SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
บทที่ 16
แหล่งนันทนาการ: ที่พักอาศัย สถานที่ท่องเที่ยว
ค่ายลูกเสือในประเทศไทย
ค่ายลูกเสือ ถือว่าเป็นแหล่งทรัพยากรที่จาเป็นและสาคัญสาหรับการลูกเสือและเยาวชน เพราะ
จะเป็นแหล่งที่จัดกิจกรรมให้เยาวชนในกลางแจ้งเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เป็นกิจกรรมสาหรับฝึก
เยาวชนให้เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ปลูกฝังนิสัยแห่งความสามัคคี รักชาติ รู้จักช่วยเหลือตนเอง
ใช้เวลาว่างในการเสริมสร้างลักษณะนิสัย และประสบการณ์ชีวิต และประเทศชาติในยามที่ชาติต้องการ
ค่ายลูกเสือใช้เป็นสถานที่จัดดาเนินงานต่อไปนี้ คือ
1. การฝึกอบรมอยู่ค่ายพักแรม
2. ฝึกการทางานด้วยตนเอง
3. ฝึกความสามัคคีและความมีระเบียบวินัย
4. ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ
จากลักษณะการดาเนินงานดังกล่าว จะช่วยพัฒนาให้เยาวชนมีความเตรียมพร้อมที่จะเป็น
พลเมืองที่ดีของชาติสืบไป โดยเฉพาะการฝึกอบรมค่ายพักแรม ซึ่งเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของสันทนาการ
กิจกรรมเหล่านี้ ได้แก่ การวิ่ง การเดินทางไกล ขึ้นต้นไม้ ว่ายน้า พายเรือ กีฬาประเภทต่าง ๆ และการ
เล่นรอบกองไฟ เป็นต้น ซี่งอาจกล่าวได้ว่าค่ายลูกเสือได้ใช้กิจกรรมด้านสันทนาการเป็นสื่อในการพัฒนา
เยาวชน และจากความสาคัญดังกล่าวสมาคมหรือคณะลูกเสือทุกประเทศจึงได้พยายามส่งเสริมและ
จัดสร้างค่ายลูกเสือขึ้น ประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งที่กิจการค่ายลูกเสือเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีอยู่
ครอบคลุมทุกภาคการศึกษา โดยแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้คือ
ประเภทของค่ายลูกเสือ
1. ค่ายลูกเสือแห่งชาติ
2. ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา
3. ค่ายลูกเสือประจาจังหวัด
4. ค่ายลูกเสือประจาอาเภอ
ค่ายลูกเสือแห่งชาติ
ค่ายลูกเสือแห่งชาติ คือ “ค่ายลูกเสือวชิราวุธ” ชื่อของค่ายนั้นได้รับพระราชทานพระปรมราขา
นุมัติให้ใช้เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายความระลึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า
เจ้าอยู่หัว ผู้พระราชทานกาเนิดลูกเสือไทย
ค่ายลูกเสือวชิราวุธ เป็นค่ายลูกเสือที่งดงามและมีบรรยากาศของป่าเขา ที่เป็นธรรมชาติ ที่เป็นที่
ราบอยู่ระหว่างเขาตะแบกและเขาสลาก มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 394 ไร่เศษ การวางผังค่ายแบ่งที่ดินออกเป็น 2 ส่วน
ส่วนหนึ่งใช้เป็นที่ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และอีกส่วนหนึ่งใช้เป็นที่ให้ลูกเสือฝึกการอยู่ค่ายพักแรม
โดยมีสนามฝึกและที่เล่นกองไฟ ส่วนสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ในค่ายลูกเสือคือ สิ่งที่สาคัญจริง ๆ เช่น บ้านพัก
แหล่งเก็บน้า โรงพัสดุ เรือนพยาบาล ศาลา และ โรงอาหาร เป็นต้น ที่ตั้งของค่ายลูกเสืออยู่ที่ อาเภอ
ศรีราชา ซึ่งห่างจากจังหวัดชลบุรี ประมาณ 25 กิโลเมตร ค่ายลูกเสือแห่งชาติ ใช้เป็นแหล่งฝึกลูกเสือ
ระดับชาติ และนานาชาติ
ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา
การศึกษามีทั้งหมด 12 ภาค และค่ายลูกเสือประจาจังหวัดบางครั้งก็เป็นค่ายลูกเสือประจาภาค
ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 1 ตั้งอยู่ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ห่าง
จังหวัด 28 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 405 ไร่
ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 2 ชื่อ “ปาโจ” ตั้งอยู่ที่ตาบลบาเจาะ อาเภอบาเจาะ จังหวัด
นราธิวาส ห่างจากจังหวัด 30 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 20 ไร่ 2 งาน
ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 3 อยู่ที่ตาบลเขารูปช้าง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ 35
ไร่ เป็นค่ายลูกเสือประจาจังหวัด ซึ่งรวบกับค่ายลูกเสืออาเภอเมือง
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 4 คือค่ายลูกเสือจังหวัดตรัง มีชื่อว่า “ค่ายรัษฎานุประดิศฐ์” ตั้งอยู่ที่ตาบล
ช่อง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ห่างจากจังหวัด 20 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 45 ไร
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 5 ตั้งอยู่ที่ตาบลอ่างทอง อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ห่างจากจังหวัด 10
กิโลเมตร มีเนื้อที่ 500 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 6 ตั้งอยู่ที่ตาบลนิคม อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี อยู่ห่างจากจังหวัด 15
กิโลเมตร มีเนื้อที 700 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 7 ตั้งอยู่ตาบลแก่งโสภา อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อยู่ห่างจาก
จังหวัด 45 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 190 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 8 มีชื่อว่า “ห้วยช้างเคี่ยน” อยู่ตาบลช้างเผือก จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจาก
จังหวัด 8 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 100 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 9 ตั้งอยู่ตาบลหมู่ม่น อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจาก
จังหวัด 9 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 35 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 10 ตั้งอยู่ที่ตาบลหนองขอน อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจาก
จังหวัด 12 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 266 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 11 มีชื่อว่า “อ่างห้วยยาง” ตั้งอยู่ที่ตาบลโคกครวด อาเภอเมือง จังหวัด
นครราชสีมา ห่างจากจังหวัด 17 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 1325 ไร่
ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 12 ตั้งอยู่ที่ตาบลเกาะขนุน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ห่าง
จากจังหวัด 52 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 822 ไร่
นอกจากค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษาแล้วยังมีค่ายลูกเสือประจาจังหวัดและค่ายลูกเสือ
ประจาอาเภออีกประมาณร้อยกว่าค่าย ซึ่งกระจายอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย และมีการสร้าง
เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ค่ายลูกเสือนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกจากนี้ยัง
ได้มีผลประโยชน์ต่อชุมชน หรือกลุ่มนิสิต นักศึกษา กล่าวคือ ในการศึกษาธรรมชาติ หรือชนบท
ทางคณะท่องเที่ยวติดต่อขอใช้สถานที่ตั้งค่ายพักแรม อาศัยค่ายลูกเสือเหล่านี้ซึ่งมีทั้งบรรยากาศใกล้ชิด
ธรรมชาติ มีความสะดวก และที่สาคัญก็คือ มีความปลอดภัย ในขณะเดินทางหรือทากิจกรรมเป็นกลุ่มใน
ชนบท ตัวอย่าง ค่ายลูกเสือกระทิงอยู่ในอุทยานแห่งชาติเขาคิชกูฎ จังหวัดจันทบุรี ใกล้ธรรมชาติสวยงาม
น้าตก และป่าไม้ เป็นต้น
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์แห่งประเทศไทย
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ภายในสวนสัตว์ดุสิต ถนนพระราม 5 ตรงข้ามกับ
พระราชวังจิตรลดา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 112 ไร่ จัดเป็นแหล่งนันทนาการสาธารณะซึ่งรัฐจัดขึ้นเพื่อ
บริการชุมชน
ประวัติความเป็นมา
องค์การสวนสัตว์เดิมเป็ นส่วนหนึ่งของพระราชอุทยานสวนดุสิต ซึ่งพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นสวนพฤกษาชาติสาหรับส่วนพระองค์
ต่อมาเมื่อคราวเสด็จประพาสหมู่เกาะชวา ได้ทรงนากวางดาวจานวนหนึ่งมาจากชวา เลี้ยงไว้ในสวนกวาง
ซึ่งปัจจุบันคือ สวนอัมพร และกวางดาวฝูงนี้ได้ผสมพันธ์สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบันนี้
วัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน
1. จัดหาและรวบรวมสัตว์ป่านานาชนิด ทั้งสัตว์พื้นเมืองและสัตว์ต่างประเทศ เพื่อประโยชน์แก่
การศึกษาหาความรู้ของประชาชน
2. มีหน้าที่ส่งเสริมบารุง และผสมพันธุ์สัตว์ป่า เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ป่าที่หายากมิให้สูญพันธุ์
3. ปรับปรุงสัตว์ เช่น สถานที่เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ตลอดจนสถานที่ภายในสวนสัตว์ เพื่อให้เหมาะกับ
เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน
การดาเนินงาน
องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ดาเนินการบริหาร ในรูปแบบรัฐวิสาหกิจ รายได้ของ
องค์การฯ ได้มาจากการเก็บค่าผ่านประตูเข้าชมสัตว์ รายจ่ายส่วนใหญ่จะเป็นค่าเงินเดือนเจ้าหน้าที่และ
คนงาน ตลอดจนค่าอาหารบารุงสัตว์แต่ละวัน
สาหรับกิจกรรมที่ทางสวนสัตว์จัดสาหรับประชาชน ได้แก่
1. สัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ มากกว่า 1500 ชนิด แบ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน
2. สัตว์ที่ได้จัดหาเข้าสวนสัตว์ เพื่อให้ประชาชน ซึ่งเป็นสัตว์ทีหาดูได้ยาก
3. จัดสัตว์ที่ STAFF ไว้ให้ประชาชน ซึ่งอาจเป็นสัตว์ทีสูญพันธ์ไปแล้วหรือหาดูไม่ได้
4. บริการทางด้านนันทนาการเครื่องเล่นต่าง ๆ เช่น เรือพาย เรือถีบ ตลอดจนสนามเด็กเล่นต่าง ๆ
การตกแต่งพันธุ์ไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับ อันเป็นแบบอย่างของการจัดสวนสาธารณะในเมืองชนิดหนึ่ง
หลังจากสิ้นรัชกาลของพระองค์ สวนสัตว์ดุสิตหรือเขาดินวนาก็ได้ถูกปล่อยให้รกร้างว่างเปล่า
ตลอดมา จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 8 ทรงเห็นว่า ในเขตนครหลวง ยังขาด
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจสาหรับประชาชนอีกเป็นจานวนมาก ซึ่งในขณะนั้นมีเพียงสวนลุมพินีแห่งเดียว
ซึ่งเป็นการไม่เพียงพอต่ออัตราการเพิ่มของประชาชน จึงทรงพระราชทานที่ดินส่วนพระองค์นี้ ให้เป็น
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของสมาคมเมื่อ พ.ศ. 2481 ทางเทศบาลนครกรุงเทพฯ จึงได้ย้ายกวางดาวพร้อม
สัตว์ชนิดอื่น ๆ อีก 2-3 ชนิด จากสวนอัมพรมาไว้เขาดินวนา และดาเนินการตบแต่งสถานที่ให้เป็น
สวนสัตว์ โดยการจัดหาสัตว์เลี้ยงให้ประชาชนชมเท่าที่กาลังเงินงบประมาณของเทศบาลจะทาได้ และ
เรียกชื่อสวนสัตว์นี้ว่า “สวนสัตว์ดุสิต” และแต่งตั้งให้ พระสวัสดิวิธีสอน เป็นผู้อานวยการ ขึ้นตรงต่อ
เทศบาลนครกรุงเทพฯ ต่อมา พ.ศ. 2456 พลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงมหาดไทย ได้เห็นว่า เนื่องด้วยเทศบาลนครกรุงเทพฯ ได้รับงบประมาณน้อย ไม่เพียงพอที่จะ
แบ่งงบประมาณไปบารุงสวนสัตว์ดุสิตให้เจริญได้ ประกอบกับทางเทศบาลมีภาระหน้าที่มากอยู่แล้ว จึง
ได้เสนอรัฐบาลขอจัดตั้งเป็นองค์การขึ้น เพื่อให้การบริหารงานเป็นไปได้โดนคล่องแคล่วรวดเร็ว และ
รัฐบาลได้อนุมัติให้ จัดเป็นองค์การขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2497 ให้เรียกชื่อว่า
“องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย” ทางเทศบาลนครกรุงเทพฯ ได้มอบงานสวนสัตว์ และทรัพย์สินทั้งหมด
ให้แก่องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2497
อักษรย่อขององค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย เดิมใช้ อ.ส.ท. แต่ภายหลังไปพ้องกับอักษรย่อของ
องค์การส่งเสริมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จึงได้เปลี่ยนมาใช้อักษรย่อ อ.ส.ส. แทน เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน
2506
เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2506 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับองค์การ
สวนสัตว์แห่งประเทศไทยอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงเรียกชื่อเต็มว่า “องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชูปถัมภ์” และต่อมาเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2513 ได้ใช้ชื่อทางราชการว่าองค์การสวนสัตว์
ในพระบรมราชูปถัมภ์
การดาเนินงานด้านความปลอดภัย ทางสวนสัตว์ได้จัดวางเจ้าหน้าที่ไว้เป็น 2 ประเภท คือ
ประเภทที่ 1 มีหน้าที่ดูแลความปลอดภัยของสัตว์เพื่อมิให้ได้รับอันตรายจากประชาชนที่เข้าไปเที่ยว โดย
รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น ให้อาหารที่อาจเป็นอันตรายแก่สัตว์ หรือการทาให้สถานที่อยู่ของสัตว์สกปรก เป็นต้น
ประเภทที่ 2 มีหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้แก่ประชาชนที่เข้าไปชมสัตว์ เจ้าหน้าที่เหล่านี้จะเดินรอบ ๆ
บริเวณสวนสัตว์ โดยแบ่งเขตกันรับผิดชอบ
ทางองค์การสวนสัตว์ดุสิต ได้ดาเนินการเพื่อที่จะให้มีสวนสัตว์ในทุกจังหวัดหรือทุกภาคที่สาคัญ
ซึ่งขณะนี้ได้ดาเนินการไปบ้างแล้ว เพื่อสนองความต้องการของประชาชนในด้านสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
สาหรับประชาชนส่วนภูมิภาค
แนวคิดเรื่องสวนสัตว์ในปัจจุบันได้มีการลงทุนเป็นแหล่งนันทนาการเพื่อธุรกิจการค้าในบริเวณ
ชุมชนเมือง และชานเมือง สามารถแยกออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. มุมสวนสัตว์ในศูนย์การค้า เช่น สวนสัตว์พาต้า เพื่อเป็นแหล่งนันทนาการสาหรับครอบครัว
2. ฟาร์มจระเข้สวนสามพราน และสมุทรปราการ ซึ่งจัดทาเพื่อเป็นแหล่งขายบริการความพึง
พอใจให้แก่ครอบครัว และนักท่องเที่ยว
3. สวนสัตว์ซาฟารี ซึ่งเป็นการจัดธุรกิจนันทนาการ ที่เป็นที่นิยมของนานาชาติ โดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อขายบริการ สร้างบรรยากาศให้คนได้ใกล้ชิดกับสัตว์ป่าที่ดุร้ายอย่างใกล้ชิด
สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ ในประเทศไทย
ความเป็นมาของสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ
ไว เอ็ม ซี เอ เกิดขึ้นครั้งแรกในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในยุคที่ประเทศอังกฤษกาลังปฏิวัติ
อุตสาหกรรม เมื่อประมาณ ค.ศ. 1840 บรรดาชายหนุ่มตามชนบทได้พากันหลั่งไหลเข้ามาประกอบอาชีพ
และแสวงหาความก้าวหน้าในกรุงลอนดอน และได้หลงใหลสนุกสานเพลิดเพลินตามประสาชายหนุ่ม มิได้
ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ชายหนุ่มคนหนึ่งชื่อ นาย ยอร์จ วิลเลี่ยม อายุ 20 ปี ลูกสาวไร่หมู่บ้านปริวอล
เดอร์ นอกกรุงลอนดอนได้เข้ามาทางานในกรุงลอนดอน ได้เข้าทางานกับบริษัทค้าผ้า เขาได้เห็นเพื่อน
ร่วมวัยพากันหมกมุ่นกับการพนันและมีพฤติกรรมในทางไม่พึงประสงค์ ทาให้สลดใจ และพยายามหาทาง
ป้ องกันและช่วยเหลือเพื่อน ๆ ในกลุ่มเดียวกัน
เริ่มแรกเขาได้ชักชวนเพื่อนสนิทมาสนทนาหารือแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งชักชวนกัน
ประกอบศาสนกิจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้ประกอบการงานได้เจริญก้าวหน้าเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น
มีผู้มาร่วม 12 คน โดยใช้เวลาหลังเลิกงานแล้ว โดยใช้ห้องนอนกายในเรือนพักของบริษัท และข่าวการ
พบปะนี้ได้กระจายไปอย่างกว้างขวาง ทั้งผู้ใหญ่ในบริษัทก็ให้ความสนับสนุนเป็นอย่างดี ทาให้มีชายหนุ่ม
มาร่วมชุมนุมกันมากขึ้น นายวิลเลี่ยม จึงเปลี่ยนสถานที่มาเป็นร้านกาแฟใกล้ ๆ นั้น ก็ยิ่งมีผู้นิยมแพร่หลาย
กว้างขวางมากขึ้นอีก จึงพร้อมใจกันจัดการสถานที่ใหม่และตั้งเป็นสมาคมชายหนุ่มขึ้นเมื่อเดินสิงหาคม
ค.ศ. 1841 โดยเฉลี่ยกันออกค่าใช้จ่ายคนละเล็กละน้อย
เมื่อมีสมาคมไว เอ็ม ซี เอ แล้วนายวิลเลี่ยมและมิตรสหายก็ได้เลือกสมาชิกผู้มีคุณวุฒิเป็น
กรรมการบริหารงานคณะหนึ่ง ผลัดเปลี่ยนกันสมัยละ 3 ปี กาหนดให้ทยอยกันเป็นตาแหน่งปีละ 1 ใน 3
และเลือกสมาชิกใหม่เข้าแทนตาแหน่งที่ว่างทุกปี งานของสมาคมได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในช่วง
10 ปี ขยายตัวออกไปทั่วอังกฤษ และขยายตัวเป็นเครือข่ายนานาชาติถึง 80 ชาติ เมื่อสมาคมมีอายุครบ
50 ปี สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรีย ได้พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น เซอร์ ยอร์ช วิลเลี่ยม
สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพ
นายบุญต๋วน บุญจิต ได้เผยแพร่อุดมคติของ ไว เอ็ม ซี เอ หลังจากที่กลับจากสหรัฐอเมริกา
ค.ศ. 2435 สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ ได้ก่อตั้งขึ้นในปี 2474 โดยคนไทย และนายเอ ฮาร์ แฮมมอนด์ ได้ประชุม
ปรึกษากันวางโครงการ และร่างข้อบังคับ สาหรับสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ ที่จะจัดปรับปรุงใหม่ให้
สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมไทย ซึ่งต่อมาอีกหลายเดือน จึงสาเร็จเรียบร้อย โดยตกลให้แปลงสโมสร
บุญอิต ศิลปาการ เป็นสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ เรียกเป็นไทยที่ปรากฏในทะเบียนว่า “เยาวมานพครัส
เตียนอมาตรยสมาคม แห่งกรุงเทพฯ แต่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วาย เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ” ปัจจุบัน ไว เอ็ม ซี เอ
ที่อนุสรณ์บุญอิต ณ ถนนวรจักร ดาเนินกิจกรรมหลายอย่างสาหรับเยาวชน และมีโรงเรียนกวดวิชา
ภาษาอังกฤษ
เป้ าหมายของสมาคม
- สนับสนุนบุคคลให้วิวัฒนาความเชื่อในการดาเนินชีวิตประจาวันตามคาสอนของพระเยซู
- สนับสนุนบุคคลให้ยึดถือหลักความเสมอภาค ให้ซาบซึ้งถึงความจาเป็นที่จะต้องช่วยเหลือผู้อื่น
- สนับสนุนบุคคลให้วิวัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง การนับถือตนเอง และการให้เกียรติแก่ค่าของ
ตนเอง
- วิวัฒนาการเป็นผู้นาที่มีสมรรถภาพและประสิทธิภาพ และช่วยบุคคลเหล่านี้ให้มีโอกาสที่จะ
ปฏิบัติการ และสาแดงทักษะแห่งการเป็นผู้นา โดยทางกิจกรรมและโครงการของสมาคม
- ส่งเสริมกิจกรรมที่เตรียมไว้สาหรับพัฒนาสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจให้ดีขึ้น
- ช่วยบุคคลให้วิวัฒนาประสิทธิภาพทางอาชีพและบุคลิกลักษณะเพื่อเป็นสมาชิกของสังคมที่มี
ประโยชน์
- ร่วมมือกับองค์การและหน่วยของทางราชการ หรือเอกชนทางการศึกษา การศาสนา และการ
สังคม
หลักและปรัชญาของ ไว เอ็ม ซี เอ ที่ยึดถือได้แก่
“ All of the Bangkok Y.M.C.A. programs are operated according to the needs of the members
and community, for the purpose PERSONALITY. development, the growth of BODT, MIND and
SPIRIT with emphasis on LEADERSHIP and MORAL development.”
สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ วรจักร
สมาคมไว เอ็ม ซี เอ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 100 ถนนวรจักร อาเภอป้ อมปราบ – กรุงเทพฯ กิจกรรมที่จัด
ตลอดปีมีประเภทต่าง ๆ ดังนี้
1. กีตาร์ ได้รับความสนใจจากสมาชิกมาก จึงได้เปิดชั้นเรียนตลอดปี
2. ลีลาศ เป็นกิจกรรมที่สมาชิกสนใจเรียนมากเช่นกัน
3. ทาอาหารและขนม
4. ทาดอกไม้ประดิษฐ์
สมาคมไว เอ็ม ซี เอ สาธรใต้
สมาคมไว เอ็น ซี เอ ได้มีสถานที่ตั้งขึ้นเนื่องจาก แหม่มอีมีลี่ คอนลินส์ ได้แลเห็นคุณประโยชน์ของ
สมาคม และมีจิตศรัทธาในอันที่จะช่วยเหลือการศึกษาแก่เยาวชน จึงได้ยกกรรมสิทธิ์ อาคาร และสถานที่
ของโรงเรียนเซนต์แมรี่ ซึ่งตั้งอยู่ ณ เลขที่ 27 ถนนสาธรใต้ อาเภอยานนาวา กรุงเทพฯ ให้เป็นสมบัติของ
สมาคมโดยสมบูรณ์ สมาคมได้จัดอนุสรณ์ คอลลิน์ เป็นหอพักนักเรียน และใช้ประโยชน์ตามความ
มุ่งหมายอันดีเลิศของผู้บริจาคตราบเท่าทุกวันนี้
หอพัก ไว เอ็ม ซี เอ ได้ขยายกิจการก่อสร้างอาคารทับสมัยเป็นหอพักนานาชาติ สาหรับชาวไทย
และชาวต่างประเทศ ประกอบด้วยห้องพักปรับอากาศ จานวน 59 ห้อง
กิจกรรมที่ศูนย์สาธรใต้
กิจกรรมประจาที่ผู้สนใจ เรียงตามลาดับคือ
1. กีตาร์ 2. ตัดเสื้อ
3. ยูโด 4. ลีลาศ
5. สนทนาภาษาอังกฤษ 6. เทควันโด
7. บาสเกตบอล 8. เทนนิส
9. ดนตรีไทย 10. ราไทย
11. ปิงปอง และกีฬาในร่มต่าง ๆ
กิจกรรมที่จัดเป็นครั้งคราว ในเวลาปิดเทอม และโอกาสเทศกาลต่าง ๆ ก็มีผู้สนใจเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะกวดวิชาภาษาอังกฤษ คานวณ การอบรมนวด สนทนาภาษาญี่ปุ่น ทาอาหาร มวยไทย สนทนา
ภาษาเยอรมัน ตลอดจนงานรื่นเริงต่าง ๆ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างเยาวชนนานาชาติกับเยาวชนไทย โดยกลุ่มวิเทศ
สัมพันธ์ ได้ต้อนรับเยาวชนจากหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อเมริกา เดนมาร์ค ฯลฯ ซึ่งได้รับ
ความสาเร็จการสร้างสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และวัฒนธรรมเป็นอันดี
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ไว เอ็ม ซี เอ (PITNESS CLUB)
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ไว เอ็ม ซี เอ จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นสถานที่ออกกาลังกายของ
ชาย – หญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ได้มีโอกาสเสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกายให้มีทรวดทรงสวยงาม
แข็งแรง สมบูรณ์ เพื่อจะทางานใด ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเจ้าหน้าที่ ชาย –หญิง ที่ชานาญงาน
คอยดูแลแนะนาตลอดเวลา
ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพมีบริการและเครื่องมือทันสมัย คือ
- ห้องออกกาลังกายปรับอากาศ ( AIR-CONDITIONED GYMNASIUM )
- อุปกรณ์การออกกาลังกาย ( EXERCISE EQUIPMENTS )
- ห้องอบไอน้า (STREAM ROOM )
- สระว่ายน้า ( 25 METERS SWIMMING POOL)
- ห้องอาบน้า ( HOT & COLD SHOWER )
- ห้องพักผ่อน ( AIR-CONDITIONED LOUNGE )
- บริการนวด ( MASSAGE )
- บริการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย ( PHYSICAL FITNESS TEST )
สระว่ายน้า
สระว่ายน้าของสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ ได้เปิดดาเนินงานเพื่อบริการสมาชิกมาตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2517 เปิดบริการให้สมาชิกมาใช้สระแล้วยังมีกิจกรรมอื่น ๆ อีก
- อบรมผู้นาในการสอนว่ายน้า
- การสอนว่ายน้าตามหลักสูตรของสมาคม มีผู้ผ่านการเรียนว่ายน้าขั้นเบื้องต้น ชั้นปานกลาง และ
ชั้นดี
- การอบรม LIFE – SAVING AND LIFE – GUARD
- การสอนดาน้า ( SCUBA DIVING )
- การสอนว่ายน้าสาหรับคุณแม่และเด็กอ่อน อายุ 1 – 4 ขวบ
ทางสระว่ายน้าได้คานึงถึงความปลอดภัยและความสะดวกแก่ผู้มาใช้สระ โดยมีเจ้าหน้าที่ประจา
ครูสอนว่ายน้า และ LIFE-GUARD คอยดูแลให้คาแนะนาตลอดเวลา
ค่ายกลางวัน (ในเมือง)
ค่ายกลางวัน ได้จัดมาเป็นปีที่ 12 มีลักษณะเป็นค่ายในเมืองแบบเช้าไปเย็นกลับ จัดที่สมาคม
ถนนสาธรใต้ ได้รับความสนใจจากเด็ก ๆ ที่อายุไม่เกิน 11 ปี มากกว่าเด็กโต การจัดผู้นาหรือพี่เลี้ยงได้เปิด
โอกาสให้ผู้ที่อยากทดลองเป็นผู้นา ได้มีโอกาสร่วมดูแลเด็กด้วย โดยคัดเลือกจากชาวค่ายเก่า ๆ ที่มีอายุ
ประมาณ 16 – 18 ปี
กิจกรรมของค่ายกลางวันส่วนมก คล้ายคลึงกับค่ายพักชายทะเล และได้เพิ่มบางสิ่งบางอย่าง
เพื่อให้เหมาะสม เช่น การแสดงละคร งานออกร้าน เยี่ยมชมเรือรบหลวงมงกุฎราชกุมาร โรงงานทาแก้ว
บริษัทรองเท้าบาจา กองตารวจดับเพลิง สวนสัตว์ ฟาร์มจระเข้ ท้องฟ้ าจาลอง เป็นต้น
อนึ่ง มีเด็กกาพร้าและเด็กยากจนจานวนมากไม่สามารถเสียค่าบารุงค่ายได้ ทางสมาคมจึงได้จัด
“ เดินการกุศล ” เพื่อหาทุนอุดหนุนให้เด็กเหล่านี้มีโอกาสร่วมกิจกรรมค่ายกลางวันได้
ค่ายพักแรมเยาวชนภาคฤดูร้อน
เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้การดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น พัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เป็นผู้นาที่ดี มี
ประสิทธิภาพ และเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และร่วมมือกับผู้ปกครองในการอบรม
ลูกหลานให้เป็นผู้สามารถพึ่งตนเองได้ สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ จึงได้จัดกิจกรรมค่ายพักแรมสาหรับเยาวชน
ชาย หญิง อายุตั้งแต่ 10-18 ปี เป็นประจาทุกปีในระหว่างปิดเทอมภาคฤดูร้อน ณ ค่ายชายทะเล บางละมุง
จังหวัดชลบุรี
กิจกรรมค่ายพักแรมได้เป็นกิจกรรมเพื่อการศึกษา นอกเหนือไปจากสันทนาการและให้โอกาสชาว
ค่ายได้เลือกกิจกรรมที่ตนเองชอบ และได้พยายามสร้างความสนใจในกิจกรรมที่จะช่วยการพัฒนาเยาวชน
ซึ่งเยาวชนเหล่านี้มาจากครอบครัวหลายระดับ รวมทั้งเยาวชนจากสถานเลี้ยงเด็กกาพร้าหลายแห่ง
กิจกรรมนันทนาการ ในขณะที่อยู่ค่ายพักแรม ได้แก่ ว่ายน้า กรรเชียงเรือ ยิงธนู ยิงปืน การฝีมือ ธรรมชาติ
ศึกษา การตั้งค่ายพัก เดินทางไกล เกมส์ ร้องเพลง ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งจะเห็นว่า กิจกรรม ไว เอ็ม ซี เอ เป็น
แหล่งนันทนาการที่น่าสนใจอีกประเภทหนึ่ง
นันทนาการ : หาดทราย และธรรมชาติทางทะเลของไทย
ในปัจจุบัน แหล่งนันทนาการ หรือสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่นิยมสาหรับประชาชนทั้งในประเทศ
และนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ได้แก่ หาดทราย ชายทะเล ซึ่งประเทศไทยมีสิ่งเหล่านี้มากมาย และ
สวยงามเป็นหนึ่งในทวีปเอเชีย และเป็นที่กล่าวขวัญของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป ถือว่า หาดทราย ชายทะเล
ย่านฝั่งทะเลอันดามัน และอ่าวไทย เป็นเสมือนสวรรค์แห่งการพักผ่อนหย่อนใจเลยทีเดียว สาหรับจังหวัด
ต่าง ๆ ของประเทศไทยมีทิวทัศน์ชายหาด ทะเล และธรรมชาติริมฝั่งมี 18 จังหวัด ซึ่งมีแหล่งนันทนาการ
ระดับในประเทศ และระดับนานาชาติรวมมากกว่า 200 แห่ง เพื่อให้ท่านได้มีโอกาสได้ศึกษาพักผ่อน
หย่อนใจ หรือมีทางเลือกกิจกรรมนันทนาการ จังขอเสนอจังหวัดและแหล่งนันทนาการ หาดทราย และ
ธรรมชาติทางทะเลของประเทศดังนี้
ภาค/ตะวันออก หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล
ภาคตะวันออก
1. ชลบุรี 1. หาดบางแสน 2. หาดผาแดง
3. บางเสร่ 4. เกาะสีชัง
5. ศรีราชา 6. แหลมฉะบัง
7. หาดจอมเทียน 8. หาดพัทยา
9. อ่างดงตาล 10. สัตหีบ
2. ระยอง 1.เกาะเสม็ด – เขาแหลมหญ้า 2. หาดทรายแก้ว
3. หาดแม่ราพึง 4. อ่าวช่อ
5. เกาะเสก็ดเพชร 6. หาดสวนสน
7. บ้านเพ รีสอท 8. วังแก้ว
9. หาดแม่พิมพ์ 10. หาดอ่าวพร้าว
11. เกาะมัน
3. จันทบุรี 1. หาดคุ้งพิมาน 2. แหลมเสด็จคุ้งกระเบ็น
3. แหลมสิงห์ 4. อ่าวกระทิง
ภาค/จังหวัด หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล
ภาคตะวันออก
4. ตราด 1. หมู่เกาะช้าง 2. เกาะตราด
3. หาดทรายงาม 4. หาดทับทิม
5. เกาะปุย 6. อ่าวตาลคู่
7. แหลมงอบ 8. เกาะกูด
9. หาดไม้รูด 10. หาดชะอา
ภาคใต้
1. เพชรบุรี 1. หาดชะอา 2. หาดเจ้าสาราญ
2. ประจวบคีรีขันธ์ 1. หาดหัวหิน 2. หาดสวนสน
3. อ่าวประจวบ 4. หาดค่าซ่า ชาลี
5. เขาสามร้อยยอด 6. หาดบางสะพาน
3. ชุมพร 1. เกาะไก่ 2. อ่าวโบแมค
3. อ่าวทุ่งว่าเลน 4. หาดภราดรภาพ
5. หาดทรายรี 6. อ่าวทุ่งตะโก
7. เกาะเต่า 8. หาดอรุโณทัย
4. สุราษฎร์ธานี 1. เกาะสมุย 2. หมู่เกาะอ่างทอง 3. เกาะพะงัน 4. เกาะเต่า
5. เกาะนางยวน
5. นครศรีธรรมราช 1. หาดหินงาม 2. หาดนายเพลา 3. ชายทะเลปากพนัง
4. แหลมตะลุมพุก 5. อุทยานแห่งชาติเขาหลวง 6. หาดสีชล
7. หาดขนอม
6. ปัตตานี 1. หาดปาตาติมอ 2. หาดแฆแฆ
3. หาดชวาลัย 4. หาดพะแน
5. หาดปะนาเระ
ภาค/จังหวัด หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล
ภาคใต้
7. นราธิวาส 1.หาดบางนราทัศน์
8. สงขลา 1. หาดสมิหลา 2. หาดเก้าเส็ง
3. เขาน้อยและเขาตัวกวน 4. อุทยานนกน้า
5. ทะเลสาบสงขลา
9. ระนอง 1. ปากน้าระนอง2. หาดชาญดาริ
3. หาดส้มแป้ น 4. เกาะพยาม
5. อุทยานแห่งชาติแหลมสน 6. เกาะค้างคาว
7. เกาะกาใหญ่ 8.เกาะกาน้อย
10. พังงา 1. ป่าเก้ารัก 2. หมู่เกาะสุรินทร์
3. อุทยานสมิหรา 4. เกาะปันหยี
5. อ่าวพังงา 6. ชายทะเลท้ายเหมือง 7. ชายทะเลเขาปิหลาย 8. หมู่เกาะสิมิลัน
11. ภูเก็ต 1. หาดทรายรอบเมืองภูเก็ต 2. หาดราไวย์
3. เกาะโล้น 4. เกาะยี
5. เกาะไม้ท่อน 6. เกาะราชาใหญ่
7. เกาะแก้วพิสดาร 8. หาดสุรินทร์
9. แหลมพรหมเทพ 10. แหลมสิงห์
11. อ่าวป่าตอง 12. อ่าวตะกะ
13. อ่าวกะรน 14. หาดไม้ยาว
15. อ่าวกมลา
12. กระบี่ 1. หาดนพรัตน์ ธารา 2. อ่าวพระนาง
3. สุสานหอยล้านปี 4. เกาะ พี พี เล
5. เกาะลันดา 6. เกาะไหง
7. เขาขนาบน้า
ภาค/จังหวัด หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล
ภาคใต้
13. ตรัง 1. หาดปากเม้ง 2. เกาะชาวใหม่
3. เกาะตะไลบ้อง 4. อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม
5. ทะเลปะเหลียน 6. หาดเจ้าสาราญ
7. หาดตะเลา 8. ทะเลกันตัง
9. เกาะสุกร 10. เกาะมุก
14. สตูล 1. หมู่เกาะตะรุเตา 2. หมู่เกาะอาดังราวี
3. อุทยานแห่งชาติทะเลบัน
ข้อคิด แหล่งนันทนาการประเภทหาดทรายและธรรมชาติทางทะเล เป็นทรัพยากรที่สาคัญอย่าง
ยิ่งของประชากรโลก เป็นสถานที่สาธารณะ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคนพึงตระหนักในเรื่อง
ของการอนุรักษ์ และธารงไว้ให้สืบทอดต่อไป รวมทั้งช่วยกันรักษาความสะอาด รักษาสภาวะแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ และช่วยกันป้ องกัน และต่อต้านการเอารัดเอาเปรียบของคนที่มุ่งประโยชน์ส่วนตน บุกรุก และ
ทาลายธรรมชาติ
แหล่งสงวนพันธ์นกในประเทศไทย
แหล่ง ชนิด
1. บางปู สมุทรปราการ นกนางนวล นากชายทะเล
2. อ่างเก็บน้าบางพระอุทยานสัตว์ป่าเขาเขียว, ชลบุรี นกเป็ดน้า นกชนิดต่าง ๆ
3. ดอยอินทนนท์, เชียงใหม่ นกป่าเขาชนิดต่าง ๆ
4. ดอยปุย, เชียงใหม่ นกป่าเขาชนิดต่าง ๆ
5. เขาใหญ่, นครราชสีมา นกชนิดต่าง ๆ มากกว่า 100 ชนิด
6. เขาสามร้อยยอด, ประจวบคีรีขันธ์ นกนางนวล, นกชายทะเล
7. วนอุทยานแห่งชาติเอราวัณ กาญจนบุรี นกป่า, เหยี่ยว, อินทรีย์
8.ทะเลน้อย, พัทลุง นกทะเลชนิดต่าง ๆ
9. วัดไผ่ล้อม, ปทุมธานี นกป่าใหญ่, นกกินปลา ฯลฯ
ข้อคิด ประเทศไทยมีธรรมชาติ ป่าเขา และต้นน้าลาธาร ที่เอื้ออานวยให้อาศัยอยู่เป็นจานวนมาก ทั้งสัตว์
ป่าหายาก ซึ่งนับวันแต่จะสูญพันธ์ไปอย่างรวดเร็ว แหล่งสงวนพันธ์นก (BIRD SANCTUARY) เป็นแหล่ง
นันทนาการอีกประเภทหนึ่งที่ทาให้มนุษย์ได้มีโอกาสศึกษา เสริมสร้างประสบการณ์ใกล้ชิดกับธรรมชาติ
ฝูงนกชนิดต่าง ๆ และการสร้างอาณาจักรที่อยู่อาศัย การอพยพของฝูงนกจากถิ่นเมืองหนาวมาเขตเมือง
ร้อนของประเทศไทย แหล่งสงวนรักษาพันธ์นกของประเทศไทย มีอยู่บริเวณทุกภาคของประเทศไทย
ตั้งแต่เชียงใหม่ถึงพัทลุง ซึ่งเป็นสถานที่นันทนาการอีกแหล่งหนึ่ง เปลี่ยนบรรยากาศจากธรรมชาติพันธุ์ไม้
ป่าเขา เป็นนกรวมกลุ่ม และนกพันธุ์หาดูได้ยาก ประชาชนน่าจะได้มีโอกาสศึกษาเรียนรู้และช่วยกัน
อนุรักษ์ธรรมชาติชนิดนี้ รวมทั้งควรจะมีเจ้าหน้าที่ของรัฐให้การคุ้มครอง และทาเอกสารแนะนาส่งเสริม
การศึกษา และอนุรักษ์
โรงแรมที่พักมาตรฐานในกรุงเทพมหานคร
ในปีพ.ศ. 2531 ทาง ททท. ได้สารวจโรงแรและที่พักของนักท่องเที่ยวที่มีความจาเป็นมาตรฐานใน
เรื่องสิ่งอานวยความสะดวก และความปลอดภัย ได้พบว่า มีโรงแรมใน กทม. จานวน 94 แห่ง แยกประเภท
เป็นระดับต่าง ๆ ได้ 4 ประเภท นอกจากนี้ยังมีเกส์ทเฮ้าส์ และอพาร์ทเมนต์อีก 38 แห่ง
ประเภทที่ 1 โรงแรมระดับหรูหรา ( LUXUBY CLASS ) มีอยู่ 25 แห่ง มีจานวนห้องตั้งแต่ 265 -1,050
ห้อง ชื่อ ที่อยู่ จานวนห้องพัก ราคา/บาท/วัน
แอมบาสซาเดอร์สุขุมวิท 13 1,050 1,200 - 50,000
รอแยลออร์คิด สี่พระยา 780 1,900 – 15,000
แม่น้า ยานนาวา 727 1,500 – 10,000
แชงกรีล่า ถ. เจริญกรุง 697 2,250 – 34.000
บางกอกพาเลซ เพชรบุรีตัดใหม่ 650 1,200 – 5,400
เอเชีย ราชเทวี/พญาไท 640 1,600 – 12,000
ไฮแอทเซ็นทรัลพลาซ่า พหลโยธิน/ลาดพร้าว 607 1,700 – 88,000
มณเฑียร สุริวงก์ 600 1,800 – 12,000
ดิ โอเรียนเต็ล ถ. โอเรียนเต็ล 398 3,100 – 40,000
สยามอินเตอร์คอนติเนลตัล สยามสแควร์ 400 2,400 – 25,000
เดอะ รีเจน บางกอด ราชดาริ 410 2,400 – 30,000
ฮิลตัลอินเตอร์เนชั่นแนล เพลินจิต 389 2,270 – 21,600
ชื่อ ที่อยู่ จานวนห้องพัก ราคา/บาท/วัน
ตะวันนา รามาดา สุริวงค์ 265 1,540 – 11,000
ดุสิต ธานี สีลม 525 2,340 – 5850
ดิ อิมพิเรียล เพลินจิต 400 2,210 – 9,360
นอกจากนี้ก็มี โรงแรมแอร์พอร์ต อินทรารีเจนท์ เดอะแลนด์มาร์ค แมนดาริน แมนฮัตตัน สีลม
พลาซ่า นารายณ์ รามา การ์เดน โนโวเต็ล
ประเภทที่ 2
ได้แก่ โรงแรมที่มีความเป็นมาตรฐานดี (4 ดาว) เป็นโรงแรมชั้นหนึ่ง ซึ่งมีห้องตั้งแต่ 120 – 362
ห้องพัก ราคาตั้งแต่ 800 – 32,000 บาท ต่อคืน มีอยู่ 8 โรงแรม ได้แก่
โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร์ ถนนพระรามสี่
พลาซ่า ถนนสุริวงค์
เฟิสท์ ถนนเพชรบุรี
อิมพาล่าถนนสุขุมวิท 9
มโนราห์ถนนสุริวงค์
ราชา ถนนสุขุมวิท 18
ทาวเวอร์อินน์ ถนนสีลม
วินเซอร์ ถนนสุขุมวิท 18
ประเภทที่ 3 ได้แก่โรงแรมที่มีมาตรฐานปานกลาง (4 ดาว) เป็นโรงแรม 3 ดาว ตั้งแต่ 66 – 334 ห้อง ราคา
ตั้งแต่ 400 – 3,333 บาทต่อคืน มีจานวน 29 แห่ง ได้แก่ โรงแรมบารอนเซ็นจูรี, คอมฟอร์ทอินท์, คอน
ติเนตัล, เฟเดอรัล, ฟลอริด้า, ฟอร์จูน่า, โกลเด็นดราก้อน, โกนเด็ล ฮอส เกรซ, ลิเบอร์ตี้, แมเจสติก, มิโด้, มิ
รามาร์, นิวฟูจิ, นิวนานา, นิว เพนนินซูล่า, นิว ทร็อคกาเดร์ ปาร์ค, ราชศุภมิตร, เร็กซ์, ริวเวอร์ไซด์ พลาซ่า,
โรส รอยัล, สยามไทย, เวียงใต้, วิตเตอรี่ ไวท์อินน์ วาย เอ็ม ซี เอ
ประเภทที่ 4 ได้แก่โรงแรมที่ราคาประหยัดสาหรับนักท่องเที่ยวประเภท 1 และ 2 ดาว ราคาตั้งแต่ 120
บาทขึ้นไป มี 20 แห่ง ได้แก่ แอตแลนต้า, บูรพา คราวน์ โกลเด็นเกท, โกลเด็นพาเลซ ฮันนี กรุงไทย,
มาเลเซีย, เมอร์เมทอินท์, เมโทร, ไมอามี่, มรกต, นิวเอ็มไพร์, โอเปร่า, นิวศรีพระนคร, ไนแองการ่า, นิตย์
เจริญสุข, พาเลียเม้นท์ ปรินซ์, ไพรเวซี่, ราชาพาเลซ รามาดา, รีโน, สตาร์, รอเยลพลาซ่า, สมบูรณ์,
ซุปเปอร์, สุริวงค์, สวอน, เวิลด์
ข้อควรทราบสาหรับนักท่องเที่ยว
1. ผู้เดินทางไปต่างประเทศ
1.1 การแจ้งนาของใช้ส่วนตัวออกไปต่างประเทศ ถ้าต้องการนาของใช้ส่วนตัวติดต่อออกไป
ระหว่างการเดินทาง เช่น กล้องถ่ายวิดีโอ กล้องถ่ายรูป วิทยุ-เทป ฯลฯ และประสงค์จะนากลับเข้ามา
ภายในประเทศ จะต้องแจ้งแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรเพื่อสิทธิในการยกเว้นภาษีอากร ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
- เป็นของเก่าใช้แล้วและมีจานวน/ปริมาณพอสมควรแก่ฐานะ
วิธีปฏิบัติ นาบัตรที่นั่งบนเครื่องบิน หนังสือเดินทาง ตั๋วโดยสาร และของที่จะนาติดตัวออกไป
แสดงและแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ที่ทาการศุลกากร (ขาออก) ประจาท่าอากาศยานกรุงเทพ
คาเตือน ของที่มิใช่ของใช้ส่วนตัว โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเพื่อนาไปปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรก่อน
การเดินทาง
1.2 ของต้องห้ามในการนาออกนอกราชอาณาจักร
- ยาเสพติดให้โทษ
- วัตถุระเบิด
1.3 ของต้องจากัด หมายถึง ของบางชนิดที่มีกฎหมายควบคุมการส่งออก ผู้ที่ประสงค์จะนาเข้า
หรือส่งออกไป ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากส่วนราชการที่เกี่ยข้อง และนามาแสดงต่อเจ้าหน้าที่
ศุลกากรในขณะนาออกด้วย เช่น
- พระพุทธรูป ศาสนวัตถุ โบราณวัตถุ (กรมศิลปากร)
- สัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์เลี้ยง เช่น นก ลิง แมว ฯลฯ (กรมป่าไม้หรือกรมปศุสัตว์)
- พันธ์พืช เช่น ทุเรียน ลาไย ฯลฯ (กรมวิชาการเกษตร)
2. การนาเงินไทย เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยกาชาระเงินตราต่างประเทศออกไปนอกราชอาณาจักร
2.1 เงินไทย
- ผู้เดินทางไปต่างประเทศ คนละ 500 บาท ครอบครัวละ 1,000 บาท
2.2 เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศ
- ผู้เดินทางไปต่างประเทศคนละ 1,000 เหรียญสหรัฐฯ ครอบครัวละ 2,000 เหรียญสหรัฐฯ
หรือมูลค่าเทียบเท่า
- ผู้เดินทางผ่าน (TRANSIT PASSENGER) หรือผู้ที่เข้ามาในราชอาณาจักรชั่วระยะเวลาที่
กาหนดในตั๋วเดินทางผ่าน หรือตั๋วเดินทางไป-กลับ คนละ 1,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือมูลค่าเทียบเท่า
หมายเหตุ ผู้เดินทางผ่านฯ ที่นาเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามูลค่าเกินกว่า 10,000 เหรียญสหรัฐฯ
และประสงค์จะนากลับออกไปต้องแจ้งแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรในวันที่เดินทางเข้ามาถึงประเทศไทย
2.3 การขออนุญาตนาเงินตราต่างประเทศ หรือปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศออกไปนอก
ราชอาณาจักร
- ผู้เดินทางต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย โดยขออนุญาตผ่านธนาคาร
พาณิชย์ทั่วราชอาณาจักร
3. ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศ
การนาเงินไทย เงินตราต่างประเทศ และปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศเข้ามาใน
ราชอาณาจักร
3.1 เงินไทย
- คนละ 2,000 บาท
- ครอบครัวละ 5,000 บาท
3.2 เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศ
- ผู้เดินทางผ่าน นาเข้าได้โดยไม่จากัดมูลค่า
- คนไทยหรือผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหากนาเงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชาระ
เงินตราต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องขายให้กับธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารรับอนุญาต
หรือบุคคลรับอนุญาตภายใน 7 วัน นับแต่วันที่เดินทางเข้ามา
หมายเหตุ สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการนาเงินตราฯ เข้า-ออกนอกราชอาณาจักร ได้ที่ธนาคาร
พาณิชย์ทุกแห่งและจากเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ท่าอากาศยานกรุงเทพ โทร. 5237332 , 5236201 ต่อ
153,269
4. การนากระเป๋ า สัมภาระให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจ เมื่อเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร
4.1 ผู้เดินทางต้องกรอกรายการในแบบสาแดงสิ่งของติดตัวผู้โดยสาร ก่อนนากระเป๋ าสัมภาระ
ผ่านเจ้าหน้าที่ศุลกากร
4.2 ผู้ที่ไม่มีของต้องเสียภาษีอากรของต้องห้ามของต้องจากัด ให้ยื่นแบสาแดงสิ่งของติดตัว
ผู้โดยสารแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรในช่องเขียว ซึ่งมีป้ ายเขียนไว้ว่า ไม่มีของต้องสาแดง
4.3 ผู้ที่มีของต้องเสียภาษีอากรของต้องห้ามของต้องจากัด หรือไม่แน่ใจว่าของที่นาเข้ามานั้นต้อง
เสียภาษีอากรหรือไม่ ให้ยื่นแบบสาแดงสิ่งของติดตัวผู้โดยสารแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรในช่อง แดง ซึ่งมีป้ าย
เขียนไว้ว่า มีของต้องสาแดง
คาเตือน ผู้ลักลอบนาของต้องเสียภาษีอากรของต้องห้ามหรือของต้องจากัด ผ่านออกทางช่องเขียว
นอกจากจะถูกริบสิ่งของแล้ว อาจจะต้องถูกปรับ 4 เท่าของราคาสิ่งของรวมค่าภาษีอากร
5. ของยกเว้นภาษีอากรขาเข้า
- บุหรี่ไม่เกิน 200 มวน หรือซิการ์และยาเส้นน้าหนักไม่เกิน 250 กรัม
- สุรา 1 ลิตร
- ของใช้ส่วนตัวพอสมควรแก่ฐานะ
- ของใช้บ้านเรือนเก่าใช้แล้วที่จะนาเข้ามาพร้อมกับตน เนื่องจากย้ายภูมิลาเนา
6. ของต้องห้าม ต้องจากัดในการนาเข้า
6.1 ของต้องห้าม คือ ของที่ไม่อนุญาตให้นาเข้าโดยเด็ดขาด เช่น
- วัตถุลามก สิ่งพิมพ์ลามก
- ยาเสพติดให้โทษ
6.2 ของต้องจากัด คือ ของที่ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องก่อนนาเข้า
มาเช่น
- เครื่องรับ-ส่งวิทยุคมนาคมและส่วนประกอบ (กรมไปรษณีย์โทรเลข)
- อาวุธปืน กระสุนปืน (กรมตารวจ)
- พืชและส่วนต่าง ๆ ของพืช (กรมวิชาการเกษตร)
- สัตว์และซากสัตว์ (กรมปศุสัตว์)
- เครื่องสาอางสาเร็จรูป (กระทรวงสาธารณสุข)
- สัตว์น้า (กรมประมง)
- ฯลฯ
7. อัตราภาษีอากรสาหรับของนาเข้าบางชนิดเป็นอัตราภาษีอากรรวมโดยประมาณ
ชนิดของ อัตราภาษีอากร
เครื่องรับวิทยุ – เทป 70% ของราคา
เครื่องรับโทรทัศน์ 80% ของราคา
เครื่องเล่นวีดีโอ 70% ของราคา
กล้องถ่ายวีดีโอ 20% ของราคา
ของเด็กเล่น 60% ของราคา
ชนิดของ อัตราภาษีอากร
กล้องถ่ายรูป 25% ของราคา
เสื้อผ้าสาเร็จรูป 80% ของราคา
เครื่องประดับ 80% ของราคา
กระเป๋ า รองเท้า เข็มขัดหนัง 125% ของราคา
เครื่องสาอางสาเร็จรูป 110% ของราคา
ฯลฯ
หากมีข้อสงสัย หรือต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อสอบถาม ได้จากเจ้าหน้าที่
ศุลกากรหรือทีทาการศุลกากรทุกแห่ง หรือที่
ด่านศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ โทร. 5237474
ฝ่ายตรวจของผู้โดยสาร โทร. 5237332
งานประชาสัมพันธ์ กรมศุลกากร โทร. 2494148
ที่มา กรมศุลกากร
ที่พักอาศัยในอุทยานแห่งชาติ
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจโดยอาศัยธรรมชาติระดับใหญ่ที่สุด ได้แก่ อุทยานแห่งาติ (NATIONAL
PARK) ในปัจจุบันกรมป่าไม้ กองอุทยานแห่งชาติ ได้ประกาศเขตอุทยานแห่งชาติจานวน 59 แห่ง ใน
จานวนนี้มีอุทยานแห่งชาติ 25 แห่ง ที่มีสิ่งอานวยความสะดวก ทีพักอาศัย สาหรับพักค้างแรม เช่น
บังกะโล ค่ายพักแรม สถานที่ตั้งเต็นท์พักแรมและโรงแรม ดังรายละเอียด ดังนี้
อุทยานแห่งชาติ ระยะทางจากกทม. ที่พัก
(กิโลเมตร) บังกะโล ที่ตั้งแคมป์
1. เขาใหญ่ นครราชสีมา 250 19
ปราจีนบุรี
สระบุรี
นครนายก
อุทยานแห่งชาติ ระยะทางจากกทม. ที่พัก
(กิโลเมตร) บังกะโล ที่ตั้งแคมป์
2. เขาชะเมา ระยอง 296 7
3. หมู่เกาะอ่างทอง สุราษฎร์ธานี 885 5
4. ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ 767 5
5. เขาสามล้าน สระบุรี 113 2
6. รัตนโกสินทร์ กาญจนบุรี 225 12
7. อ่าวพังงา พังงา 719 -
8.รามกาแหง สุโขทัย 450 1
9. เอราวัณ (เขาสลอบ) กาญจนบุรี 190 5
10. เขาสามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ 300 5
11. เขาคิชกูฎ จันทบุรี 350 5
12. ตะรุเตา สตูล 1,300 12
13. ไทรโยค กาญจนบุรี 210 11
14. ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก,เพชรบูรณ์ 610 4
15. ภูเรือ เลย 610 8
16. ดอยขุนตาล ลาพูน 683 11
17. ลานสาง ตาก 430 1
18. ภูพาน สกลนคร 570 -
19. ทะเลบัน สตูล 1,310 10
20. เขาหลวง นครศรีธรรมราช 1,230 5
21. น้าหนาว เพชรบูรณ์,ชัยภูมิ 439 9
22. ภูกระดึง เลย 444 16
23. แก่งกระจาน เพชรบุรี 200 6
24. เขาสระบาป จันทบุรี348 5
25. ตานโตน ชัยภูมิ 350 3
หมายเหตุ : 1. ราคาบังกะโล แตกต่างกันในอุทยานแห่งชาติประมาณตั้งแต่ 200-1,200 บาทต่อคืน
. 2. ราคาค่าบริการในการตั้งแคมป์ คิดคนละ 5 บาทต่อคืน
3. การติดต่อจองที่พัก ควรติดต่อโดยตรงที่กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ถนนพหลโยธิน
กทม. โทร 579-0529
4. ในจานวนอุทยานแห่งชาติ 59 แห่ง มีอุทยานเพียง 25 แห่งที่มีการจัดการเรื่องที่พัก การตั้ง
ค่ายพักแรมทาง กองอุทยานแห่งชาติมีความจาเป็นอย่างรีบด่วนที่จะจัดบริการสิ่งอานวยความสะดวกทุก
อุทยาน
สนามกีฬากอล์ฟทั่วประเทศไทย
กีฬากอล์ฟเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากในระดับชาติ จัดว่าเป็นกีฬาสาหรับผู้เล่นที่มีสถานะทาง
เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมสูง กีฬาประเภทนี้จะมีการลงทุนสูงในเรื่องของสิ่งอานวยความสะดวก
อาคารสถานที่ อุปกรณ์ เจ้าหน้าที่ พนักงานการจัดเวลาการเล่นการฝึกซ้อม และค่าบริการ เป็นต้น จาก
การรวบรวมรายชื่อสนามกอล์ฟในประเทศไทย ในปี 2531 มีสนามกอล์ฟทั่วประเทศ 24 สนาม เป็นสนาม
ขนาด 9 หลุม จานวน 4 แห่ง และขนาด 27 หลุม 1 แห่ง อีก 19 แห่งเป็นสนามกอล์ฟ 18 หลุม ดังนี้
ชื่อสนามกอล์ฟ บริเวณที่ตั้ง ขนาด 9 หลุม 18 หลุม 27
หลุม
1. สนามกอล์ฟทหารบก กทม. รามอินทรา
2. กรุงเทพกรีฑากทม. หัวหมาก
3. นวธานีร กทม. สุขาภิบาล
4. ทหารเรือ กทม. บางนา
5. ศูนย์ฝึกการรถไฟ กทม. วิภาวดีรังสิต
6. ราชกรีฑาสโมสร กทม. อังรีดูนัง
7. ดุสิต กทม. พิษณุโลก
8. ทหารอากาศ กทม. ดอนเมือง
9. สนามยูนิโก้ กทม. หัวหมาก
10. เอกชัย สมุทรสาคร
11. สวนสามพราน นครปฐม
ชื่อสนามกอล์ฟ บริเวณที่ตั้ง ขนาด 9 หลุม 18 หลุม 27 หลุม
12. บางพระ ชลบุรี
13. คอหงส์ หาดใหญ่, สงขลา
14. ลานนา เชียงใหม่
15. ยิมคาน่า เชียงใหม่
16. พลูตาหลวง ชลบุรี
17. สยามคันทรีคลับ พัทยา ชลบุรี
18. ทองใหญ่ หาดสมิหลา, สงขลา
19. ภูเก็ต หาดสุรินทร์, ภูเก็ต
20. เขาใหญ่ นครราชสีมา
21. หลวงหัวหิน ประจวบคีรีขันธ์
22. แห่งประเทศไทย บางนา – ตราด
23. เมืองเอก ปทุมธานี
24. ร.ร.นายร้อยพระจุลจอมเกล้า เขาชะโงก, นครนายก

More Related Content

What's hot

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)maneerat
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacityyah2527
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...Mild Warinee
 
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560Orange Wongwaiwit
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริSompop Petkleang
 
ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์
ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์
ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์bboatppaw
 

What's hot (12)

ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-07 (ตรวจครั้งที่1)
 
Worldheritages asean
Worldheritages aseanWorldheritages asean
Worldheritages asean
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
Sukpracha raksutjarit
Sukpracha raksutjaritSukpracha raksutjarit
Sukpracha raksutjarit
 
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
 
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
การอนุรักษ์ปะการังด้วยวิธีการทางกฎหมาย บริเวณอุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู...
 
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
ภาคสนามชั้น 9 ปีการศึกษา 2560
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
 
ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์
ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์
ชีวิตของนักศึกษากับพระราชวังสนามจันทร์
 

Viewers also liked

ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการteaw-sirinapa
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการteaw-sirinapa
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการchonchai55
 
ประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการnok_bb
 
การนันทนาการ
การนันทนาการการนันทนาการ
การนันทนาการChamchang
 

Viewers also liked (17)

บทที่ 12
บทที่ 12บทที่ 12
บทที่ 12
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
บทที่ 17
บทที่ 17บทที่ 17
บทที่ 17
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการใบความรู้ การจัดนันทนาการ
ใบความรู้ การจัดนันทนาการ
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการประวัติศาสตร์นันทนาการ
ประวัติศาสตร์นันทนาการ
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
ประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการประเภทของนันทนาการ
ประเภทของนันทนาการ
 
การนันทนาการ
การนันทนาการการนันทนาการ
การนันทนาการ
 

Similar to บทที่ 16

009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1watdang
 
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57นางสาวอัมพร แสงมณี
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2watdang
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Areayah2527
 

Similar to บทที่ 16 (7)

009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1009.book scout encyclopedia1
009.book scout encyclopedia1
 
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57อ.วนิดา  บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
อ.วนิดา บทที่ 3 (ตำราสารสนเทศท้องถิ่น) 10 july 57
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2010.book scout encyclopedia_2
010.book scout encyclopedia_2
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Area
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 

More from teaw-sirinapa

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการteaw-sirinapa
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการteaw-sirinapa
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการteaw-sirinapa
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการteaw-sirinapa
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการteaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2teaw-sirinapa
 
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1teaw-sirinapa
 

More from teaw-sirinapa (13)

รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1รายงานการประชุมครั้งที่ 1
รายงานการประชุมครั้งที่ 1
 
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมนันทนาการ
 
การจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการการจัดและบริหารนันทนาการ
การจัดและบริหารนันทนาการ
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการสังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
1 สังคมคุณภาพชีวิตและนันทนาการ
 
นันทนาการ
นันทนาการนันทนาการ
นันทนาการ
 
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการประมวลรายวิชา นันทนาการ
ประมวลรายวิชา นันทนาการ
 
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
ปฏิบัติการที่ 10 __ตกแต่งภาพด้วยโปรแกรม_photoshop_ครั้งที่_1
 
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
ปฏิบัติการที่ 13 dreamweaver ครั้ง 2
 
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
ปฏิบัติการที่ 12 dreamweaver ครั้ง 1
 
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
ปฏิบัติการที่ 9 power pointครั้งที่ 2
 
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
ปฏิบัติการที่ 8 power pointครั้งที่ 1
 

บทที่ 16

  • 1. บทที่ 16 แหล่งนันทนาการ: ที่พักอาศัย สถานที่ท่องเที่ยว ค่ายลูกเสือในประเทศไทย ค่ายลูกเสือ ถือว่าเป็นแหล่งทรัพยากรที่จาเป็นและสาคัญสาหรับการลูกเสือและเยาวชน เพราะ จะเป็นแหล่งที่จัดกิจกรรมให้เยาวชนในกลางแจ้งเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้เป็นกิจกรรมสาหรับฝึก เยาวชนให้เป็นผู้มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ ปลูกฝังนิสัยแห่งความสามัคคี รักชาติ รู้จักช่วยเหลือตนเอง ใช้เวลาว่างในการเสริมสร้างลักษณะนิสัย และประสบการณ์ชีวิต และประเทศชาติในยามที่ชาติต้องการ ค่ายลูกเสือใช้เป็นสถานที่จัดดาเนินงานต่อไปนี้ คือ 1. การฝึกอบรมอยู่ค่ายพักแรม 2. ฝึกการทางานด้วยตนเอง 3. ฝึกความสามัคคีและความมีระเบียบวินัย 4. ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ จากลักษณะการดาเนินงานดังกล่าว จะช่วยพัฒนาให้เยาวชนมีความเตรียมพร้อมที่จะเป็น พลเมืองที่ดีของชาติสืบไป โดยเฉพาะการฝึกอบรมค่ายพักแรม ซึ่งเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งของสันทนาการ กิจกรรมเหล่านี้ ได้แก่ การวิ่ง การเดินทางไกล ขึ้นต้นไม้ ว่ายน้า พายเรือ กีฬาประเภทต่าง ๆ และการ เล่นรอบกองไฟ เป็นต้น ซี่งอาจกล่าวได้ว่าค่ายลูกเสือได้ใช้กิจกรรมด้านสันทนาการเป็นสื่อในการพัฒนา เยาวชน และจากความสาคัญดังกล่าวสมาคมหรือคณะลูกเสือทุกประเทศจึงได้พยายามส่งเสริมและ จัดสร้างค่ายลูกเสือขึ้น ประเทศไทยก็เป็นประเทศหนึ่งที่กิจการค่ายลูกเสือเจริญขึ้นอย่างรวดเร็ว และมีอยู่ ครอบคลุมทุกภาคการศึกษา โดยแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้คือ ประเภทของค่ายลูกเสือ 1. ค่ายลูกเสือแห่งชาติ 2. ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 3. ค่ายลูกเสือประจาจังหวัด 4. ค่ายลูกเสือประจาอาเภอ ค่ายลูกเสือแห่งชาติ ค่ายลูกเสือแห่งชาติ คือ “ค่ายลูกเสือวชิราวุธ” ชื่อของค่ายนั้นได้รับพระราชทานพระปรมราขา นุมัติให้ใช้เพื่อเป็นอนุสรณ์ถวายความระลึกในพระมหากรุณาธิคุณแห่งพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้า เจ้าอยู่หัว ผู้พระราชทานกาเนิดลูกเสือไทย ค่ายลูกเสือวชิราวุธ เป็นค่ายลูกเสือที่งดงามและมีบรรยากาศของป่าเขา ที่เป็นธรรมชาติ ที่เป็นที่ ราบอยู่ระหว่างเขาตะแบกและเขาสลาก มีเนื้อที่ทั้งสิ้น 394 ไร่เศษ การวางผังค่ายแบ่งที่ดินออกเป็น 2 ส่วน
  • 2. ส่วนหนึ่งใช้เป็นที่ฝึกอบรมผู้บังคับบัญชาลูกเสือ และอีกส่วนหนึ่งใช้เป็นที่ให้ลูกเสือฝึกการอยู่ค่ายพักแรม โดยมีสนามฝึกและที่เล่นกองไฟ ส่วนสิ่งก่อสร้างต่าง ๆ ในค่ายลูกเสือคือ สิ่งที่สาคัญจริง ๆ เช่น บ้านพัก แหล่งเก็บน้า โรงพัสดุ เรือนพยาบาล ศาลา และ โรงอาหาร เป็นต้น ที่ตั้งของค่ายลูกเสืออยู่ที่ อาเภอ ศรีราชา ซึ่งห่างจากจังหวัดชลบุรี ประมาณ 25 กิโลเมตร ค่ายลูกเสือแห่งชาติ ใช้เป็นแหล่งฝึกลูกเสือ ระดับชาติ และนานาชาติ ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา การศึกษามีทั้งหมด 12 ภาค และค่ายลูกเสือประจาจังหวัดบางครั้งก็เป็นค่ายลูกเสือประจาภาค ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 1 ตั้งอยู่ตาบลทุ่งขวาง อาเภอกาแพงแสน จังหวัดนครปฐม ห่าง จังหวัด 28 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 405 ไร่ ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 2 ชื่อ “ปาโจ” ตั้งอยู่ที่ตาบลบาเจาะ อาเภอบาเจาะ จังหวัด นราธิวาส ห่างจากจังหวัด 30 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 20 ไร่ 2 งาน ค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษา 3 อยู่ที่ตาบลเขารูปช้าง อาเภอเมือง จังหวัดสงขลา มีเนื้อที่ 35 ไร่ เป็นค่ายลูกเสือประจาจังหวัด ซึ่งรวบกับค่ายลูกเสืออาเภอเมือง ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 4 คือค่ายลูกเสือจังหวัดตรัง มีชื่อว่า “ค่ายรัษฎานุประดิศฐ์” ตั้งอยู่ที่ตาบล ช่อง อาเภอเมือง จังหวัดตรัง ห่างจากจังหวัด 20 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 45 ไร ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 5 ตั้งอยู่ที่ตาบลอ่างทอง อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ห่างจากจังหวัด 10 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 500 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 6 ตั้งอยู่ที่ตาบลนิคม อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี อยู่ห่างจากจังหวัด 15 กิโลเมตร มีเนื้อที 700 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 7 ตั้งอยู่ตาบลแก่งโสภา อาเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก อยู่ห่างจาก จังหวัด 45 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 190 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 8 มีชื่อว่า “ห้วยช้างเคี่ยน” อยู่ตาบลช้างเผือก จังหวัดเชียงใหม่ ห่างจาก จังหวัด 8 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 100 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 9 ตั้งอยู่ตาบลหมู่ม่น อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจาก จังหวัด 9 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 35 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 10 ตั้งอยู่ที่ตาบลหนองขอน อาเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี อยู่ห่างจาก จังหวัด 12 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 266 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 11 มีชื่อว่า “อ่างห้วยยาง” ตั้งอยู่ที่ตาบลโคกครวด อาเภอเมือง จังหวัด นครราชสีมา ห่างจากจังหวัด 17 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 1325 ไร่ ค่ายลูกเสือภาคการศึกษา 12 ตั้งอยู่ที่ตาบลเกาะขนุน อาเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา ห่าง จากจังหวัด 52 กิโลเมตร มีเนื้อที่ 822 ไร่
  • 3. นอกจากค่ายลูกเสือประจาภาคการศึกษาแล้วยังมีค่ายลูกเสือประจาจังหวัดและค่ายลูกเสือ ประจาอาเภออีกประมาณร้อยกว่าค่าย ซึ่งกระจายอยู่ตามจังหวัดต่าง ๆ ทั่วประเทศไทย และมีการสร้าง เพิ่มเติมอยู่ตลอดเวลา ค่ายลูกเสือนั้นมีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาเยาวชนของชาติ นอกจากนี้ยัง ได้มีผลประโยชน์ต่อชุมชน หรือกลุ่มนิสิต นักศึกษา กล่าวคือ ในการศึกษาธรรมชาติ หรือชนบท ทางคณะท่องเที่ยวติดต่อขอใช้สถานที่ตั้งค่ายพักแรม อาศัยค่ายลูกเสือเหล่านี้ซึ่งมีทั้งบรรยากาศใกล้ชิด ธรรมชาติ มีความสะดวก และที่สาคัญก็คือ มีความปลอดภัย ในขณะเดินทางหรือทากิจกรรมเป็นกลุ่มใน ชนบท ตัวอย่าง ค่ายลูกเสือกระทิงอยู่ในอุทยานแห่งชาติเขาคิชกูฎ จังหวัดจันทบุรี ใกล้ธรรมชาติสวยงาม น้าตก และป่าไม้ เป็นต้น องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์แห่งประเทศไทย องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ ตั้งอยู่ภายในสวนสัตว์ดุสิต ถนนพระราม 5 ตรงข้ามกับ พระราชวังจิตรลดา มีเนื้อที่ทั้งหมดประมาณ 112 ไร่ จัดเป็นแหล่งนันทนาการสาธารณะซึ่งรัฐจัดขึ้นเพื่อ บริการชุมชน ประวัติความเป็นมา องค์การสวนสัตว์เดิมเป็ นส่วนหนึ่งของพระราชอุทยานสวนดุสิต ซึ่งพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นเป็นสวนพฤกษาชาติสาหรับส่วนพระองค์ ต่อมาเมื่อคราวเสด็จประพาสหมู่เกาะชวา ได้ทรงนากวางดาวจานวนหนึ่งมาจากชวา เลี้ยงไว้ในสวนกวาง ซึ่งปัจจุบันคือ สวนอัมพร และกวางดาวฝูงนี้ได้ผสมพันธ์สืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบันนี้ วัตถุประสงค์ในการดาเนินงาน 1. จัดหาและรวบรวมสัตว์ป่านานาชนิด ทั้งสัตว์พื้นเมืองและสัตว์ต่างประเทศ เพื่อประโยชน์แก่ การศึกษาหาความรู้ของประชาชน 2. มีหน้าที่ส่งเสริมบารุง และผสมพันธุ์สัตว์ป่า เพื่อขยายพันธุ์สัตว์ป่าที่หายากมิให้สูญพันธุ์ 3. ปรับปรุงสัตว์ เช่น สถานที่เลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ ตลอดจนสถานที่ภายในสวนสัตว์ เพื่อให้เหมาะกับ เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจของประชาชน การดาเนินงาน องค์การสวนสัตว์ในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ดาเนินการบริหาร ในรูปแบบรัฐวิสาหกิจ รายได้ของ องค์การฯ ได้มาจากการเก็บค่าผ่านประตูเข้าชมสัตว์ รายจ่ายส่วนใหญ่จะเป็นค่าเงินเดือนเจ้าหน้าที่และ คนงาน ตลอดจนค่าอาหารบารุงสัตว์แต่ละวัน สาหรับกิจกรรมที่ทางสวนสัตว์จัดสาหรับประชาชน ได้แก่ 1. สัตว์ป่าชนิดต่าง ๆ มากกว่า 1500 ชนิด แบ่งเป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม สัตว์ปีก สัตว์เลื้อยคลาน 2. สัตว์ที่ได้จัดหาเข้าสวนสัตว์ เพื่อให้ประชาชน ซึ่งเป็นสัตว์ทีหาดูได้ยาก
  • 4. 3. จัดสัตว์ที่ STAFF ไว้ให้ประชาชน ซึ่งอาจเป็นสัตว์ทีสูญพันธ์ไปแล้วหรือหาดูไม่ได้ 4. บริการทางด้านนันทนาการเครื่องเล่นต่าง ๆ เช่น เรือพาย เรือถีบ ตลอดจนสนามเด็กเล่นต่าง ๆ การตกแต่งพันธุ์ไม้ ไม้ดอก ไม้ประดับ อันเป็นแบบอย่างของการจัดสวนสาธารณะในเมืองชนิดหนึ่ง หลังจากสิ้นรัชกาลของพระองค์ สวนสัตว์ดุสิตหรือเขาดินวนาก็ได้ถูกปล่อยให้รกร้างว่างเปล่า ตลอดมา จนถึงรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 8 ทรงเห็นว่า ในเขตนครหลวง ยังขาด สถานที่พักผ่อนหย่อนใจสาหรับประชาชนอีกเป็นจานวนมาก ซึ่งในขณะนั้นมีเพียงสวนลุมพินีแห่งเดียว ซึ่งเป็นการไม่เพียงพอต่ออัตราการเพิ่มของประชาชน จึงทรงพระราชทานที่ดินส่วนพระองค์นี้ ให้เป็น สถานที่พักผ่อนหย่อนใจของสมาคมเมื่อ พ.ศ. 2481 ทางเทศบาลนครกรุงเทพฯ จึงได้ย้ายกวางดาวพร้อม สัตว์ชนิดอื่น ๆ อีก 2-3 ชนิด จากสวนอัมพรมาไว้เขาดินวนา และดาเนินการตบแต่งสถานที่ให้เป็น สวนสัตว์ โดยการจัดหาสัตว์เลี้ยงให้ประชาชนชมเท่าที่กาลังเงินงบประมาณของเทศบาลจะทาได้ และ เรียกชื่อสวนสัตว์นี้ว่า “สวนสัตว์ดุสิต” และแต่งตั้งให้ พระสวัสดิวิธีสอน เป็นผู้อานวยการ ขึ้นตรงต่อ เทศบาลนครกรุงเทพฯ ต่อมา พ.ศ. 2456 พลโทบัญญัติ เทพหัสดิน ณ อยุธยา รัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย ได้เห็นว่า เนื่องด้วยเทศบาลนครกรุงเทพฯ ได้รับงบประมาณน้อย ไม่เพียงพอที่จะ แบ่งงบประมาณไปบารุงสวนสัตว์ดุสิตให้เจริญได้ ประกอบกับทางเทศบาลมีภาระหน้าที่มากอยู่แล้ว จึง ได้เสนอรัฐบาลขอจัดตั้งเป็นองค์การขึ้น เพื่อให้การบริหารงานเป็นไปได้โดนคล่องแคล่วรวดเร็ว และ รัฐบาลได้อนุมัติให้ จัดเป็นองค์การขึ้นตามพระราชกฤษฎีกา ลงวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2497 ให้เรียกชื่อว่า “องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย” ทางเทศบาลนครกรุงเทพฯ ได้มอบงานสวนสัตว์ และทรัพย์สินทั้งหมด ให้แก่องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทยเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 2497 อักษรย่อขององค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย เดิมใช้ อ.ส.ท. แต่ภายหลังไปพ้องกับอักษรย่อของ องค์การส่งเสริมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย จึงได้เปลี่ยนมาใช้อักษรย่อ อ.ส.ส. แทน เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 2506 เมื่อวันที่ 15 พฤศจิกายน 2506 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงรับองค์การ สวนสัตว์แห่งประเทศไทยอยู่ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงเรียกชื่อเต็มว่า “องค์การสวนสัตว์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์” และต่อมาเมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2513 ได้ใช้ชื่อทางราชการว่าองค์การสวนสัตว์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ การดาเนินงานด้านความปลอดภัย ทางสวนสัตว์ได้จัดวางเจ้าหน้าที่ไว้เป็น 2 ประเภท คือ ประเภทที่ 1 มีหน้าที่ดูแลความปลอดภัยของสัตว์เพื่อมิให้ได้รับอันตรายจากประชาชนที่เข้าไปเที่ยว โดย รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เช่น ให้อาหารที่อาจเป็นอันตรายแก่สัตว์ หรือการทาให้สถานที่อยู่ของสัตว์สกปรก เป็นต้น ประเภทที่ 2 มีหน้าที่รักษาความปลอดภัยให้แก่ประชาชนที่เข้าไปชมสัตว์ เจ้าหน้าที่เหล่านี้จะเดินรอบ ๆ บริเวณสวนสัตว์ โดยแบ่งเขตกันรับผิดชอบ
  • 5. ทางองค์การสวนสัตว์ดุสิต ได้ดาเนินการเพื่อที่จะให้มีสวนสัตว์ในทุกจังหวัดหรือทุกภาคที่สาคัญ ซึ่งขณะนี้ได้ดาเนินการไปบ้างแล้ว เพื่อสนองความต้องการของประชาชนในด้านสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สาหรับประชาชนส่วนภูมิภาค แนวคิดเรื่องสวนสัตว์ในปัจจุบันได้มีการลงทุนเป็นแหล่งนันทนาการเพื่อธุรกิจการค้าในบริเวณ ชุมชนเมือง และชานเมือง สามารถแยกออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. มุมสวนสัตว์ในศูนย์การค้า เช่น สวนสัตว์พาต้า เพื่อเป็นแหล่งนันทนาการสาหรับครอบครัว 2. ฟาร์มจระเข้สวนสามพราน และสมุทรปราการ ซึ่งจัดทาเพื่อเป็นแหล่งขายบริการความพึง พอใจให้แก่ครอบครัว และนักท่องเที่ยว 3. สวนสัตว์ซาฟารี ซึ่งเป็นการจัดธุรกิจนันทนาการ ที่เป็นที่นิยมของนานาชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อขายบริการ สร้างบรรยากาศให้คนได้ใกล้ชิดกับสัตว์ป่าที่ดุร้ายอย่างใกล้ชิด สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ ในประเทศไทย ความเป็นมาของสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ ไว เอ็ม ซี เอ เกิดขึ้นครั้งแรกในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในยุคที่ประเทศอังกฤษกาลังปฏิวัติ อุตสาหกรรม เมื่อประมาณ ค.ศ. 1840 บรรดาชายหนุ่มตามชนบทได้พากันหลั่งไหลเข้ามาประกอบอาชีพ และแสวงหาความก้าวหน้าในกรุงลอนดอน และได้หลงใหลสนุกสานเพลิดเพลินตามประสาชายหนุ่ม มิได้ ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ชายหนุ่มคนหนึ่งชื่อ นาย ยอร์จ วิลเลี่ยม อายุ 20 ปี ลูกสาวไร่หมู่บ้านปริวอล เดอร์ นอกกรุงลอนดอนได้เข้ามาทางานในกรุงลอนดอน ได้เข้าทางานกับบริษัทค้าผ้า เขาได้เห็นเพื่อน ร่วมวัยพากันหมกมุ่นกับการพนันและมีพฤติกรรมในทางไม่พึงประสงค์ ทาให้สลดใจ และพยายามหาทาง ป้ องกันและช่วยเหลือเพื่อน ๆ ในกลุ่มเดียวกัน เริ่มแรกเขาได้ชักชวนเพื่อนสนิทมาสนทนาหารือแลกเปลี่ยนความรู้ซึ่งกันและกัน รวมทั้งชักชวนกัน ประกอบศาสนกิจ ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะทาให้ประกอบการงานได้เจริญก้าวหน้าเป็นประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่น มีผู้มาร่วม 12 คน โดยใช้เวลาหลังเลิกงานแล้ว โดยใช้ห้องนอนกายในเรือนพักของบริษัท และข่าวการ พบปะนี้ได้กระจายไปอย่างกว้างขวาง ทั้งผู้ใหญ่ในบริษัทก็ให้ความสนับสนุนเป็นอย่างดี ทาให้มีชายหนุ่ม มาร่วมชุมนุมกันมากขึ้น นายวิลเลี่ยม จึงเปลี่ยนสถานที่มาเป็นร้านกาแฟใกล้ ๆ นั้น ก็ยิ่งมีผู้นิยมแพร่หลาย กว้างขวางมากขึ้นอีก จึงพร้อมใจกันจัดการสถานที่ใหม่และตั้งเป็นสมาคมชายหนุ่มขึ้นเมื่อเดินสิงหาคม ค.ศ. 1841 โดยเฉลี่ยกันออกค่าใช้จ่ายคนละเล็กละน้อย เมื่อมีสมาคมไว เอ็ม ซี เอ แล้วนายวิลเลี่ยมและมิตรสหายก็ได้เลือกสมาชิกผู้มีคุณวุฒิเป็น กรรมการบริหารงานคณะหนึ่ง ผลัดเปลี่ยนกันสมัยละ 3 ปี กาหนดให้ทยอยกันเป็นตาแหน่งปีละ 1 ใน 3 และเลือกสมาชิกใหม่เข้าแทนตาแหน่งที่ว่างทุกปี งานของสมาคมได้เจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว ในช่วง
  • 6. 10 ปี ขยายตัวออกไปทั่วอังกฤษ และขยายตัวเป็นเครือข่ายนานาชาติถึง 80 ชาติ เมื่อสมาคมมีอายุครบ 50 ปี สมเด็จพระนางเจ้าวิคตอเรีย ได้พระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น เซอร์ ยอร์ช วิลเลี่ยม สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพ นายบุญต๋วน บุญจิต ได้เผยแพร่อุดมคติของ ไว เอ็ม ซี เอ หลังจากที่กลับจากสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2435 สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ ได้ก่อตั้งขึ้นในปี 2474 โดยคนไทย และนายเอ ฮาร์ แฮมมอนด์ ได้ประชุม ปรึกษากันวางโครงการ และร่างข้อบังคับ สาหรับสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ ที่จะจัดปรับปรุงใหม่ให้ สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมไทย ซึ่งต่อมาอีกหลายเดือน จึงสาเร็จเรียบร้อย โดยตกลให้แปลงสโมสร บุญอิต ศิลปาการ เป็นสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ เรียกเป็นไทยที่ปรากฏในทะเบียนว่า “เยาวมานพครัส เตียนอมาตรยสมาคม แห่งกรุงเทพฯ แต่นิยมเรียกสั้น ๆ ว่า วาย เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ” ปัจจุบัน ไว เอ็ม ซี เอ ที่อนุสรณ์บุญอิต ณ ถนนวรจักร ดาเนินกิจกรรมหลายอย่างสาหรับเยาวชน และมีโรงเรียนกวดวิชา ภาษาอังกฤษ เป้ าหมายของสมาคม - สนับสนุนบุคคลให้วิวัฒนาความเชื่อในการดาเนินชีวิตประจาวันตามคาสอนของพระเยซู - สนับสนุนบุคคลให้ยึดถือหลักความเสมอภาค ให้ซาบซึ้งถึงความจาเป็นที่จะต้องช่วยเหลือผู้อื่น - สนับสนุนบุคคลให้วิวัฒนาความเชื่อมั่นในตนเอง การนับถือตนเอง และการให้เกียรติแก่ค่าของ ตนเอง - วิวัฒนาการเป็นผู้นาที่มีสมรรถภาพและประสิทธิภาพ และช่วยบุคคลเหล่านี้ให้มีโอกาสที่จะ ปฏิบัติการ และสาแดงทักษะแห่งการเป็นผู้นา โดยทางกิจกรรมและโครงการของสมาคม - ส่งเสริมกิจกรรมที่เตรียมไว้สาหรับพัฒนาสุขภาพทั้งทางร่างกายและจิตใจให้ดีขึ้น - ช่วยบุคคลให้วิวัฒนาประสิทธิภาพทางอาชีพและบุคลิกลักษณะเพื่อเป็นสมาชิกของสังคมที่มี ประโยชน์ - ร่วมมือกับองค์การและหน่วยของทางราชการ หรือเอกชนทางการศึกษา การศาสนา และการ สังคม หลักและปรัชญาของ ไว เอ็ม ซี เอ ที่ยึดถือได้แก่ “ All of the Bangkok Y.M.C.A. programs are operated according to the needs of the members and community, for the purpose PERSONALITY. development, the growth of BODT, MIND and SPIRIT with emphasis on LEADERSHIP and MORAL development.” สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ วรจักร สมาคมไว เอ็ม ซี เอ ตั้งอยู่ที่ เลขที่ 100 ถนนวรจักร อาเภอป้ อมปราบ – กรุงเทพฯ กิจกรรมที่จัด ตลอดปีมีประเภทต่าง ๆ ดังนี้ 1. กีตาร์ ได้รับความสนใจจากสมาชิกมาก จึงได้เปิดชั้นเรียนตลอดปี
  • 7. 2. ลีลาศ เป็นกิจกรรมที่สมาชิกสนใจเรียนมากเช่นกัน 3. ทาอาหารและขนม 4. ทาดอกไม้ประดิษฐ์ สมาคมไว เอ็ม ซี เอ สาธรใต้ สมาคมไว เอ็น ซี เอ ได้มีสถานที่ตั้งขึ้นเนื่องจาก แหม่มอีมีลี่ คอนลินส์ ได้แลเห็นคุณประโยชน์ของ สมาคม และมีจิตศรัทธาในอันที่จะช่วยเหลือการศึกษาแก่เยาวชน จึงได้ยกกรรมสิทธิ์ อาคาร และสถานที่ ของโรงเรียนเซนต์แมรี่ ซึ่งตั้งอยู่ ณ เลขที่ 27 ถนนสาธรใต้ อาเภอยานนาวา กรุงเทพฯ ให้เป็นสมบัติของ สมาคมโดยสมบูรณ์ สมาคมได้จัดอนุสรณ์ คอลลิน์ เป็นหอพักนักเรียน และใช้ประโยชน์ตามความ มุ่งหมายอันดีเลิศของผู้บริจาคตราบเท่าทุกวันนี้ หอพัก ไว เอ็ม ซี เอ ได้ขยายกิจการก่อสร้างอาคารทับสมัยเป็นหอพักนานาชาติ สาหรับชาวไทย และชาวต่างประเทศ ประกอบด้วยห้องพักปรับอากาศ จานวน 59 ห้อง กิจกรรมที่ศูนย์สาธรใต้ กิจกรรมประจาที่ผู้สนใจ เรียงตามลาดับคือ 1. กีตาร์ 2. ตัดเสื้อ 3. ยูโด 4. ลีลาศ 5. สนทนาภาษาอังกฤษ 6. เทควันโด 7. บาสเกตบอล 8. เทนนิส 9. ดนตรีไทย 10. ราไทย 11. ปิงปอง และกีฬาในร่มต่าง ๆ กิจกรรมที่จัดเป็นครั้งคราว ในเวลาปิดเทอม และโอกาสเทศกาลต่าง ๆ ก็มีผู้สนใจเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะกวดวิชาภาษาอังกฤษ คานวณ การอบรมนวด สนทนาภาษาญี่ปุ่น ทาอาหาร มวยไทย สนทนา ภาษาเยอรมัน ตลอดจนงานรื่นเริงต่าง ๆ กิจกรรมการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างเยาวชนนานาชาติกับเยาวชนไทย โดยกลุ่มวิเทศ สัมพันธ์ ได้ต้อนรับเยาวชนจากหลายประเทศ เช่น ญี่ปุ่น สิงคโปร์ อเมริกา เดนมาร์ค ฯลฯ ซึ่งได้รับ ความสาเร็จการสร้างสัมพันธ์ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และวัฒนธรรมเป็นอันดี ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ไว เอ็ม ซี เอ (PITNESS CLUB) ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพ ไว เอ็ม ซี เอ จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ให้เป็นสถานที่ออกกาลังกายของ ชาย – หญิง ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป ได้มีโอกาสเสริมสร้างสมรรถภาพของร่างกายให้มีทรวดทรงสวยงาม
  • 8. แข็งแรง สมบูรณ์ เพื่อจะทางานใด ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีเจ้าหน้าที่ ชาย –หญิง ที่ชานาญงาน คอยดูแลแนะนาตลอดเวลา ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพมีบริการและเครื่องมือทันสมัย คือ - ห้องออกกาลังกายปรับอากาศ ( AIR-CONDITIONED GYMNASIUM ) - อุปกรณ์การออกกาลังกาย ( EXERCISE EQUIPMENTS ) - ห้องอบไอน้า (STREAM ROOM ) - สระว่ายน้า ( 25 METERS SWIMMING POOL) - ห้องอาบน้า ( HOT & COLD SHOWER ) - ห้องพักผ่อน ( AIR-CONDITIONED LOUNGE ) - บริการนวด ( MASSAGE ) - บริการทดสอบสมรรถภาพทางร่างกาย ( PHYSICAL FITNESS TEST ) สระว่ายน้า สระว่ายน้าของสมาคม ไว เอ็ม ซี เอ กรุงเทพฯ ได้เปิดดาเนินงานเพื่อบริการสมาชิกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517 เปิดบริการให้สมาชิกมาใช้สระแล้วยังมีกิจกรรมอื่น ๆ อีก - อบรมผู้นาในการสอนว่ายน้า - การสอนว่ายน้าตามหลักสูตรของสมาคม มีผู้ผ่านการเรียนว่ายน้าขั้นเบื้องต้น ชั้นปานกลาง และ ชั้นดี - การอบรม LIFE – SAVING AND LIFE – GUARD - การสอนดาน้า ( SCUBA DIVING ) - การสอนว่ายน้าสาหรับคุณแม่และเด็กอ่อน อายุ 1 – 4 ขวบ ทางสระว่ายน้าได้คานึงถึงความปลอดภัยและความสะดวกแก่ผู้มาใช้สระ โดยมีเจ้าหน้าที่ประจา ครูสอนว่ายน้า และ LIFE-GUARD คอยดูแลให้คาแนะนาตลอดเวลา ค่ายกลางวัน (ในเมือง) ค่ายกลางวัน ได้จัดมาเป็นปีที่ 12 มีลักษณะเป็นค่ายในเมืองแบบเช้าไปเย็นกลับ จัดที่สมาคม ถนนสาธรใต้ ได้รับความสนใจจากเด็ก ๆ ที่อายุไม่เกิน 11 ปี มากกว่าเด็กโต การจัดผู้นาหรือพี่เลี้ยงได้เปิด โอกาสให้ผู้ที่อยากทดลองเป็นผู้นา ได้มีโอกาสร่วมดูแลเด็กด้วย โดยคัดเลือกจากชาวค่ายเก่า ๆ ที่มีอายุ ประมาณ 16 – 18 ปี กิจกรรมของค่ายกลางวันส่วนมก คล้ายคลึงกับค่ายพักชายทะเล และได้เพิ่มบางสิ่งบางอย่าง เพื่อให้เหมาะสม เช่น การแสดงละคร งานออกร้าน เยี่ยมชมเรือรบหลวงมงกุฎราชกุมาร โรงงานทาแก้ว
  • 9. บริษัทรองเท้าบาจา กองตารวจดับเพลิง สวนสัตว์ ฟาร์มจระเข้ ท้องฟ้ าจาลอง เป็นต้น อนึ่ง มีเด็กกาพร้าและเด็กยากจนจานวนมากไม่สามารถเสียค่าบารุงค่ายได้ ทางสมาคมจึงได้จัด “ เดินการกุศล ” เพื่อหาทุนอุดหนุนให้เด็กเหล่านี้มีโอกาสร่วมกิจกรรมค่ายกลางวันได้ ค่ายพักแรมเยาวชนภาคฤดูร้อน เพื่อให้เยาวชนได้เรียนรู้การดาเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่น พัฒนาบุคลิกภาพของตนเองให้เป็นผู้นาที่ดี มี ประสิทธิภาพ และเป็นพลเมืองที่มีความรับผิดชอบต่อชุมชน และร่วมมือกับผู้ปกครองในการอบรม ลูกหลานให้เป็นผู้สามารถพึ่งตนเองได้ สมาคม ไว เอ็ม ซี เอ จึงได้จัดกิจกรรมค่ายพักแรมสาหรับเยาวชน ชาย หญิง อายุตั้งแต่ 10-18 ปี เป็นประจาทุกปีในระหว่างปิดเทอมภาคฤดูร้อน ณ ค่ายชายทะเล บางละมุง จังหวัดชลบุรี กิจกรรมค่ายพักแรมได้เป็นกิจกรรมเพื่อการศึกษา นอกเหนือไปจากสันทนาการและให้โอกาสชาว ค่ายได้เลือกกิจกรรมที่ตนเองชอบ และได้พยายามสร้างความสนใจในกิจกรรมที่จะช่วยการพัฒนาเยาวชน ซึ่งเยาวชนเหล่านี้มาจากครอบครัวหลายระดับ รวมทั้งเยาวชนจากสถานเลี้ยงเด็กกาพร้าหลายแห่ง กิจกรรมนันทนาการ ในขณะที่อยู่ค่ายพักแรม ได้แก่ ว่ายน้า กรรเชียงเรือ ยิงธนู ยิงปืน การฝีมือ ธรรมชาติ ศึกษา การตั้งค่ายพัก เดินทางไกล เกมส์ ร้องเพลง ฯลฯ เป็นต้น ซึ่งจะเห็นว่า กิจกรรม ไว เอ็ม ซี เอ เป็น แหล่งนันทนาการที่น่าสนใจอีกประเภทหนึ่ง นันทนาการ : หาดทราย และธรรมชาติทางทะเลของไทย ในปัจจุบัน แหล่งนันทนาการ หรือสถานที่พักผ่อนหย่อนใจที่นิยมสาหรับประชาชนทั้งในประเทศ และนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ได้แก่ หาดทราย ชายทะเล ซึ่งประเทศไทยมีสิ่งเหล่านี้มากมาย และ สวยงามเป็นหนึ่งในทวีปเอเชีย และเป็นที่กล่าวขวัญของนักท่องเที่ยวชาวยุโรป ถือว่า หาดทราย ชายทะเล ย่านฝั่งทะเลอันดามัน และอ่าวไทย เป็นเสมือนสวรรค์แห่งการพักผ่อนหย่อนใจเลยทีเดียว สาหรับจังหวัด ต่าง ๆ ของประเทศไทยมีทิวทัศน์ชายหาด ทะเล และธรรมชาติริมฝั่งมี 18 จังหวัด ซึ่งมีแหล่งนันทนาการ ระดับในประเทศ และระดับนานาชาติรวมมากกว่า 200 แห่ง เพื่อให้ท่านได้มีโอกาสได้ศึกษาพักผ่อน หย่อนใจ หรือมีทางเลือกกิจกรรมนันทนาการ จังขอเสนอจังหวัดและแหล่งนันทนาการ หาดทราย และ ธรรมชาติทางทะเลของประเทศดังนี้ ภาค/ตะวันออก หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล ภาคตะวันออก 1. ชลบุรี 1. หาดบางแสน 2. หาดผาแดง 3. บางเสร่ 4. เกาะสีชัง
  • 10. 5. ศรีราชา 6. แหลมฉะบัง 7. หาดจอมเทียน 8. หาดพัทยา 9. อ่างดงตาล 10. สัตหีบ 2. ระยอง 1.เกาะเสม็ด – เขาแหลมหญ้า 2. หาดทรายแก้ว 3. หาดแม่ราพึง 4. อ่าวช่อ 5. เกาะเสก็ดเพชร 6. หาดสวนสน 7. บ้านเพ รีสอท 8. วังแก้ว 9. หาดแม่พิมพ์ 10. หาดอ่าวพร้าว 11. เกาะมัน 3. จันทบุรี 1. หาดคุ้งพิมาน 2. แหลมเสด็จคุ้งกระเบ็น 3. แหลมสิงห์ 4. อ่าวกระทิง ภาค/จังหวัด หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล ภาคตะวันออก 4. ตราด 1. หมู่เกาะช้าง 2. เกาะตราด 3. หาดทรายงาม 4. หาดทับทิม 5. เกาะปุย 6. อ่าวตาลคู่ 7. แหลมงอบ 8. เกาะกูด 9. หาดไม้รูด 10. หาดชะอา ภาคใต้ 1. เพชรบุรี 1. หาดชะอา 2. หาดเจ้าสาราญ 2. ประจวบคีรีขันธ์ 1. หาดหัวหิน 2. หาดสวนสน 3. อ่าวประจวบ 4. หาดค่าซ่า ชาลี 5. เขาสามร้อยยอด 6. หาดบางสะพาน 3. ชุมพร 1. เกาะไก่ 2. อ่าวโบแมค 3. อ่าวทุ่งว่าเลน 4. หาดภราดรภาพ 5. หาดทรายรี 6. อ่าวทุ่งตะโก 7. เกาะเต่า 8. หาดอรุโณทัย
  • 11. 4. สุราษฎร์ธานี 1. เกาะสมุย 2. หมู่เกาะอ่างทอง 3. เกาะพะงัน 4. เกาะเต่า 5. เกาะนางยวน 5. นครศรีธรรมราช 1. หาดหินงาม 2. หาดนายเพลา 3. ชายทะเลปากพนัง 4. แหลมตะลุมพุก 5. อุทยานแห่งชาติเขาหลวง 6. หาดสีชล 7. หาดขนอม 6. ปัตตานี 1. หาดปาตาติมอ 2. หาดแฆแฆ 3. หาดชวาลัย 4. หาดพะแน 5. หาดปะนาเระ ภาค/จังหวัด หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล ภาคใต้ 7. นราธิวาส 1.หาดบางนราทัศน์ 8. สงขลา 1. หาดสมิหลา 2. หาดเก้าเส็ง 3. เขาน้อยและเขาตัวกวน 4. อุทยานนกน้า 5. ทะเลสาบสงขลา 9. ระนอง 1. ปากน้าระนอง2. หาดชาญดาริ 3. หาดส้มแป้ น 4. เกาะพยาม 5. อุทยานแห่งชาติแหลมสน 6. เกาะค้างคาว 7. เกาะกาใหญ่ 8.เกาะกาน้อย 10. พังงา 1. ป่าเก้ารัก 2. หมู่เกาะสุรินทร์ 3. อุทยานสมิหรา 4. เกาะปันหยี 5. อ่าวพังงา 6. ชายทะเลท้ายเหมือง 7. ชายทะเลเขาปิหลาย 8. หมู่เกาะสิมิลัน 11. ภูเก็ต 1. หาดทรายรอบเมืองภูเก็ต 2. หาดราไวย์ 3. เกาะโล้น 4. เกาะยี 5. เกาะไม้ท่อน 6. เกาะราชาใหญ่ 7. เกาะแก้วพิสดาร 8. หาดสุรินทร์ 9. แหลมพรหมเทพ 10. แหลมสิงห์ 11. อ่าวป่าตอง 12. อ่าวตะกะ 13. อ่าวกะรน 14. หาดไม้ยาว 15. อ่าวกมลา 12. กระบี่ 1. หาดนพรัตน์ ธารา 2. อ่าวพระนาง
  • 12. 3. สุสานหอยล้านปี 4. เกาะ พี พี เล 5. เกาะลันดา 6. เกาะไหง 7. เขาขนาบน้า ภาค/จังหวัด หาดทราย และธรรมชาติทางทะเล ภาคใต้ 13. ตรัง 1. หาดปากเม้ง 2. เกาะชาวใหม่ 3. เกาะตะไลบ้อง 4. อุทยานแห่งชาติหาดเจ้าไหม 5. ทะเลปะเหลียน 6. หาดเจ้าสาราญ 7. หาดตะเลา 8. ทะเลกันตัง 9. เกาะสุกร 10. เกาะมุก 14. สตูล 1. หมู่เกาะตะรุเตา 2. หมู่เกาะอาดังราวี 3. อุทยานแห่งชาติทะเลบัน ข้อคิด แหล่งนันทนาการประเภทหาดทรายและธรรมชาติทางทะเล เป็นทรัพยากรที่สาคัญอย่าง ยิ่งของประชากรโลก เป็นสถานที่สาธารณะ ดังนั้นจึงเป็นหน้าที่ของประชาชนทุกคนพึงตระหนักในเรื่อง ของการอนุรักษ์ และธารงไว้ให้สืบทอดต่อไป รวมทั้งช่วยกันรักษาความสะอาด รักษาสภาวะแวดล้อมทาง ธรรมชาติ และช่วยกันป้ องกัน และต่อต้านการเอารัดเอาเปรียบของคนที่มุ่งประโยชน์ส่วนตน บุกรุก และ ทาลายธรรมชาติ แหล่งสงวนพันธ์นกในประเทศไทย แหล่ง ชนิด 1. บางปู สมุทรปราการ นกนางนวล นากชายทะเล 2. อ่างเก็บน้าบางพระอุทยานสัตว์ป่าเขาเขียว, ชลบุรี นกเป็ดน้า นกชนิดต่าง ๆ 3. ดอยอินทนนท์, เชียงใหม่ นกป่าเขาชนิดต่าง ๆ 4. ดอยปุย, เชียงใหม่ นกป่าเขาชนิดต่าง ๆ 5. เขาใหญ่, นครราชสีมา นกชนิดต่าง ๆ มากกว่า 100 ชนิด 6. เขาสามร้อยยอด, ประจวบคีรีขันธ์ นกนางนวล, นกชายทะเล 7. วนอุทยานแห่งชาติเอราวัณ กาญจนบุรี นกป่า, เหยี่ยว, อินทรีย์ 8.ทะเลน้อย, พัทลุง นกทะเลชนิดต่าง ๆ 9. วัดไผ่ล้อม, ปทุมธานี นกป่าใหญ่, นกกินปลา ฯลฯ
  • 13. ข้อคิด ประเทศไทยมีธรรมชาติ ป่าเขา และต้นน้าลาธาร ที่เอื้ออานวยให้อาศัยอยู่เป็นจานวนมาก ทั้งสัตว์ ป่าหายาก ซึ่งนับวันแต่จะสูญพันธ์ไปอย่างรวดเร็ว แหล่งสงวนพันธ์นก (BIRD SANCTUARY) เป็นแหล่ง นันทนาการอีกประเภทหนึ่งที่ทาให้มนุษย์ได้มีโอกาสศึกษา เสริมสร้างประสบการณ์ใกล้ชิดกับธรรมชาติ ฝูงนกชนิดต่าง ๆ และการสร้างอาณาจักรที่อยู่อาศัย การอพยพของฝูงนกจากถิ่นเมืองหนาวมาเขตเมือง ร้อนของประเทศไทย แหล่งสงวนรักษาพันธ์นกของประเทศไทย มีอยู่บริเวณทุกภาคของประเทศไทย ตั้งแต่เชียงใหม่ถึงพัทลุง ซึ่งเป็นสถานที่นันทนาการอีกแหล่งหนึ่ง เปลี่ยนบรรยากาศจากธรรมชาติพันธุ์ไม้ ป่าเขา เป็นนกรวมกลุ่ม และนกพันธุ์หาดูได้ยาก ประชาชนน่าจะได้มีโอกาสศึกษาเรียนรู้และช่วยกัน อนุรักษ์ธรรมชาติชนิดนี้ รวมทั้งควรจะมีเจ้าหน้าที่ของรัฐให้การคุ้มครอง และทาเอกสารแนะนาส่งเสริม การศึกษา และอนุรักษ์ โรงแรมที่พักมาตรฐานในกรุงเทพมหานคร ในปีพ.ศ. 2531 ทาง ททท. ได้สารวจโรงแรและที่พักของนักท่องเที่ยวที่มีความจาเป็นมาตรฐานใน เรื่องสิ่งอานวยความสะดวก และความปลอดภัย ได้พบว่า มีโรงแรมใน กทม. จานวน 94 แห่ง แยกประเภท เป็นระดับต่าง ๆ ได้ 4 ประเภท นอกจากนี้ยังมีเกส์ทเฮ้าส์ และอพาร์ทเมนต์อีก 38 แห่ง ประเภทที่ 1 โรงแรมระดับหรูหรา ( LUXUBY CLASS ) มีอยู่ 25 แห่ง มีจานวนห้องตั้งแต่ 265 -1,050 ห้อง ชื่อ ที่อยู่ จานวนห้องพัก ราคา/บาท/วัน แอมบาสซาเดอร์สุขุมวิท 13 1,050 1,200 - 50,000 รอแยลออร์คิด สี่พระยา 780 1,900 – 15,000 แม่น้า ยานนาวา 727 1,500 – 10,000 แชงกรีล่า ถ. เจริญกรุง 697 2,250 – 34.000 บางกอกพาเลซ เพชรบุรีตัดใหม่ 650 1,200 – 5,400 เอเชีย ราชเทวี/พญาไท 640 1,600 – 12,000 ไฮแอทเซ็นทรัลพลาซ่า พหลโยธิน/ลาดพร้าว 607 1,700 – 88,000 มณเฑียร สุริวงก์ 600 1,800 – 12,000 ดิ โอเรียนเต็ล ถ. โอเรียนเต็ล 398 3,100 – 40,000 สยามอินเตอร์คอนติเนลตัล สยามสแควร์ 400 2,400 – 25,000 เดอะ รีเจน บางกอด ราชดาริ 410 2,400 – 30,000 ฮิลตัลอินเตอร์เนชั่นแนล เพลินจิต 389 2,270 – 21,600 ชื่อ ที่อยู่ จานวนห้องพัก ราคา/บาท/วัน ตะวันนา รามาดา สุริวงค์ 265 1,540 – 11,000 ดุสิต ธานี สีลม 525 2,340 – 5850
  • 14. ดิ อิมพิเรียล เพลินจิต 400 2,210 – 9,360 นอกจากนี้ก็มี โรงแรมแอร์พอร์ต อินทรารีเจนท์ เดอะแลนด์มาร์ค แมนดาริน แมนฮัตตัน สีลม พลาซ่า นารายณ์ รามา การ์เดน โนโวเต็ล ประเภทที่ 2 ได้แก่ โรงแรมที่มีความเป็นมาตรฐานดี (4 ดาว) เป็นโรงแรมชั้นหนึ่ง ซึ่งมีห้องตั้งแต่ 120 – 362 ห้องพัก ราคาตั้งแต่ 800 – 32,000 บาท ต่อคืน มีอยู่ 8 โรงแรม ได้แก่ โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร์ ถนนพระรามสี่ พลาซ่า ถนนสุริวงค์ เฟิสท์ ถนนเพชรบุรี อิมพาล่าถนนสุขุมวิท 9 มโนราห์ถนนสุริวงค์ ราชา ถนนสุขุมวิท 18 ทาวเวอร์อินน์ ถนนสีลม วินเซอร์ ถนนสุขุมวิท 18 ประเภทที่ 3 ได้แก่โรงแรมที่มีมาตรฐานปานกลาง (4 ดาว) เป็นโรงแรม 3 ดาว ตั้งแต่ 66 – 334 ห้อง ราคา ตั้งแต่ 400 – 3,333 บาทต่อคืน มีจานวน 29 แห่ง ได้แก่ โรงแรมบารอนเซ็นจูรี, คอมฟอร์ทอินท์, คอน ติเนตัล, เฟเดอรัล, ฟลอริด้า, ฟอร์จูน่า, โกลเด็นดราก้อน, โกนเด็ล ฮอส เกรซ, ลิเบอร์ตี้, แมเจสติก, มิโด้, มิ รามาร์, นิวฟูจิ, นิวนานา, นิว เพนนินซูล่า, นิว ทร็อคกาเดร์ ปาร์ค, ราชศุภมิตร, เร็กซ์, ริวเวอร์ไซด์ พลาซ่า, โรส รอยัล, สยามไทย, เวียงใต้, วิตเตอรี่ ไวท์อินน์ วาย เอ็ม ซี เอ ประเภทที่ 4 ได้แก่โรงแรมที่ราคาประหยัดสาหรับนักท่องเที่ยวประเภท 1 และ 2 ดาว ราคาตั้งแต่ 120 บาทขึ้นไป มี 20 แห่ง ได้แก่ แอตแลนต้า, บูรพา คราวน์ โกลเด็นเกท, โกลเด็นพาเลซ ฮันนี กรุงไทย, มาเลเซีย, เมอร์เมทอินท์, เมโทร, ไมอามี่, มรกต, นิวเอ็มไพร์, โอเปร่า, นิวศรีพระนคร, ไนแองการ่า, นิตย์ เจริญสุข, พาเลียเม้นท์ ปรินซ์, ไพรเวซี่, ราชาพาเลซ รามาดา, รีโน, สตาร์, รอเยลพลาซ่า, สมบูรณ์, ซุปเปอร์, สุริวงค์, สวอน, เวิลด์ ข้อควรทราบสาหรับนักท่องเที่ยว 1. ผู้เดินทางไปต่างประเทศ 1.1 การแจ้งนาของใช้ส่วนตัวออกไปต่างประเทศ ถ้าต้องการนาของใช้ส่วนตัวติดต่อออกไป ระหว่างการเดินทาง เช่น กล้องถ่ายวิดีโอ กล้องถ่ายรูป วิทยุ-เทป ฯลฯ และประสงค์จะนากลับเข้ามา ภายในประเทศ จะต้องแจ้งแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรเพื่อสิทธิในการยกเว้นภาษีอากร ภายใต้เงื่อนไขดังนี้
  • 15. - เป็นของเก่าใช้แล้วและมีจานวน/ปริมาณพอสมควรแก่ฐานะ วิธีปฏิบัติ นาบัตรที่นั่งบนเครื่องบิน หนังสือเดินทาง ตั๋วโดยสาร และของที่จะนาติดตัวออกไป แสดงและแจ้งต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ที่ทาการศุลกากร (ขาออก) ประจาท่าอากาศยานกรุงเทพ คาเตือน ของที่มิใช่ของใช้ส่วนตัว โปรดติดต่อเจ้าหน้าที่ศุลกากรเพื่อนาไปปฏิบัติพิธีการ ศุลกากรก่อน การเดินทาง 1.2 ของต้องห้ามในการนาออกนอกราชอาณาจักร - ยาเสพติดให้โทษ - วัตถุระเบิด 1.3 ของต้องจากัด หมายถึง ของบางชนิดที่มีกฎหมายควบคุมการส่งออก ผู้ที่ประสงค์จะนาเข้า หรือส่งออกไป ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากส่วนราชการที่เกี่ยข้อง และนามาแสดงต่อเจ้าหน้าที่ ศุลกากรในขณะนาออกด้วย เช่น - พระพุทธรูป ศาสนวัตถุ โบราณวัตถุ (กรมศิลปากร) - สัตว์ป่าสงวนหรือสัตว์เลี้ยง เช่น นก ลิง แมว ฯลฯ (กรมป่าไม้หรือกรมปศุสัตว์) - พันธ์พืช เช่น ทุเรียน ลาไย ฯลฯ (กรมวิชาการเกษตร) 2. การนาเงินไทย เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยกาชาระเงินตราต่างประเทศออกไปนอกราชอาณาจักร 2.1 เงินไทย - ผู้เดินทางไปต่างประเทศ คนละ 500 บาท ครอบครัวละ 1,000 บาท 2.2 เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศ - ผู้เดินทางไปต่างประเทศคนละ 1,000 เหรียญสหรัฐฯ ครอบครัวละ 2,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือมูลค่าเทียบเท่า - ผู้เดินทางผ่าน (TRANSIT PASSENGER) หรือผู้ที่เข้ามาในราชอาณาจักรชั่วระยะเวลาที่ กาหนดในตั๋วเดินทางผ่าน หรือตั๋วเดินทางไป-กลับ คนละ 1,000 เหรียญสหรัฐฯ หรือมูลค่าเทียบเท่า หมายเหตุ ผู้เดินทางผ่านฯ ที่นาเงินตราต่างประเทศติดตัวเข้ามามูลค่าเกินกว่า 10,000 เหรียญสหรัฐฯ และประสงค์จะนากลับออกไปต้องแจ้งแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรในวันที่เดินทางเข้ามาถึงประเทศไทย 2.3 การขออนุญาตนาเงินตราต่างประเทศ หรือปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศออกไปนอก ราชอาณาจักร - ผู้เดินทางต้องได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย โดยขออนุญาตผ่านธนาคาร พาณิชย์ทั่วราชอาณาจักร 3. ผู้เดินทางเข้ามาในประเทศ การนาเงินไทย เงินตราต่างประเทศ และปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศเข้ามาใน ราชอาณาจักร
  • 16. 3.1 เงินไทย - คนละ 2,000 บาท - ครอบครัวละ 5,000 บาท 3.2 เงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชาระเงินตราต่างประเทศ - ผู้เดินทางผ่าน นาเข้าได้โดยไม่จากัดมูลค่า - คนไทยหรือผู้มีถิ่นที่อยู่ในประเทศไทยหากนาเงินตราต่างประเทศหรือปัจจัยการชาระ เงินตราต่างประเทศเข้ามาในราชอาณาจักร ต้องขายให้กับธนาคารแห่งประเทศไทย ธนาคารรับอนุญาต หรือบุคคลรับอนุญาตภายใน 7 วัน นับแต่วันที่เดินทางเข้ามา หมายเหตุ สอบถามรายละเอียดเกี่ยวกับการนาเงินตราฯ เข้า-ออกนอกราชอาณาจักร ได้ที่ธนาคาร พาณิชย์ทุกแห่งและจากเจ้าหน้าที่ศุลกากร ณ ท่าอากาศยานกรุงเทพ โทร. 5237332 , 5236201 ต่อ 153,269 4. การนากระเป๋ า สัมภาระให้เจ้าหน้าที่ศุลกากรตรวจ เมื่อเดินทางเข้ามาในราชอาณาจักร 4.1 ผู้เดินทางต้องกรอกรายการในแบบสาแดงสิ่งของติดตัวผู้โดยสาร ก่อนนากระเป๋ าสัมภาระ ผ่านเจ้าหน้าที่ศุลกากร 4.2 ผู้ที่ไม่มีของต้องเสียภาษีอากรของต้องห้ามของต้องจากัด ให้ยื่นแบสาแดงสิ่งของติดตัว ผู้โดยสารแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรในช่องเขียว ซึ่งมีป้ ายเขียนไว้ว่า ไม่มีของต้องสาแดง 4.3 ผู้ที่มีของต้องเสียภาษีอากรของต้องห้ามของต้องจากัด หรือไม่แน่ใจว่าของที่นาเข้ามานั้นต้อง เสียภาษีอากรหรือไม่ ให้ยื่นแบบสาแดงสิ่งของติดตัวผู้โดยสารแก่เจ้าหน้าที่ศุลกากรในช่อง แดง ซึ่งมีป้ าย เขียนไว้ว่า มีของต้องสาแดง คาเตือน ผู้ลักลอบนาของต้องเสียภาษีอากรของต้องห้ามหรือของต้องจากัด ผ่านออกทางช่องเขียว นอกจากจะถูกริบสิ่งของแล้ว อาจจะต้องถูกปรับ 4 เท่าของราคาสิ่งของรวมค่าภาษีอากร 5. ของยกเว้นภาษีอากรขาเข้า - บุหรี่ไม่เกิน 200 มวน หรือซิการ์และยาเส้นน้าหนักไม่เกิน 250 กรัม - สุรา 1 ลิตร - ของใช้ส่วนตัวพอสมควรแก่ฐานะ - ของใช้บ้านเรือนเก่าใช้แล้วที่จะนาเข้ามาพร้อมกับตน เนื่องจากย้ายภูมิลาเนา 6. ของต้องห้าม ต้องจากัดในการนาเข้า 6.1 ของต้องห้าม คือ ของที่ไม่อนุญาตให้นาเข้าโดยเด็ดขาด เช่น - วัตถุลามก สิ่งพิมพ์ลามก - ยาเสพติดให้โทษ
  • 17. 6.2 ของต้องจากัด คือ ของที่ต้องได้รับอนุญาตเป็นหนังสือจากส่วนราชการที่เกี่ยวข้องก่อนนาเข้า มาเช่น - เครื่องรับ-ส่งวิทยุคมนาคมและส่วนประกอบ (กรมไปรษณีย์โทรเลข) - อาวุธปืน กระสุนปืน (กรมตารวจ) - พืชและส่วนต่าง ๆ ของพืช (กรมวิชาการเกษตร) - สัตว์และซากสัตว์ (กรมปศุสัตว์) - เครื่องสาอางสาเร็จรูป (กระทรวงสาธารณสุข) - สัตว์น้า (กรมประมง) - ฯลฯ 7. อัตราภาษีอากรสาหรับของนาเข้าบางชนิดเป็นอัตราภาษีอากรรวมโดยประมาณ ชนิดของ อัตราภาษีอากร เครื่องรับวิทยุ – เทป 70% ของราคา เครื่องรับโทรทัศน์ 80% ของราคา เครื่องเล่นวีดีโอ 70% ของราคา กล้องถ่ายวีดีโอ 20% ของราคา ของเด็กเล่น 60% ของราคา ชนิดของ อัตราภาษีอากร กล้องถ่ายรูป 25% ของราคา เสื้อผ้าสาเร็จรูป 80% ของราคา เครื่องประดับ 80% ของราคา กระเป๋ า รองเท้า เข็มขัดหนัง 125% ของราคา เครื่องสาอางสาเร็จรูป 110% ของราคา ฯลฯ หากมีข้อสงสัย หรือต้องการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อสอบถาม ได้จากเจ้าหน้าที่ ศุลกากรหรือทีทาการศุลกากรทุกแห่ง หรือที่ ด่านศุลกากรท่าอากาศยานกรุงเทพ โทร. 5237474 ฝ่ายตรวจของผู้โดยสาร โทร. 5237332 งานประชาสัมพันธ์ กรมศุลกากร โทร. 2494148 ที่มา กรมศุลกากร
  • 18. ที่พักอาศัยในอุทยานแห่งชาติ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจโดยอาศัยธรรมชาติระดับใหญ่ที่สุด ได้แก่ อุทยานแห่งาติ (NATIONAL PARK) ในปัจจุบันกรมป่าไม้ กองอุทยานแห่งชาติ ได้ประกาศเขตอุทยานแห่งชาติจานวน 59 แห่ง ใน จานวนนี้มีอุทยานแห่งชาติ 25 แห่ง ที่มีสิ่งอานวยความสะดวก ทีพักอาศัย สาหรับพักค้างแรม เช่น บังกะโล ค่ายพักแรม สถานที่ตั้งเต็นท์พักแรมและโรงแรม ดังรายละเอียด ดังนี้ อุทยานแห่งชาติ ระยะทางจากกทม. ที่พัก (กิโลเมตร) บังกะโล ที่ตั้งแคมป์ 1. เขาใหญ่ นครราชสีมา 250 19 ปราจีนบุรี สระบุรี นครนายก อุทยานแห่งชาติ ระยะทางจากกทม. ที่พัก (กิโลเมตร) บังกะโล ที่ตั้งแคมป์ 2. เขาชะเมา ระยอง 296 7 3. หมู่เกาะอ่างทอง สุราษฎร์ธานี 885 5 4. ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ 767 5 5. เขาสามล้าน สระบุรี 113 2 6. รัตนโกสินทร์ กาญจนบุรี 225 12 7. อ่าวพังงา พังงา 719 - 8.รามกาแหง สุโขทัย 450 1 9. เอราวัณ (เขาสลอบ) กาญจนบุรี 190 5 10. เขาสามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์ 300 5 11. เขาคิชกูฎ จันทบุรี 350 5 12. ตะรุเตา สตูล 1,300 12 13. ไทรโยค กาญจนบุรี 210 11 14. ทุ่งแสลงหลวง พิษณุโลก,เพชรบูรณ์ 610 4 15. ภูเรือ เลย 610 8 16. ดอยขุนตาล ลาพูน 683 11 17. ลานสาง ตาก 430 1 18. ภูพาน สกลนคร 570 -
  • 19. 19. ทะเลบัน สตูล 1,310 10 20. เขาหลวง นครศรีธรรมราช 1,230 5 21. น้าหนาว เพชรบูรณ์,ชัยภูมิ 439 9 22. ภูกระดึง เลย 444 16 23. แก่งกระจาน เพชรบุรี 200 6 24. เขาสระบาป จันทบุรี348 5 25. ตานโตน ชัยภูมิ 350 3 หมายเหตุ : 1. ราคาบังกะโล แตกต่างกันในอุทยานแห่งชาติประมาณตั้งแต่ 200-1,200 บาทต่อคืน . 2. ราคาค่าบริการในการตั้งแคมป์ คิดคนละ 5 บาทต่อคืน 3. การติดต่อจองที่พัก ควรติดต่อโดยตรงที่กองอุทยานแห่งชาติ กรมป่าไม้ ถนนพหลโยธิน กทม. โทร 579-0529 4. ในจานวนอุทยานแห่งชาติ 59 แห่ง มีอุทยานเพียง 25 แห่งที่มีการจัดการเรื่องที่พัก การตั้ง ค่ายพักแรมทาง กองอุทยานแห่งชาติมีความจาเป็นอย่างรีบด่วนที่จะจัดบริการสิ่งอานวยความสะดวกทุก อุทยาน สนามกีฬากอล์ฟทั่วประเทศไทย กีฬากอล์ฟเป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมมากในระดับชาติ จัดว่าเป็นกีฬาสาหรับผู้เล่นที่มีสถานะทาง เศรษฐกิจ การเมือง และสังคมสูง กีฬาประเภทนี้จะมีการลงทุนสูงในเรื่องของสิ่งอานวยความสะดวก อาคารสถานที่ อุปกรณ์ เจ้าหน้าที่ พนักงานการจัดเวลาการเล่นการฝึกซ้อม และค่าบริการ เป็นต้น จาก การรวบรวมรายชื่อสนามกอล์ฟในประเทศไทย ในปี 2531 มีสนามกอล์ฟทั่วประเทศ 24 สนาม เป็นสนาม ขนาด 9 หลุม จานวน 4 แห่ง และขนาด 27 หลุม 1 แห่ง อีก 19 แห่งเป็นสนามกอล์ฟ 18 หลุม ดังนี้ ชื่อสนามกอล์ฟ บริเวณที่ตั้ง ขนาด 9 หลุม 18 หลุม 27 หลุม 1. สนามกอล์ฟทหารบก กทม. รามอินทรา 2. กรุงเทพกรีฑากทม. หัวหมาก 3. นวธานีร กทม. สุขาภิบาล 4. ทหารเรือ กทม. บางนา 5. ศูนย์ฝึกการรถไฟ กทม. วิภาวดีรังสิต 6. ราชกรีฑาสโมสร กทม. อังรีดูนัง
  • 20. 7. ดุสิต กทม. พิษณุโลก 8. ทหารอากาศ กทม. ดอนเมือง 9. สนามยูนิโก้ กทม. หัวหมาก 10. เอกชัย สมุทรสาคร 11. สวนสามพราน นครปฐม ชื่อสนามกอล์ฟ บริเวณที่ตั้ง ขนาด 9 หลุม 18 หลุม 27 หลุม 12. บางพระ ชลบุรี 13. คอหงส์ หาดใหญ่, สงขลา 14. ลานนา เชียงใหม่ 15. ยิมคาน่า เชียงใหม่ 16. พลูตาหลวง ชลบุรี 17. สยามคันทรีคลับ พัทยา ชลบุรี 18. ทองใหญ่ หาดสมิหลา, สงขลา 19. ภูเก็ต หาดสุรินทร์, ภูเก็ต 20. เขาใหญ่ นครราชสีมา 21. หลวงหัวหิน ประจวบคีรีขันธ์ 22. แห่งประเทศไทย บางนา – ตราด 23. เมืองเอก ปทุมธานี 24. ร.ร.นายร้อยพระจุลจอมเกล้า เขาชะโงก, นครนายก