SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
บทที่ 2
แนวคิดและปรัชญาเกี่ยวกับ การเล่น เวลาว่าง และ นันทนาการ
ในการศึกษาโปรแกรมนันทนาการสาหรับชุมชนและโรงเรียน ผู้จัดหรือผู้ดาเนินการควรจะมีความรู้
ความเข้าใจแนวคิด ปรัชญา ความหมายและความสัมพันธ์ของการเล่น เวลาว่างแล้วนันทนาการ เพื่อให้
การดาเนินงานมีจุดมุ่งหมายดาเนินการได้บรรลุวัตถุประสงค์ ในเรื่องนี้จะเป็นการทบทวน แนวคิดและ
ปรัชญา ของคาว่า “ การเล่น ” “ เวลาว่าง ” “ นันทนาการ ”
การเล่น เป็นคาที่ใช้กันมานานเก่าก่อน และเป็นที่ยอมรับแนวคิดนี้มานาน ซึ่งใช้อธิบายพฤติกรรม
การเข้าร่วมกิจกรรมของเด็กและเยาวชนแต่ความหมายก็ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายจริงจัง นักจิตวิทยา นัก
โบราณคดี และนักการศึกษา เห็นพ้องต้องกันว่า การเล่นมีส่วนช่วยพัฒนา สุขภาพทางกายและทางจิตใจ
ของคนเรา จากการศึกษาพฤติกรรมการเล่นในสังคมวัฒนธรรมต่างๆ พบว่า การเล่นมีความเกี่ยวข้องกับ
ความต้องการขั้นพื้นฐานและมีความสาคัญในการสร้างคุณค่าจิตวิทยา กินดี อยู่ดี ของมนุษย์
เวลาว่าง มีความเกี่ยวเนื่องกับนักปรัชญาและนักการศึกษาตั้งแต่สมัยโบราณอารยธรรมกรีกและ
โรมัน กล่าวคือในช่วงแรกเวลาว่างมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงกับกลุ่มชนชั้นสูง หัวหน้าเผ่า ขุนนาง
ชั้นสูงในสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เพราะว่าชุมชนเหล่านี้มีเวลาว่างที่จะเลือกกระทากิจกรรมเพื่อสนองความต้องการ
ความพึงพอใจให้แกตนเอง โดยช่างเวลาต่อมา เวลาว่าง ได้มีการขยายความหมายโดยนักเศรษฐศาสตร์
และสังคมวิทยาได้นิยามว่า เวลาว่างเป็นคาที่มีความหมายตรงข้ามกับ งานหรือทางาน ซึ่งพฤติกรรมของ
กลุ่มชนชั้นกลาง และชั้นที่มีรายได้น้อย ( พวกทางานในโรงงาน ) ต่อมา ความหมายของ เวลาว่าง ก็
เปลี่ยนเป็น วิถีทางแห่งชีวิต และแม้กระทั่งในปัจจุบัน เวลาว่างมีความหมายคือ โอกาสที่ส่งเสริม
ความสาเร็จในชีวิตสูงสุด
นันทนาการ มีกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบเช่นเดียวกับการเล่นแต่มีความแตกต่างกันในรูปแบบของ
นันทนาการ มีหลายอย่างนอกเหนือจากการเล่นอาจเป็นการศึกษา การซาบซึ้งการเสริมสร้างประสบการณ์
ใหม่หรือการพัฒนาการทางด้านอารมณ์เป็นต้น ในสมัยแรก นันทนาการหมายถึง กิจกรรมที่ก่อให้เกิด
ความสนุกสนานพึงพอใจ และผ่อนคลายความตรึงเครียด ที่หลังจากการเลิกทางานที่เหน็ดเหนื่อย เพื่อจะ
เรียกพลังงานที่สดชื่นกลับคืนมา แต่ในปัจจุบันนันทนาการมีความหมายแล้วรูปแบบที่สลับซับซ้อน ตั้งแต่
เป็นกระบวนการก่อให้เกิดความสุข ความสาเร็จในชีวิตสูงสุด หรือการปรับปรุงเสริมสร้างคุณภาพชีวิต นัก
การศึกษาบางท่านกล่าวว่านันทนาการเป็นสถาบันสังคม
ดังนั้น การเล่น เวลาว่าง และ นันทนาการ จึงมีความหมายและประวัติพัฒนาการสัมพันธ์ซึ่งกัน
และกันจึงสมควรที่จะศึกษาวิเคราะห์และทบทวนปรัชญาและความหมายต่อไปนี้
การเล่น
การเล่น มาจาก ภาษาแองโกล แซกชั่น ที่ว่า PLEGAIN แปลว่า เกมส์และกีฬา การต่อสู้ ป้ องกัน
ตัว
การเล่นในภาษาลาติน PLEGAN แปลว่า เป่า ตบหรือตี ลูกบอล
การเล่นในภาษาเยอรมันและเนเธอร์แลนด์ ตรงกับ SPISLEN และ SPELEN ตามลาดับ มี
ความหมายว่า การเล่นกีฬา และ การเล่นเครื่องดนตรี
ดังนั้นจึงพอสรุป การเล่นมีองค์ประกอบคือ กิจกรรมความพึงพอใจซึ่งบุคคลเข้าร่วมเพื่อความรัก
โดยอิสระและในเวลาทันทีทันใด
1. ทฤษฎีการเล่น
จากการรายงานการศึกษาวิจัยทฤษฎีการเล่นของนักจิตวิทยานักสังคมวิทยา นักโบราณคดีและ
นักการศึกษาซึ่งพอสรุปเป็นทฤษฎีได้หลายทฤษฎี เช่น
1.1 ทฤษฎีพลังงานส่วนเกิน
ผู้นาทฤษฎี : นายสเปนเซอร์และนายสชิลเลอร์ ตั้งแต่กลางสตวรรษที่ 19 ซึ่งนักปรัชญาชาว
อังกฤษ
เนื้อหาสาระ : การเล่นเกิดจากความต้องการหรือมีแรงจูงใจที่จะใช้พลังงานส่วนเกินสองคนหรือ
สัตว์ที่นอกเหนือจากการใช้พลังงานเพื่อการอยู่รอดหรือยังชีพ ดังนี้จึงต้องสร้างรูปแบบของการเล่น เพื่อ
ความสนุกสนานใช้พลังงานส่วนเกินที่เหลือนั้นหรือพอสรุปได้ว่าทฤษฎีนี้อธิบายการเล่นเป็นการใช้พลังงาน
ที่สะสมไว้ในร่างกายกระทากิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น การเล่นเกมส์ การผจญภัย
1.2 ทฤษฎีนันทนาการ
ผู้นาทฤษฎี : นายลาซารัส ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยเบอร์ลินประเทศเยอรมัน
เนื้อหาสาระ : ทฤษฎีการเล่นนี้อธิบายในทิศทางตรงกันข้ามกับทฤษฎีพลังงานส่วนเกิน คือ การเล่น
ช่วยส่งเสริมวิถีชีวิตทางชีวิตของบุคคลในช่วงเวลาว่าง ร่วมกิจกรรมตามความเป็นจริง เปลี่ยนกิจกรรมทาให้
บุคคลสดชื่นกระชุ่มกระชวย เสริมสร้างพลังงานเป็นการพักผ่อนหย่อนใจและเสริมสร้างประสบการณ์และ
คุณภาพชีวิต
1.3 ทฤษฎีระบายอารมณ์
ทฤษฎี : อริสโตเติล
เนื้อหาสาระ : การเล่นเป็นการระบายออกทางอารมณ์ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องรักษาความปลอดภัย
ของระบบประสาท อริสโตเติลนักปราชญ์ชาวกรีก กล่าวว่าการเล่นหรือการแสดงละคร เป็นการจาลอง
เลียนแบบประสบการณ์ในอารมต่างๆ ในรูปแบบของการเล่นการพัฒนาจิตใจ และเป็นการใช้พลังงาน
ส่วนเกิน เพื่อการเล่นด้วย
1.4 ทฤษฎีการผ่อนคลายความตึงเครียด
ผู้นาทฤษฎี : นายแพทริค
เนื้อหาสาระ : การเล่นก่อให้เกิดความเพลิดเพลินผ่อนคลายความตึงเครียด จากสังคมพัฒนา
อุตสาหกรรม ทาให้คนเราได้รับอิทธิพลความตึงเครียด วิตกกังวลสูง ดังนั้นการเล่นกิจกรรมนี้จะช่วยผ่อน
คลายและรักษาสุขภาพกายและจิตใจของชุมชนในเมือง
กล่าวโดยสรุปความหมายของการเล่นคือ
1. พฤติกรรมของคนหรือสัตว์ที่ไม่ได้มีการฝึกสอนมา
2. ความพึงพอใจ หรือการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์โดยการแข่งขันบุกเบิกเอาชนะธรรมชาติ
ระบายอารมณ์ เลียนแบบพฤติกรรม
3. ปรากฏการณ์ที่ไม่มีจุดหมาย ไม่มีรูปแบบหรือสาเหตุหรือมีการจัดตั้งกฎกติกาที่สลับซับซ้อน
4. กิจกรรมของเด็ก และก็สามารถเกิดขึ้นกับกลุ่มผู้ใหญ่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของงาน
5. รากฐานจากสัญชาติญาณ รวมถึงพฤติกรรมการเล่นกิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้
6. กิจกรรมอิสระ พอใจ และไม่จริงใจมากนัก รวมทั้งกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบสูงเสี่ยงต่อ
อันตราย เสียค่าใช้จ่ายสูงและตอบสนองความต้องการของบุคคลและสังคม
7. รูปแบบต่างๆ ของวัฒนธรรมในแต่ละสังคมรวมทั้งการแข่งขันการพนัน นิยายเป็นต้น
8. หน้าที่ของสังคมที่แสดงออกในรูปของกฎหมาย ศาสนา สงคราม ศิลปะ และ ธุรกิจ ทางเดียวกัน
สังคมต่างๆ ยึดถือการเล่นช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล สร้างความสามัคคี การแสดงออกที่ดีทาหน้าที่
ทางการบาบัดรักษาและเพื่อการศึกษาตลอดจนการลดความก้าวร้าวของตน
2. เวลาว่าง
จากความหมาย คาว่า เวลาว่าง (LEISURS) มาจากภาษาลาติน คือ LICERE แปลว่า การได้รับอนุญาต
อิสระจากการงานและหน้าที่ นอกเหนือจากงานประจามีอิสระนี้จะกระทาอะไรตามใจปรารถนา
ภาษาฝรั่งเศส แฝงมาจากคาว่า LOISIR หมายถึง เวลาว่างและภาษาอังกฤษ ได้รับอนุญาตจากสาธารณะ
ชน รวมทั้งคาว่า LIBBRTY ซึ่งหมายถึงการเลือกอย่างอิสระในยุคอารยธรรมกรีกและโรมัน ศัพท์คาว่า
SCDLE หรือ SKOLE มีความหมายว่า ความหมายเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเวลาว่างและการศึกษาในโรงเรียน
เช่นเดียวกับคาว่า LYCEE ภาษาฝรั่งเศสหมายถึง โรงเรียนเป็นรางศัพท์ที่มีความหมายในเรื่องของ
การศึกษาและเวลาว่าง
เวลาว่าง ( LEISURE ) มีแนวคิด 5 ความหมายคือ
1. ทัศนะของเวลาว่างแบบดั้งเดิม เวลาว่าง คือเวลานี้ไม่ทางาน
2. เวลาว่าง คือหน้าที่ของสังคม
3. เวลาว่าง คือกิจกรรมที่กระทาในช่วงเวลาว่าง
4. เวลาว่าง คือ เวลาอิสระ
5. เวลาว่าง คือ วิถีชีวิตหรือสภาพที่เกิดขึ้นที่ต้องการให้บุคคลประสบความสาเร็จเท่าที่เขาต้องการ
จะทาได้
กล่าวโดยสรุปความหมายของเวลาว่างคือ
1. เวลาว่าง คือ สัดส่วนของเวลาของบุคคลที่ไม่ใช่เวลาทางาน
2. เวลาว่าง คือ การเลือกอย่างอิสระ ไม่ว่าจะทางานหรือไม่ก็ตามกิจกรรมเวลาว่างใช้ในรูปแบบ
ต่างๆ เพื่อที่ส่งเสริมความต้องการของบุคคลเพื่อให้คุณค่าทางจิตใจ ผ่อนคลายความตึงเครียด พึงพอใจ
ช่วยให้สังคมอยู่เย็นเป็นสุข
3. นันทนาการ
ความหมายนันทนาการเริ่มแรก หมายถึง กิจกรรมที่ช่วยบุคคลเข้าร่วมในเวลาว่างที่ไม่ใช่งาน เพื่อใช้บุคคล
เสริมสร้างพลังงานในการทางานต่อไป ดังนั้น ความหมายแรก ของนันทนาการ คือ การเล่นของผู้ใหญ่ใน
ช่วงเวลาว่าง
ในสมัยใหม่ นันทนาการได้เปลี่ยนแปลงความหมายอีก 3 ประการ คือ
1. นันทนาการ เป็นกิจกรรมที่มีแรงจูงใจในช่วงเวลาว่าง
2. นันทนาการ คือ กระบวนการหรือสภาพที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมาย
และความคาดหวังคือ สร้างประสบการณ์เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความพึงพอใจสนุกสนานสุขสงบ
3. นันทนาการ เป็นสถาบันทางสังคม เช่น แหล่งความรู้และสาขาวิชาชีพ
กล่าวโดยสรุปนันทนาการมีความหมายคือ
1. นันทนาการ ประกอบไปด้วยกิจกรรมหรือประสบการณ์ในการช่วงเวลาว่าง โดยที่ผู้เข้าร่วมด้วย
ความสมัครใจ เพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจ ความสุขและแรงความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งเพื่อให้บุคคลได้
คุณค่าทางสังคม พัฒนาทางอารมที่เกี่ยวข้อง
2. นันทนาการ เป็นส่วนหนึ่งของการทางาน ดังนี้บริษัทห้างร้างโรงงานอุตสาหกรรม จัดโปรแกรม
นันทนาการเพื่อบุคลากรในที่ทางานซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของเวลาอาหารกลางวันช่วงพักหรือหลังเวลาทางาน
3. นันทนาการเป็นองค์กรหนึ่งของชุมชนหรือหน่วยงานอาสาสมัครซึ่งจัดขึ้นเพื่อบริการสังคมทาให้
นันทนาการเป็นที่ยอมรับในฐานะสถาบันทางสังคม เช่น ทางด้าน ประเพณี คุณค่า โครงสร้างและ
องค์ประกอบ ผู้ประกอบอาชีพ
อุปสรรคของการจัดการบริการทางด้านบริการ
1. ทุกคนมีข้อหรือขีดจากัดทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางสังคม
2. ข้อจากัดเลือกทางด้านสภาพแวดล้อม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน วัฒนธรรมและแหล่งทรัพยากร
3. เวลามีข้อผูกมัดสาหรับคนบางกลุ่ม หรือการที่ทาให้ไม่มีเวลาว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม
4. การเลือกกิจกรรมมีขีดจากัดในการยอมรับทางสังคม
5. คุณค่าทางการเล่นลดลงในเมื่อกิจกรรมการเล่นเริ่มกลายเป็นการทางานและมีกฎระเบียบมาก
ขึ้น เช่น การเล่นกีฬาอาชีพ
6. โอกาสที่จะสร้างประสบการณ์สูงสุด ความตื่นเต้นท้าทายและบุกเบิกมีขีดจากัดสาหรับชนกลุ่ม
ใหญ่

More Related Content

What's hot

การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSattawat Backer
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...suree189
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557peter dontoom
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพBeerza Kub
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 

What's hot (20)

การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
แบบทดสอบปลายภาคเรียน สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีท...
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557เฉลยปลายภาค ม42557
เฉลยปลายภาค ม42557
 
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
สื่อการสอน เรื่อง เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

Viewers also liked

ประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการnok_bb
 
ประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการpuangpetch
 
การนันทนาการ
การนันทนาการการนันทนาการ
การนันทนาการChamchang
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 

Viewers also liked (17)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการ
 
ประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการประเภทนันทนาการ
ประเภทนันทนาการ
 
การนันทนาการ
การนันทนาการการนันทนาการ
การนันทนาการ
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 15
บทที่ 15บทที่ 15
บทที่ 15
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 

Similar to บทที่ 2

นันทนาการส่ง
นันทนาการส่งนันทนาการส่ง
นันทนาการส่งbaipool
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครูPnong Club
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ05102500
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1maina052
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1sitipatimoh050
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1azmah055
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1ai-sohyanya
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1oppalove
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1Sareenakache
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1tina009
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1yasaka.747
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1mikinan
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1waenalai002
 

Similar to บทที่ 2 (20)

นันทนาการส่ง
นันทนาการส่งนันทนาการส่ง
นันทนาการส่ง
 
บทบาทครู
บทบาทครูบทบาทครู
บทบาทครู
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
ผลการใช้การศึกษากรณีตัวอย่างต่อความรับผิดชอบ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 
เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1เฟียเจท์ 1
เฟียเจท์ 1
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการteaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (12)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
 
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
 
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
 

บทที่ 2

  • 1. บทที่ 2 แนวคิดและปรัชญาเกี่ยวกับ การเล่น เวลาว่าง และ นันทนาการ ในการศึกษาโปรแกรมนันทนาการสาหรับชุมชนและโรงเรียน ผู้จัดหรือผู้ดาเนินการควรจะมีความรู้ ความเข้าใจแนวคิด ปรัชญา ความหมายและความสัมพันธ์ของการเล่น เวลาว่างแล้วนันทนาการ เพื่อให้ การดาเนินงานมีจุดมุ่งหมายดาเนินการได้บรรลุวัตถุประสงค์ ในเรื่องนี้จะเป็นการทบทวน แนวคิดและ ปรัชญา ของคาว่า “ การเล่น ” “ เวลาว่าง ” “ นันทนาการ ” การเล่น เป็นคาที่ใช้กันมานานเก่าก่อน และเป็นที่ยอมรับแนวคิดนี้มานาน ซึ่งใช้อธิบายพฤติกรรม การเข้าร่วมกิจกรรมของเด็กและเยาวชนแต่ความหมายก็ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายจริงจัง นักจิตวิทยา นัก โบราณคดี และนักการศึกษา เห็นพ้องต้องกันว่า การเล่นมีส่วนช่วยพัฒนา สุขภาพทางกายและทางจิตใจ ของคนเรา จากการศึกษาพฤติกรรมการเล่นในสังคมวัฒนธรรมต่างๆ พบว่า การเล่นมีความเกี่ยวข้องกับ ความต้องการขั้นพื้นฐานและมีความสาคัญในการสร้างคุณค่าจิตวิทยา กินดี อยู่ดี ของมนุษย์ เวลาว่าง มีความเกี่ยวเนื่องกับนักปรัชญาและนักการศึกษาตั้งแต่สมัยโบราณอารยธรรมกรีกและ โรมัน กล่าวคือในช่วงแรกเวลาว่างมีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องโดยตรงกับกลุ่มชนชั้นสูง หัวหน้าเผ่า ขุนนาง ชั้นสูงในสังคมนั้นๆ ทั้งนี้เพราะว่าชุมชนเหล่านี้มีเวลาว่างที่จะเลือกกระทากิจกรรมเพื่อสนองความต้องการ ความพึงพอใจให้แกตนเอง โดยช่างเวลาต่อมา เวลาว่าง ได้มีการขยายความหมายโดยนักเศรษฐศาสตร์ และสังคมวิทยาได้นิยามว่า เวลาว่างเป็นคาที่มีความหมายตรงข้ามกับ งานหรือทางาน ซึ่งพฤติกรรมของ กลุ่มชนชั้นกลาง และชั้นที่มีรายได้น้อย ( พวกทางานในโรงงาน ) ต่อมา ความหมายของ เวลาว่าง ก็ เปลี่ยนเป็น วิถีทางแห่งชีวิต และแม้กระทั่งในปัจจุบัน เวลาว่างมีความหมายคือ โอกาสที่ส่งเสริม ความสาเร็จในชีวิตสูงสุด นันทนาการ มีกิจกรรมที่เป็นองค์ประกอบเช่นเดียวกับการเล่นแต่มีความแตกต่างกันในรูปแบบของ นันทนาการ มีหลายอย่างนอกเหนือจากการเล่นอาจเป็นการศึกษา การซาบซึ้งการเสริมสร้างประสบการณ์ ใหม่หรือการพัฒนาการทางด้านอารมณ์เป็นต้น ในสมัยแรก นันทนาการหมายถึง กิจกรรมที่ก่อให้เกิด ความสนุกสนานพึงพอใจ และผ่อนคลายความตรึงเครียด ที่หลังจากการเลิกทางานที่เหน็ดเหนื่อย เพื่อจะ เรียกพลังงานที่สดชื่นกลับคืนมา แต่ในปัจจุบันนันทนาการมีความหมายแล้วรูปแบบที่สลับซับซ้อน ตั้งแต่ เป็นกระบวนการก่อให้เกิดความสุข ความสาเร็จในชีวิตสูงสุด หรือการปรับปรุงเสริมสร้างคุณภาพชีวิต นัก การศึกษาบางท่านกล่าวว่านันทนาการเป็นสถาบันสังคม
  • 2. ดังนั้น การเล่น เวลาว่าง และ นันทนาการ จึงมีความหมายและประวัติพัฒนาการสัมพันธ์ซึ่งกัน และกันจึงสมควรที่จะศึกษาวิเคราะห์และทบทวนปรัชญาและความหมายต่อไปนี้ การเล่น การเล่น มาจาก ภาษาแองโกล แซกชั่น ที่ว่า PLEGAIN แปลว่า เกมส์และกีฬา การต่อสู้ ป้ องกัน ตัว การเล่นในภาษาลาติน PLEGAN แปลว่า เป่า ตบหรือตี ลูกบอล การเล่นในภาษาเยอรมันและเนเธอร์แลนด์ ตรงกับ SPISLEN และ SPELEN ตามลาดับ มี ความหมายว่า การเล่นกีฬา และ การเล่นเครื่องดนตรี ดังนั้นจึงพอสรุป การเล่นมีองค์ประกอบคือ กิจกรรมความพึงพอใจซึ่งบุคคลเข้าร่วมเพื่อความรัก โดยอิสระและในเวลาทันทีทันใด 1. ทฤษฎีการเล่น จากการรายงานการศึกษาวิจัยทฤษฎีการเล่นของนักจิตวิทยานักสังคมวิทยา นักโบราณคดีและ นักการศึกษาซึ่งพอสรุปเป็นทฤษฎีได้หลายทฤษฎี เช่น 1.1 ทฤษฎีพลังงานส่วนเกิน ผู้นาทฤษฎี : นายสเปนเซอร์และนายสชิลเลอร์ ตั้งแต่กลางสตวรรษที่ 19 ซึ่งนักปรัชญาชาว อังกฤษ เนื้อหาสาระ : การเล่นเกิดจากความต้องการหรือมีแรงจูงใจที่จะใช้พลังงานส่วนเกินสองคนหรือ สัตว์ที่นอกเหนือจากการใช้พลังงานเพื่อการอยู่รอดหรือยังชีพ ดังนี้จึงต้องสร้างรูปแบบของการเล่น เพื่อ ความสนุกสนานใช้พลังงานส่วนเกินที่เหลือนั้นหรือพอสรุปได้ว่าทฤษฎีนี้อธิบายการเล่นเป็นการใช้พลังงาน ที่สะสมไว้ในร่างกายกระทากิจกรรมในรูปแบบต่างๆ เช่น การเล่นเกมส์ การผจญภัย 1.2 ทฤษฎีนันทนาการ ผู้นาทฤษฎี : นายลาซารัส ศาสตราจารย์จากมหาวิทยาลัยเบอร์ลินประเทศเยอรมัน เนื้อหาสาระ : ทฤษฎีการเล่นนี้อธิบายในทิศทางตรงกันข้ามกับทฤษฎีพลังงานส่วนเกิน คือ การเล่น ช่วยส่งเสริมวิถีชีวิตทางชีวิตของบุคคลในช่วงเวลาว่าง ร่วมกิจกรรมตามความเป็นจริง เปลี่ยนกิจกรรมทาให้ บุคคลสดชื่นกระชุ่มกระชวย เสริมสร้างพลังงานเป็นการพักผ่อนหย่อนใจและเสริมสร้างประสบการณ์และ คุณภาพชีวิต
  • 3. 1.3 ทฤษฎีระบายอารมณ์ ทฤษฎี : อริสโตเติล เนื้อหาสาระ : การเล่นเป็นการระบายออกทางอารมณ์ซึ่งเปรียบเสมือนเครื่องรักษาความปลอดภัย ของระบบประสาท อริสโตเติลนักปราชญ์ชาวกรีก กล่าวว่าการเล่นหรือการแสดงละคร เป็นการจาลอง เลียนแบบประสบการณ์ในอารมต่างๆ ในรูปแบบของการเล่นการพัฒนาจิตใจ และเป็นการใช้พลังงาน ส่วนเกิน เพื่อการเล่นด้วย 1.4 ทฤษฎีการผ่อนคลายความตึงเครียด ผู้นาทฤษฎี : นายแพทริค เนื้อหาสาระ : การเล่นก่อให้เกิดความเพลิดเพลินผ่อนคลายความตึงเครียด จากสังคมพัฒนา อุตสาหกรรม ทาให้คนเราได้รับอิทธิพลความตึงเครียด วิตกกังวลสูง ดังนั้นการเล่นกิจกรรมนี้จะช่วยผ่อน คลายและรักษาสุขภาพกายและจิตใจของชุมชนในเมือง กล่าวโดยสรุปความหมายของการเล่นคือ 1. พฤติกรรมของคนหรือสัตว์ที่ไม่ได้มีการฝึกสอนมา 2. ความพึงพอใจ หรือการแสดงออกอย่างสร้างสรรค์โดยการแข่งขันบุกเบิกเอาชนะธรรมชาติ ระบายอารมณ์ เลียนแบบพฤติกรรม 3. ปรากฏการณ์ที่ไม่มีจุดหมาย ไม่มีรูปแบบหรือสาเหตุหรือมีการจัดตั้งกฎกติกาที่สลับซับซ้อน 4. กิจกรรมของเด็ก และก็สามารถเกิดขึ้นกับกลุ่มผู้ใหญ่ซึ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ่งของงาน 5. รากฐานจากสัญชาติญาณ รวมถึงพฤติกรรมการเล่นกิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้ 6. กิจกรรมอิสระ พอใจ และไม่จริงใจมากนัก รวมทั้งกิจกรรมที่เกี่ยวกับความรับผิดชอบสูงเสี่ยงต่อ อันตราย เสียค่าใช้จ่ายสูงและตอบสนองความต้องการของบุคคลและสังคม 7. รูปแบบต่างๆ ของวัฒนธรรมในแต่ละสังคมรวมทั้งการแข่งขันการพนัน นิยายเป็นต้น 8. หน้าที่ของสังคมที่แสดงออกในรูปของกฎหมาย ศาสนา สงคราม ศิลปะ และ ธุรกิจ ทางเดียวกัน สังคมต่างๆ ยึดถือการเล่นช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธิ์ผล สร้างความสามัคคี การแสดงออกที่ดีทาหน้าที่ ทางการบาบัดรักษาและเพื่อการศึกษาตลอดจนการลดความก้าวร้าวของตน 2. เวลาว่าง จากความหมาย คาว่า เวลาว่าง (LEISURS) มาจากภาษาลาติน คือ LICERE แปลว่า การได้รับอนุญาต อิสระจากการงานและหน้าที่ นอกเหนือจากงานประจามีอิสระนี้จะกระทาอะไรตามใจปรารถนา
  • 4. ภาษาฝรั่งเศส แฝงมาจากคาว่า LOISIR หมายถึง เวลาว่างและภาษาอังกฤษ ได้รับอนุญาตจากสาธารณะ ชน รวมทั้งคาว่า LIBBRTY ซึ่งหมายถึงการเลือกอย่างอิสระในยุคอารยธรรมกรีกและโรมัน ศัพท์คาว่า SCDLE หรือ SKOLE มีความหมายว่า ความหมายเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเวลาว่างและการศึกษาในโรงเรียน เช่นเดียวกับคาว่า LYCEE ภาษาฝรั่งเศสหมายถึง โรงเรียนเป็นรางศัพท์ที่มีความหมายในเรื่องของ การศึกษาและเวลาว่าง เวลาว่าง ( LEISURE ) มีแนวคิด 5 ความหมายคือ 1. ทัศนะของเวลาว่างแบบดั้งเดิม เวลาว่าง คือเวลานี้ไม่ทางาน 2. เวลาว่าง คือหน้าที่ของสังคม 3. เวลาว่าง คือกิจกรรมที่กระทาในช่วงเวลาว่าง 4. เวลาว่าง คือ เวลาอิสระ 5. เวลาว่าง คือ วิถีชีวิตหรือสภาพที่เกิดขึ้นที่ต้องการให้บุคคลประสบความสาเร็จเท่าที่เขาต้องการ จะทาได้ กล่าวโดยสรุปความหมายของเวลาว่างคือ 1. เวลาว่าง คือ สัดส่วนของเวลาของบุคคลที่ไม่ใช่เวลาทางาน 2. เวลาว่าง คือ การเลือกอย่างอิสระ ไม่ว่าจะทางานหรือไม่ก็ตามกิจกรรมเวลาว่างใช้ในรูปแบบ ต่างๆ เพื่อที่ส่งเสริมความต้องการของบุคคลเพื่อให้คุณค่าทางจิตใจ ผ่อนคลายความตึงเครียด พึงพอใจ ช่วยให้สังคมอยู่เย็นเป็นสุข 3. นันทนาการ ความหมายนันทนาการเริ่มแรก หมายถึง กิจกรรมที่ช่วยบุคคลเข้าร่วมในเวลาว่างที่ไม่ใช่งาน เพื่อใช้บุคคล เสริมสร้างพลังงานในการทางานต่อไป ดังนั้น ความหมายแรก ของนันทนาการ คือ การเล่นของผู้ใหญ่ใน ช่วงเวลาว่าง ในสมัยใหม่ นันทนาการได้เปลี่ยนแปลงความหมายอีก 3 ประการ คือ 1. นันทนาการ เป็นกิจกรรมที่มีแรงจูงใจในช่วงเวลาว่าง 2. นันทนาการ คือ กระบวนการหรือสภาพที่เกิดขึ้นเมื่อบุคคลเข้าร่วมกิจกรรมโดยมีจุดมุ่งหมาย และความคาดหวังคือ สร้างประสบการณ์เสริมสร้างคุณภาพชีวิต ความพึงพอใจสนุกสนานสุขสงบ 3. นันทนาการ เป็นสถาบันทางสังคม เช่น แหล่งความรู้และสาขาวิชาชีพ กล่าวโดยสรุปนันทนาการมีความหมายคือ
  • 5. 1. นันทนาการ ประกอบไปด้วยกิจกรรมหรือประสบการณ์ในการช่วงเวลาว่าง โดยที่ผู้เข้าร่วมด้วย ความสมัครใจ เพื่อก่อให้เกิดความพึงพอใจ ความสุขและแรงความคิดสร้างสรรค์ รวมทั้งเพื่อให้บุคคลได้ คุณค่าทางสังคม พัฒนาทางอารมที่เกี่ยวข้อง 2. นันทนาการ เป็นส่วนหนึ่งของการทางาน ดังนี้บริษัทห้างร้างโรงงานอุตสาหกรรม จัดโปรแกรม นันทนาการเพื่อบุคลากรในที่ทางานซึ่ง เป็นส่วนหนึ่งของเวลาอาหารกลางวันช่วงพักหรือหลังเวลาทางาน 3. นันทนาการเป็นองค์กรหนึ่งของชุมชนหรือหน่วยงานอาสาสมัครซึ่งจัดขึ้นเพื่อบริการสังคมทาให้ นันทนาการเป็นที่ยอมรับในฐานะสถาบันทางสังคม เช่น ทางด้าน ประเพณี คุณค่า โครงสร้างและ องค์ประกอบ ผู้ประกอบอาชีพ อุปสรรคของการจัดการบริการทางด้านบริการ 1. ทุกคนมีข้อหรือขีดจากัดทางด้านร่างกาย จิตใจ และทางสังคม 2. ข้อจากัดเลือกทางด้านสภาพแวดล้อม เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื่อน วัฒนธรรมและแหล่งทรัพยากร 3. เวลามีข้อผูกมัดสาหรับคนบางกลุ่ม หรือการที่ทาให้ไม่มีเวลาว่างที่จะเข้าร่วมกิจกรรม 4. การเลือกกิจกรรมมีขีดจากัดในการยอมรับทางสังคม 5. คุณค่าทางการเล่นลดลงในเมื่อกิจกรรมการเล่นเริ่มกลายเป็นการทางานและมีกฎระเบียบมาก ขึ้น เช่น การเล่นกีฬาอาชีพ 6. โอกาสที่จะสร้างประสบการณ์สูงสุด ความตื่นเต้นท้าทายและบุกเบิกมีขีดจากัดสาหรับชนกลุ่ม ใหญ่