปได้ เพราะคนมีทั้งก�ำลังกายและก�ำลังใจ ต่อกัน ถ้าคนในสังคมไม่ว่าระดับใดก็ตาม มีสุขภาพกาย ใจ ย�่ำแย่ คนเป็นโรค อมทุกข์ ครอบครัวนั้น ชุมชนนั้น สังคมนั้น หรือแม้แต่โลกนี้ ก็จะเป็นโรค เป็นทุกข์เป็นด้วย เรียกว่า คน ป่วยไม่พอ สังคมประเทศชาติป่วยด้วย หรือสังคมประเทศ ชาติ ป ่ ว ยไม่ พ อ ก็ พ ลอยท� ำ ให้ ค นภายในชาติ ป ่ ว ยไปด้ ว ย ความเจ็บป่วยนี้แทนที่จะมีวงจ�ำกัดอยู่แค่ระดับปัจเจกบุคคล เป็นคนป่วย (sick person) กลับขยายวงไปจนเป็นสังคมป่วย (sick society) ด้วย ถ้าเป็นประเทศชาติ ก็เป็นประเทศป่วย เพราะคนภายในประเทศขาดการออกก�ำลังกาย ก�ำลังใจ 22
  • 23. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข รู้จักชีวิตก่อนออกก�ำลังกาย-ใจ เมื่อคนเห็นพระพุทธรูปคนส่วนมากมักให้คุณค่าหรือ มองต่างกันไป ถ้าคนคนนั้นเป็นนักธุรกิจหวังผลก�ำไรที่ไม่ได้ ท�ำซีเอสอาร์แท้ (รับผิดชอบต่อสังคม) ก็จะเน้นการค้าขายตี ค่าหวังก�ำไร ถ้าเป็นนักสะสมของเก่าก็เน้นการประมูลว่าเก่า ขนาดไหน อายุเท่าไร เพียงไร และราคาควรอยู่ที่เท่าไร ถ้า เป็นนักเคมีกจะเน้นสารเคมี ชนิดอะไร ท�ำมาจากอะไร ถ้าเป็น ็ นักโบราณคดีมองว่าสร้างขึ้นยุคสมัยไหน ท�ำด้วยอะไร อายุ น่าจะประมาณเท่าไร และถ้าคนคนนั้นเป็นพุทธศาสนิกชน 23
  • 24. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ เป็นชาวพุทธก็จะมองพระพุทธรูปด้วยความเคารพศรัทธา เลือมใสท�ำให้จตใจสงบและเกิดปัญญา แต่ถาเป็นโจรก็พร้อม ่ ิ ้ ที่จะขโมยพระพุทธรูปน�ำไปขายอาจตามใบสั่งหรือหารายได้ ด้วยสถานภาพและอาชีพที่แตกต่างกันดังกล่าวท�ำให้ มองสิ่งเดียวกันแต่จากหลากหลายมุมมองหรือจากภูมิหลัง ของตนเอง บางก็มหลายสถานภาพหลากหลาย เช่น นักธุรกิจ ี อาจเป็นชาวพุทธหรือเป็นขโมยเป็นโจรก็ได้ หรือบางคนอาจ เป็นทั้งนักธุรกิจเป็นชาวพุทธและเป็นขโมยด้วยก็ได้ เช่ น เดี ย วกั น การมองชี วิ ต ก็ แ ตกต่ า งกั น ถ้ า เป็ น นั ก วิทยาศาสตร์ก็อีกแบบหนึ่ง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์เองก็มีหลาก หลายสาขาแยกย่อยลงไป พวกวัตถุนิยมก็อีกแบบ พระพุทธ ศาสนาก็อีกแบบ ในที่นี้จะกล่าวถึงการมีชีวิตอยู่จากแง่มุมทางพระพุทธ ศาสนาและวิทยาศาสตร์มองชีวิตกัน การด�ำรงอยู่ของชีวิตทางพระพุทธศาสนา โดยปกติ ถือว่ามีลักษณะส�ำคัญอยู่ ๓ ประการ คือ (๑) อายุ ได้แก่ อินทรีย์ ๕ (๒) ไออุ่น ได้แก่ ธาตุไฟ (เตโชธาตุ) ที่เกิดจากกรรม 24
  • 25. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข (๓) วิญญาณ ได้แก่ จิต ลักษณะทั้ง ๓ ดังกล่าวอาศัยกันและกันด�ำรงอยู่ ตั้งอยู่ จึงชื่อว่ายังมีชีวิตอยู่ รูปอินทร์ หรือ อินทรีย์ ๕ คือ (๑) จักขุนทรีย์ (๒) โสตินทรีย์ (๓) ฆานินทรีย์ (๔) ชิวหินทรีย์ (๕) กายินทรีย์ มีการรับอารมณ์ต่างกัน มีที่เที่ยวไปต่างกัน ไม่รับรู้อารมณ์ อันเป็นที่เที่ยวไปของกันและกัน เมื่ออินทรีย์ ๕ ประการนี้มี อารมณ์ต่างกัน มีที่เที่ยวไปต่างกัน ไม่รับรู้อารมณ์อันเป็นที่ เที่ยวไปของ กันและกัน มีใจเป็นที่อาศัยและใจย่อมรับรู้ อารมณ์อันเป็นที่เที่ยวไปแห่งอินทรีย์เหล่านั้น และ อินทรีย์ ๕ ประการนี้ อาศัยอายุด�ำรงอยู่ อายุอาศัยไออุ่นด�ำรงอยู่ และ ไออุ่นอาศัยอายุด�ำรงอยู่เหมือนกัน เปรียบเหมือนเมื่อประทีป น�้ำมันก�ำลังติดไฟอยู่ แสงสว่างอาศัยเปลวไฟจึงปรากฏ เปลว ไฟก็อาศัยแสงสว่างจึงปรากฏอยู่ ท่าน ชี้ให้เห็นถึงความเหมือนและความต่างกัน อายุ สังขาร กับเวทนียธรรม อายุสังขารกับเวทนียธรรมไม่เป็น อันเดียวกัน (ถ้า) อายุสังขารกับเวทนียธรรมเป็นอันเดียวกัน แล้ว การออกจากสมาบัติของภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ ก็ไม่พึงปรากฏ แต่เพราะอายุสังขารกับเวทนียธรรมต่างกัน 25
  • 26. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ ฉะนั้นการออกจากสมาบัติของภิกษุผู้เข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ จึงปรากฏ เมื่อ ๓ สิ่งเหล่านี้ คือ (๑) อายุ (๒) ไออุ่น (๓) วิญญาณ (จิต)ละกายนีไปกายนีจงถูกทอดทิง นอนนิงเหมือน ้ ้ึ ้ ่ ท่อนไม้ที่ปราศจากเจตนาคือ ตายนั่นเอง ผูทตายไปแล้วกับภิกษุผเู้ ข้าสัญญาเวทยิตนิโรธต่างกัน ้ ี่ ตรงที่ผู้ที่ตายไปแล้วมีกายสังขาร วจีสังขาร และจิตตสังขาร ดับระงับไปมีอายุหมดสิ้นไป ไม่มีไออุ่น มีอินทรีย์แตกท�ำลาย ส่วนภิกษุผเู้ ข้าสัญญาเวทยิตนิโรธมีกายสังขาร วจีสงขาร และ ั จิตตสั ง ขารดั บ ระงับ ไป แต่อายุยังไม่หมดสิ้นยั งมี ไออุ ่น มี อินทรีย์ผ่องใส ส่วนนักชีววิทยา ก็มองชีวิต ว่า หน่วยที่ต้องใช้พลังงาน (life is the consuming unit) หรือ อาจเรียกว่า สิงทีมลกษณะ ่ ่ ี ั พื้นฐานประกอบด้วยโครงสร้างที่เป็นระบบ สืบพันธุ์ เจริญ เติบโต กินอาหาร หายใจ ขับถ่ายของเสีย ตอบสนองต่อสภาพ แวดล้ อ ม เคลื่ อ นไหว ควบคุม สภาพภายในและสามารถ วิวัฒนาการได้ ท�ำให้สรุปได้ว่า ชีวิต คือ สภาวะของพืชและ สัตว์ที่ด�ำรงชีวิตของตนเองอย่างเป็นระบบ มีการเจริญเติบโต กินอาหาร หายใจ ขับถ่ายของเสีย ตอบสนองสภาพแวดล้อม 26
  • 27. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข เคลื่อนไหว ควบคุมสภาพภายในและมีวิวฒนาการ จึงเป็นส่ิง ั ที่ด�ำรงสภาวะแห่งชีวิตนี้ว่า สิ่งมีชีวิต ถ้ามองถึงองค์ประกอบของชีวิต จะมีโครงสร้างที่เป็น ส่วนค�ำคัญ คือ อะตอม โมเลกุล เซลล์ เนื้อเยื่อ อวัยวะ และ ระบบอวัยวะ อะตอม (atom) เป็นองค์ประกอบที่เล็กที่สุดของสิ่งมี ชีวิต ซึ่งเป็นหน่วยเล็กที่สุดของธาตที่สามารถคงลักษณะของ ธาตุชนิดนั้นๆ ได้ โมเลกุล (molecules) เป็นอะตอมสองอะตอมหรือ มากกว่าของธาตุชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกัน เซลล์ (cells) หน่วยเล็กทีสดทีแสดงคุณสมบัตของชีวต ่ ุ ่ ิ ิ และสามารถสืบพันธ์ุได้ โดยตัวเอง มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มี เซลล์เป็นจ�ำนวนมาก เนื้อเยื่อ (tissue) เซลล์และสารประกอบที่มารวมกลุ่ม กันเพื่อท�ำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งให้กับสิ่งมีชีวิต ประกอบ ด้ ว ย (๑) เนื้ อ เยื่ อ บุ ผิ ว (๒) เนื้ อ เยื่ อ เกี่ ย วพั น (๓) เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ (๔) เนื้อเยื่อประสาท 27
  • 28. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ อวัยวะ (organs) เป็นโครงสร้างทีประกอบด้วยเนือเยือ ่ ้ ่ มากกว่า ๑ ชนิดช่วยกันท�ำหน้าที่บางอย่างในร่างกายของสิ่ง มีชีวิต ประกอบด้วย หัวใจ ปอด สมอง กระเพาะอาหาร ม้าม กระดูก ตับอ่อน ไต ตับ ล�ำไส้ ผิวหนัง มดลูก และกระเพาะ ปัสสาวะ ระบบอวัยวะ (organ system) มีหลากหลายประกอบ ด้วย (๑) ระบะบสิ่งปกคลุม (๒) ระบบประสาท (๓) ระบบ กล้ามเนื้อ (๔) ระบบโครงร่าง (๕) ระบบไหลเวียน (๖) ระบบ ต่อมไร้ท่อ (๗) ระบบน�้ำเหลือง (๘) ระบบหายใจ (๙) ระบบ ย่อยอาหาร (๑๐) ระบบขับปัสสาวะ และ (๑๑) ระบบสืบพันธุ์ ในทางพระพุทธศาสนามองชีวิตที่แคบลงไป ท่านใช้ ค�ำว่า ปาณ หรือ ปราณ เช่นในศีล ๕ สิกขาบทข้อที่หนึ่งใช้ ค�ำว่า ปาณาติปาตา หมายถึง สัตว์ที่มีลมหายใจมีปราณ ขนวบการหายใจ จะสกัดพลังงานจากอาหารที่กิน สิ่งมีชีวิต ทุกชนิดจึงต้องหายใจ เพราะต้องการพลังงาน การหายใจ ปกติเลยต้องการใช้ออกซิเจน มีลักษณะอาหาร + ออกซิเจน คาร์บอนใดออกไซด์ + น�้ำ + พลังงาน 28
  • 29. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ค�ำว่า ปาณะ แปลว่า สัตว์ ชีวิต ลมหายใจ หรือปราณ มีความหมาย ๔ อย่างคือ (๑) ชีวิต (อสุ) (๒) ก�ำลัง (พล) (๓) สัตว์ (สตฺต) และ (๔) ลมหายใจ (หทยคานิล) ค�ำว่า ปาณ นี้ มีความว่า สิ่งเป็นเครื่องเป็นอยู่ได้แห่งเลห่าสัตว์ หมายถึง สัตว์ทงหลายจะด�ำรงชีวต มีชวตอยูได้กเพราะปาณะ คือ ชีวต ั้ ิ ีิ ่ ็ ิ ก�ำลัง สัตว์และลมหายใจ การเข้าใจชีวิต การด�ำรงอยู่ของชีวิต หรือการมีชีวิตอยู่ นี้เป็นสิ่งส�ำคัญเบื้องต้น และการจะใช้ชีวิตอยู่อย่างไร ก็มี ความส�ำคัญ ต่อไป เช่นกัน จึงเน้นให้มการออกก�ำลังกาย - ใจ ี ดั ง นั้ น ท่ า นจึ ง มี ก ารออกก� ำ ลั ง ซึ่ ง ก� ำ ลั ง เป็ น ส่ ว น ประกอบหนึ่งของชีวิต เพราะเป็นสิ่งที่ท�ำให้อาหารย่อย จิตใจ เช่นกัน ท�ำให้เกิดการตื้นรู้ และขยัน ต่อไป ไม่ท้อแท้ ท้อถอย มุ่งออกก�ำลังกายและก�ำลังใจต่อไป 29
  • 30. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ รู้จักกายและหน้าที่ของกาย ก่อนจะออกก�ำลังกายต้องท�ำความเข้าใจว่า กายคือ อะไรก่อน ในทางพระพุทธศาสนา แม้จะเน้นสอนธรรมเรืองใจเป็น ่ หลั ก แต่ ใ นเรื่ อ งกายก็ มี ด ้ ว ยและส� ำ คั ญ เป็ น เบื้ อ งต้ น เช่ น เดียวกัน เพราะชีวิตประกอบด้วยกายและจิต หากมีค�ำถาม ว่า ชีวิตคืออะไร ตามทัศนะของพุทธศาสนา ก็ต้องตอบว่า ขันธ์ ๕ หรือ กอง ๕ กอง ประกอบกัน ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ไม่ได้ เพราะบางสิ่งแม้จะมีชีวิต ก็อาจมีแค่ ๔ กองหรือ ๓ กอง ก็ได้ 30
  • 31. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ส่วนกองที่เป็นส่วนของร่างกายนั้นเรียกว่า กองรูป ประกอบด้วยธาตุ (ส่วนเป็นที่รวมกันเข้า) ทั้ง ๔ ดิน น�้ำ ไฟ และลม องค์ประกอบส่วนต่างๆ ทั้งอวัยวะภายในและอวัยวะ ภายนอก ทุกส่วนของร่างกาย สรุปลงในธาตุ ๔ ไม่อย่างใด ก็อย่างหนึ่ง นี้เป็นส่วนลักษณะของธาตุทั้ง ๔ แต่ละส่วน - ธาตุดิน มีลักษณะแข้นแข็ง มีอยู่ในร่างกายอวัยวะ ภายในและภายนอกประกอบด้วย ผม ขน เล็บ ฟัง หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อในกระดูก ไต หัวใจ ตับ พังผืด ม้าม ปอด ไส้ ใหญ่ ไส้เล็ก อาหารใหม่ อาหารเก่า เรียกว่า ปฐวีธาตุ - ธาตุน�้ำ มีลักษณะเหลว เอิบอาบ ไหลซึมซาบ มีอยู่ ในร่างกาย น�้ำดี เสลด น�้ำหนอง น�้ำเลือด เหงือ มันข้น น�้ำตา มันเหลว น�้ำลาย น�้ำมูก ไขข้อ มูตร เรียกว่า อาโปธาตุ - ธาตุไฟ เป็นสิ่งที่มีลักษณะอบอุ่น ร้อน เผาผลาญ อาหาร (ย่อย) มีอยู่ในร่างกาย ประกอบด้วย ไฟซึ่งท�ำให้ ร่างกายอบอุ่นอยู่เสมอ ไฟที่ท�ำให้ร่างกายช�ำรุดทรุดโทรม ไฟ ที่ท�ำให้ร่างกายเร่าร้อน ไฟที่ท�ำให้อาหารที่กิน ดื่ม เคี้ยว ลิ้ม เข้าไปย่อย เรียกว่า เตโชธาตุ 31
  • 32. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ - ธาตุลม มีลักษณะท�ำให้เคลื่อนไหว ไหวตัวได้ ฟุ้งไป ลมในร่างกาย ประกอบด้วย ลมพัดขึนเบืองบน ลมพัดลงเบือง ้ ้ ้ ต�่ำ ลมในท้อง ลมในไส้ ลมพัดไปตาอวัยวะน้อยใหญ่ ลม หายใจเข้า ลมหายใจออก เรียกว่า วาโยธาตุ ร่างกายซึ่งประกอบด้วยธาตุ ๔ ดังกล่าวมานี้ มีขนาด กว้างศอกก�ำมายาววา หนาคืบ มี ๕ กิง (ปัญจสาขา) ประกอบ ่ ด้วย แขน ๒ ขา ๒ ศีษระ ๑ บางที่ท่านเพิ่ม ว่า ธาตุอากาศ มีอยู่ในบางแห่ง คือช่อง ว่างในร่างกายนี้ ได้แก่ ช่องหู ช่องจมูก ช่องปาก ช่องที่อาหาร ล่วงล�้ำล�ำคอลงไป และช่องที่อาหารเก็บอยู่ ช่องที่อาหารออก ไปในภายนอก หรือช่องว่างเหล่าอื่นในร่างกายนี้ เรียกว่า อา กาสธาตุ ร่างกายนี้ท่านเรียกว่า ถ�้ำ ก็เพราะร่างกายมีลักษณะ เหมือนถ�้ำ คือ โพรงข้างใน มีช่องทางคือประตูเข้าออกถึง ๙ ช่อง คือ ช่องตา ๒ ช่องจมูก ๒ ช่องปาก ๑ ช่องเบา ๑ ช่อง หนัก ๑ ช่องเหล่านี้เป็นทางน�ำอาหารเข้าไปเลี้ยงร่างกายบ้าง เป็นทางถ่ายเทของบูดของเสียออกจากร่างกายบ้าง 32
  • 33. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข มีจักร (ล้อ) ๔ คือ อิริยาบถใหญ่ ทั้ง ๔ ได้แก่ การยืน เดิน นั่ง และนอน ผัดเปลี่ยนหมุนเวียนกัน เพื่อให้ร่างกายมี ชีวะเป็นไป ร่างกายของมนุษย์ มีกระดูกเป็นโครง รึงรัดไว้ด้วยเส้น เอ็น ฉาบไว้ด้วยเนื้อและเลือด หุ้มไว้ด้วยผืนหนัง ข้างนอกดู สะอาด แต่ข้างในเป็นโพรง มีสายโยงใยไปมายั้วเยี้ย เต็มไป ด้วยสิ่งปฏิกูล รูปหรือกาย คืออวัยวะทุกส่วนตังแต่ปลายผมลงไปจรด ้ พื้นเท้า สรุปคือธาตุ ๔ ธาตุดิน ธาตุน�้ำ ธาตุไฟ และธาตุลม ดินน�้ำไฟลมประชุมร่วมกันทุกส่วนเป็นรูปเป็นร่าง เรียกว่า กาย จะขาดเสียอย่างใดอย่างหนึ่งไม่ได้ ชีวิตในทางปฏิบัติหรือชีวิตโดยความสัมพันธ์กับโลกนี้ ซึ่งต้องใช้งานอวัยวะในร่างกายแบ่งออกได้เป็น ๒ ภาค แต่ละ ภาคมีระบบการท�ำงาน ซึ่งอาศัยช่องทางที่ชีวิตจะติดต่อ เกี่ยวข้องกับโลกได้ซึ่งเรียกว่า “ทวาร” (ประตู, ช่องทาง) ดังนี้ 33
  • 34. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ ๑. ภาครับรู้และเสพเสวยโลก อาศัยทวาร ๖ คือ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ส�ำหรับรับรู้และเสพเสวยโลกซึ่งปรากฏแก่ มนุษย์โดยลักษณะและอาการต่างๆ ที่เรียกว่า อารมณ์ ๖ คือ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ และธรรมารมณ์ ๒. ภาคแสดงออกหรือกระท�ำต่อโลก อาศัย ทวาร ๓ คือ กาย วาจา ใจ (กายทวาร วจีทวาร มโนทวาร) ส� ำ หรั บ กระท� ำ ตอบต่ อ โลก โดยแสดงออกเป็ น การ ท�ำการพูด และการคิด (กายกรรม วจีกรรม มโนกรรม) ในภาค ที่ ๑ มีข้อที่พึงย�้ำเป็นพิเศษเพื่อสะดวกแก่การศึกษาต่อไปว่า ค�ำว่า “ทวาร” (ใน ทวาร ๖) นั้น เมื่อน�ำไปกล่าวในระบบการ ท�ำงานของกระบวนธรรมแห่งชีวิต ท่านนิยมเปลี่ยนไปใช้ค�ำ ว่า “อายตนะ” ซึ่งแปลว่า แดนเชื่อมต่อให้เกิดความรู้หรือทาง รับรู้ หน้าที่ของกายทั่วไปซึ่งมีอายตนะ (แดนเชื่อมต่อ)ทั้ง ๖ ซึ่งเป็นส่วนแสดงออกไปรับข้อมูลภายนอกหน้าที่ของกายซึ่ง หมายถึงอวัยวะในร่างกายโดยเฉพาะภายนอกนั้นแตกต่าง กัน 34
  • 35. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ตามีหน้าที่รับรูปสิ่งที่กระทบทางตา หูมีหน้าที่รับเสียงสิ่งที่กระทบทางหู จมูกมีหน้าที่รับกลิ่นสิ่งกระทบทางจมูก ลิ้นมีหน้าที่รับรสสิ่งที่กระทบทางลิ้น กาย (สิ่งที่นอกจากตา หู จมูก ลิ้น)มีหน้าที่รับสัมผัสที่ กระทบทางกาย ใจ มีหน้าที่รับสิ่งที่มากระทบทางใจ 35
  • 36. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ แผนผังนาฬิกาชีวิต อวั ย วะในส่ ว นภายในร่ า งกายที่ ท� ำ หน้ า ที่ ต ่ า งๆ มี ลั ก ษณะการท� ำ งานแบ่ ง ตามล� ำ ดั บ เวลาของวั น เรี ย กว่ า นาฬิกาชีวิตทางร่างกาย เป็นการท�ำงานของระบบร่างกาย นาฬิกาชีวต ชีให้เห็นถึงการท�ำงานของอวัยวะในร่างกาย หาก ิ ้ เราได้รู้จักนาฬิกาชีวิตของตัวเอง ก็อาจจะสามารถใช้ชีวิต อย่างสมดุลย์ โรคภัยมาเยี่ยมเยียนถามหาน้อยลง 36
  • 37. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข นี้เริ่มเวลาตั้งแต่วันใหม่ ๐๑.๐๐ -๐๓.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ตับ" ควร หลับพักผ่อนให้สนิทเป็นการออกก�ำลังนอนพักผ่อนอิริยาบถ ๐๓.๐๐-๐๕.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ปอด" ควร ตื่นมาสูดอากาศสดชื่น ตื่นมาประกอบความเพียร ๐๕.๐๐-๐๗.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาของ "ล�ำไส้ใหญ่" ควรขับ ถ่ายอุจจาระ ปรับธาตุสี่ให้สมดุลย์ ๐๗.๐-๐๙.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "กระเพาะ อาหาร" ควรกินอาหารเช้า ซึ่งถือเป็นการรับอาหารเพื่อออก ก�ำลังกิน ทานอาหารเพื่อสร้างพลังกาย ๐๙.๐๐-๑๑.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงาน "ม้าม" ควรพูด น้อย กินน้อย ม้ามท�ำหน้าที่ในการดึงเอาธาตุเหล็กจากฮีโม โกลบินของเซลล์เม็ดเลือดแดง น�ำมาใช้ในร่างกาย และยังท�ำ หน้าที่เอาของเสียออกจากกระแสเลือดในรูปของน�้ำปัสสาวะ เช่นเดียวกับตับเพื่อปรับสมดุลของธาตุ 37
  • 38. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ ๑๑.๐๐-๑๓.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "หัวใจ" ควร เลี่ยงการใช้ความคิด ความเครียด ระงับอารมณ์ตื่นเต้นตกใจ ปรับเปลี่ยนอิริยาบถให้สม�่ำเสมอ ๑๓.๐๐-๑๕.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ล�ำไส้เล็ก" ควรงดกินอาหารทุกประเภท ล�ำไส้เล็กมีหน้าที่ย่อยอาหาร ตั้งแต่คาร์โบไฮเดรต ไขมัน และโปรตีน ปรับสมดุลย์ธาตุ ๑๕.๐๐-๑๗.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาท�ำงานของ "กระเพาะ ปัสสาวะ" ควรท�ำให้เหงื่อออก ออกก�ำลังกาย ปรับเปลี่ยน อิริยาบถ บริหารร่างกาย ๑๗.๐๐-๑๙.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาท�ำงานของ "ไต" ควรท�ำตัว ให้สดชื่น ปรับสมดุลย์ธาตุ ๑๙.๐๐-๒๑.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาท�ำงานของ "เยื่อหุ้มหัวใจ" ควรท�ำสมาธิ สวดมนต์ เป็นการออกก�ำลังใจ บริหารจิต ๒๑.๐๐-๒๓.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ระบบความ ร้อน" ห้ามอาบน�้ำเย็น ตากลม ควรท�ำร่างกายให้อบอุ่น ปรับ สมดุลธาตุทั้ง ๔ 38
  • 39. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข ๒๓.๐๐-๐๑.๐๐ น. เป็นช่วงเวลาการท�ำงานของ "ถุงน�้ำดี" ควรดื่ ม น�้ ำ ก่ อ นเข้ า นอน สวมชุ ด นอนผ้ า ฝ้ า ย เพราะผ้ า สังเคราะห์จะดูดน�้ำในร่างกาย โดยถุงน�้ำดีท�ำหน้าที่ในการ เก็บสะสมน�้ำดีเพื่อช่วย ในการย่อยอาหาร ปรับสมดุลธาตุ ปรับเปลี่ยนอิริยาบถ 39
  • 40. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ รู้จักจิตและหน้าที่ของใจ ค�ำว่า จิต นี้ เป็นชื่อที่สมมติเรียก ได้แก่สิ่งที่ไม่มีรูป ปรากฏมีแต่ชื่อสมมติ ตกลงกัน แต่สิ่งนั้นมีอยู่ในตัวของคน และสรรพชีวิต ไม่สามารถจะเห็นด้วยตาหรือพิสูจน์ได้ด้วย วัตถุใดๆ มีแต่ชื่อ ไม่มีตัวตน แต่ว่ามีจริง เรียกว่า จิต ทุกคน มีจตเพียงดวงเดียวเท่านัน แต่จตท�ำหน้าทีหลาย ิ ้ ิ ่ อย่าง เปรียบเสมือนคนๆ เดียวแต่ท�ำงานหรือหลายหน้าที่ ค�ำศัพท์ที่ใช้ใกล้เคียงกับค�ำว่า ใจ ซึ่งมีอยู่หลากหลาย ศัพท์ คือ ค�ำว่า จิต ใจ มโน วิญญาณและหัวใจ ค�ำว่า จิต หมายถึง ธาตุกายสิทธิ์ผู้ส�ำเร็จความคิด นอกจากให้ส�ำเร็จความคิดแล้ว (สังขาร) ยังสามารถท�ำการ 40
  • 41. ดร. พระมหาสมพงษ์ สนฺตจิตฺโต ดร. นายแพทย์อุทัย สุดสุข เก็บสั่งสมสิ่งที่คิดนั้นไว้ด้วย (สัญญา) จิตให้ส�ำเร็จความคิด ด้วยให้ส�ำเร็จการสั่งสมด้วย ค�ำว่า ใจ หมายถึง มโนทวาร ทีมกเรียกกันว่า กาย วาจา ่ ั ใจ กายก็คือ กายทวาร วาจาก็คือ วจีทวาร และมโนทวาร ค�ำว่า มโน ศัพท์นี้มีใช้มาก่อนพุทธกาลหมายถึงธาตุ กายสิทธิ์อันหนึ่งซึ่งสิงอยู่ในร่างกายของคนที่ยังมีชีวิตอยู่ สามารถรับรูอารมณ์และให้สำเร็จความคิดได้ หมายเอาทวาร ้ � เป็นช่องทางที่รู้อารมณ์เรียกว่า มโนทวาร เช่น ค�ำว่า มนุษย์ มาจากรากศัพท์ว่า มน + อุสฺส มน แปลว่า ใจ อุสฺส แปลว่า สูง รวมเรียกว่า มนุษย์ มนุสฺส แปลว่า ผู้มีใจสูง เพราะมีจิตใจ สูง สติปัญญามาก จึงเรียกว่า มนุษย์ ค�ำว่า วิญญาณ เป็นศัพท์ที่มีความหมายในภาษาไทย ไปอีกอย่าง ซึ่งความหมายเดิม หมายถึงอาการรู้ของจิตอย่าง หนึ่งที่เรียกว่า วิญญาณขันธ์ อันเกิดมาจากทวารทั้ง ๖ อีก อย่างหนึ่งหมายเอาธาตุรู้อย่างเดียวว่า วิญญาณาตุ ซึ่งก็คือ ธาตุกายสิทธิ์ นอกจากให้สำเร็จความคิดเพราะการสังสมแล้ว � ่ ยังมีลักษณะรู้แจ้งอารมณ์อยู่ในตัวด้วย ข้อน่าสังเกตส�ำหรับ ค�ำว่า วิญญาณนี้ ในภาษาไทย อาจแปลมาจากภาษาอังกฤษ 41
  • 42. ออกกำ�ลังกาย-กำ�ลังใจ ว่า Soul ซึ่งมีความหมายถึงตัวอัตตา หรือสิ่งที่เป็นนิรันดร ซึ่งทางพระพุทธศาสนาปฏิเสธ ไม่ใช้ค�ำนี้ ดังทีมีค�ำว่า อนัตตา ่ มาแย้งนั้นเอง ค�ำที่น่าสนใจอีกค�ำหนึ่ง คือ ค�ำว่า หัวใจ หมายถึง ก้อน เนือส่วนหนึงในร่างกาย เป็นคนละอันกับจิต จิตเป็นนามธรรม ้ ่ ส่วนหัวใจเป็นรูปธรรม หัวใจเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งของร่างกาย แต่ผู้คนไม่เข้าใจ มักเข้าใจว่า เป็นจิต จึงมีค�ำศัพท์ที่ใช้ค�ำว่า หัวใจนี้ แทน จิตใจอยู่บ่อยครั้ง เป็นสัญญะ เช่น คนไม่มีหัวใจ หมายถึงคนที่ไม่มีความรู้สึกนึกถึงผู้อื่นเลย แม้จะมีหัวใจเป็น อวัยวะก็ตามแต่จิตใจที่เป็นธรรมะ เป็นจิตวิญญาณภายใน ไม่มี ดังนั้น ทั้งค�ำว่า จิต ใจ มโน และวิญญาณ เป็นค�ำที่มี ความหมายใกล้เคียงกัน คือ ธาตุกายสิทธิ์อันเดียวกันนั่นเอง แต่เรียกไปตามลักษณะและคุณสมบัติต่างหากออกไปอย่าง ในคัมภีร์รุ่นหลังพระไตรปิฏก คัมภีร์วิสุทธิมรรคท่านกล่าวว่า “ วิญญาณํ จิตฺตํ มโนติ อตฺถโต เอกํ” แปลว่า ค�ำว่า วิญญาณ จิต และมโน โดยใจความเป็นอันเดียวกัน 42