SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สิ่งมีชีวิต
โลกของเรามีอายุกว่า 4,600 ล้านปี (4,700 ล้านปี) หลังจากที่โลกเย็นตัวลง 3,200 ล้านปี สิ่งมีชีวิตชนิดแรกเกิดขึ้น
เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในน้าที่เป็นเซลล์โพรคาริโอต คือสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์
ที่ไม่เป็นเนื้อเยื่อ ได้แก่ แบคทีเรียบางชนิด และสาหร่ายสีน้าเงิน สิ่งมีชีวิตที่เป็นเซลล์ยูคาริโอต ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส
ได้แก่ โพรโทซัว สาหร่ายสีเขียว ปลา เกิดขึ้นเมื่อ 500-700 ล้านปีมาแล้ว พืชที่มีท่อลาเลียง เกิดเมื่อ 400 ล้านปีมาแล้ว
ไดโนเสาร์ กาเนิดเมื่อ 200 ล้านปีมาแล้ว สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม เกิดเมื่อ 50 ล้านปีมาแล้ว และมนุษย์กาเนิดอยู่ในช่วง 1.8 ล้าน
ปี – 1 หมื่นปี มาแล้ว
กาเนิดของโมเลกุลสารอินทรีย์
สแตนลีย์มิลเลอร์ (Stanley Miller) ได้ทาการทดลอง โดยการจาลองสถานการณ์บรรยากาศของโลกแรกเริ่ม
โดย บรรจุแก๊สมีเทน (CH4) แอมโมเนีย (NH3) ไฮโดรเจน (H2) และน้า (H2O) ในหลอดแก้วและผ่านกระแสไฟฟ้าลงไป เมื่อ
ผ่านไประยะเวลาหนึ่ง นาสารละลายในหลอดแก้วนามาวิเคราะห์ พบสารจาพวก กรดอมิโน กรดอะซิติก กรดแลกติก ยูเรีย และ
ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ซึ่งต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้ทาการทดลองเลียนแบบมิลเลอร์ สามารถผลิตกรดอะมิโน ได้18 ชนิด ซึ่งเป็น
สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิต ( กรดอะมิโนเป็นสารประเภทโปรตีน) นักวิทยาศาสตร์จึงสันนิษฐานว่าโปรตีนคงเกิดขึ้นก่อน และ
ประกอบเป็นเซลล์แรกเริ่ม สารอื่นๆ เกิดขึ้นภายหลังจากกระบวนการวิวัฒนาการ
การทดลองของสแตนลีย์มิลเลอร์
ชื่อ .................................................. ชั้น ............... เลขที่ ................
2
ลาดับในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต โดยเรียงจากหมู่ใหญ่ไปหาหมู่เล็กกว่าดังนี้
1. อาณาจักร (Kingdom)
2. ไฟลัม (Phylum) สาหรับพืชใช้ดิวิชัน (Division)
3. คลาส (Class)
4. ออร์เดอร์ (Order)
5. แฟมิลี (Family)
6. จีนัส (Genus)
7. สปีชีส์ (Species)
สปีชีส์ ในทางชีววิทยา หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ผสมพันธุ์กันได้ให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน
มนุษย์ อยู่ใน อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา ซับไฟลัมเวอร์บราตา คลาสแมมาเลีย ออร์เดอร์ไพรเมต
แฟมิลีHominidae (โฮมิไนด์) จีนัส Homo (โฮโม) สปีชีส์ Homo sapiens (โฮโมเซเปียนส์)
ในแต่ละระดับอาจมีหมู่ย่อยระหว่าง ระดับขั้น 2 กับ 3 หรืออื่นๆ จะใช้“ซับ (sub)” เพิ่มเพื่อแยกย่อยอีก เช่น ระหว่าง
ไฟลัมกับคลาส อาจมีหมู่ย่อยที่เล็กกว่าไฟลัมแต่ใหญ่กว่าคลาส เรียกหมู่ย่อยนี้ว่า “ซับไฟลัม” ในระดับขั้นอื่นๆก็เช่นกัน ดังนั้นจึง
อาจมี “ซับคลาส” “ซับออร์เดอร์”
อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร คือ
1. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) 4. อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera)
2. อาณาจักรสัตว์(Kingdom Metazoa or Animalia) 5. อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi)
3. อาณาจักรโพรติสตา (Kingdom protista)
สิ่งมีชีวิต
อาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว์ อาณาจักรโพรติสตา อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรฟังใจ
สิ่งมีชีวิตมีรูปร่างแตกต่างกันไป สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง มีคลอโรฟิลล์เคลื่อนที่เองไม่ได้จะจัดอยู่ในอาณาจักรพืช
พวกที่ต้องอาศัยอาหารจากผู้อื่นและเคลื่อนที่ได้เองจัดอยู่ในอาณาจักรสัตว์พวกที่มีลักษณะบางอย่างที่ไม่สามารถจัดอาณาจักรพืช
หรืออาณาจักรสัตว์ได้เช่น ยูกลีนา เคลื่อนที่ได้มีคลอโรพลาสต์ ซึ่งก้ากึ่งระหว่างพืชและสัตว์ จะจัดอยู่ในอาณาจักรโพรติสตา
(ยังมีสาหร่าย แบคทีเรียบางชนิดและเห็ดราบางชนิด จัดอยู่ในอาณาจักรนี้ด้วย) ส่วนแบคทีเรียและสาหร่ายสีน้าเงินจัดอยู่ใน
อาณาจักรมอเนอรา และเห็ด รา จัดอยู่ในอาณาจักรฟังไจ ไวรัส (virus) และไวรอยด์(viroids) มีโครงสร้างไม่ครบถ้วนเป็นเซลล์
จึงไม่จัดอยู่ในอาณาจักรใดๆ แต่นักชีววิทยาบางกลุ่มจัดไว้ในอาณาจักรไวรา (Kingdom Vira)
ลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต
ลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
แบคทีเรีย
แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีอยู่ทั่วไปทุกหนทุกแห่ง แบคทีเรียส่วนใหญ่ดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลายจึง
เป็นตัวการสาคัญที่ทาให้อาหารบูดเน่า แบคทีเรียอาจจาแนกตามรูปร่างได้ 3 กลุ่ม คือพวกรูปร่างกลม เรียกว่า คอคคัส พวก
รูปร่างเป็นท่อนเรียกว่าบาซิลลัส และพวกรูปร่างเป็นเกลียวเรียกว่าสไปริลลัม แบคทีเรียมีขนาดประมาณ 0.001-0.005 มิลลิเมตร
เซลล์ประกอบด้วยโพรโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ และผนังเซลล์ซึ่งเป็นส่วนที่ทาหน้าที่ให้รูปทรงของเซลล์คงที่ ลักษณะสาคัญอีก
ประการหนึ่งของแบคทีเรียคือ นิวเคลียสไม่มีเยื่อหุ้ม
3
นอกจากดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลายแล้ว แบคทีเรียบางชนิดก็เป็นปรสิตของสิ่งมีชีวิตอื่น บางชนิดมี
คลอโรฟิลล์จึงสามารถสังเคราะห์อาหารได้โดยใช้พลังงานจากแสง บางชนิดก็สามารถสังเคราะห์อาหารได้โดยใช้พลังงานจาก
สารประกอบอินทรีย์
โพรโทซัว
เป็นสิ่งมีชีวิตเซลเดียวที่มีนิวเคลียสที่แท้จริง คือ เป็นเซลล์ที่นิวเคลียสมีเยื่อหุ้ม โพรโทซัวบางชนิดมีรูปร่างที่แน่นนอน
ตัวอย่างเช่น พารามีเซียม มีรูปร่างคล้ายรองเท้าแตะ วอร์ติเซลลามีรูปร่างคล้ายกระดิ่ง บางชนิดมีรูปร่างไม่แน่นอน คือรูปร่างจะ
เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่ เช่น ยูกลีนา และอะมีบา
ลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
สิ่งมีชีวิตทั่วไปจะประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์มาอยู่รวมกัน โดยเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายกันหรือเป็นเซลล์ชนิดเดียวกัน
มารวมกัน ทางานอย่างเดียวกันเรียกว่า “เนื้อเยื่อ” (tissues) เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อบุผิว (epidermis) เนื้อเยื่อประสาท เป็นต้น
สาหรับในพืช คือ เนื้อเยื่อเจริญ
เนื้อเยื่อชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันมาร่วมกันทางานอย่างเดียวกันเรียกว่า “อวัยวะ” (organ) เช่น หัวใจ สมอง ตับ
ปอด ฯลฯ
กลุ่มของอวัยวะที่มาร่วมกันทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า “ระบบ” (system) เช่น ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร
ระบบขับถ่าย ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ
ประวัติการค้นพบเซลล์
กาลิเลอิ กาลิเลโอ(Galilei Galileo) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียน ประดิษฐ์แว่นขยายส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ราวๆต้น
คริสต์ศตวรรษที่ 17
อันโตนี วาน เลเวนฮุก หรือ ลิวเวนฮอก (Antony Van Leeuwenhoek) นักวิทยาศาสตร์ชาวดัช (ฮอลันดา) ได้ประดิษฐ์
กล้องจุลทรรศน์เป็นคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2193
รอเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายสูงขึ้น ใช้ตรวจดู
โครงสร้างของชิ้นไม้คอร์กที่ฝานบางๆ พบว่าประกอบด้วยห้องเล็กๆ จานวนมาก เขาจึงตั้งชื่อว่า “เซลล์” ซึ่งแปลว่าห้องเล็กๆ เมื่อ
พ.ศ. 2208
มัททีอัส ยาคอบ ชไลเดน (Matthias Jacob Schleiden) นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้พบว่า “พืชทั้งมวลประกอบไป
ด้วยเซลล์ทั้งสิ้น” เมื่อ พ.ศ. 2381
เทโอดอร์ ชวันน์ หรือ ชวานน์ (Theodor Schwann) นักสัตวิทยาชาวเยอรมันได้พบว่า “สัตว์ทุกชนิดก็ประกอบไปด้วย
เซลล์” เมื่อ พ.ศ. 2382
ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory)
ชวันน์ และ ชไลเดน ได้ร่วมมือกันจัดตั้งทฤษฎีเซลล์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2382 ซึ่งมีใจความว่า “สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วย
เซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์”
เซลล์ (Cell) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีขนาดแตกต่างกัน ตั้งแต่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
จนกระทั่งมีขนาดใหญ่ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
4
ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืช
1. ผนังเซลล์ (Cell Wall) คือส่วนที่อยู่นอกสุดของเซลล์ มีเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น ทาหน้าที่ให้ความแข็งแรงและทา
ให้เซลล์คงรูปอยู่ได้พบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1654 โดย โรเบิร์ต ฮุค ประกอบด้วยสารจาพวกเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่และสารพวก
เพคติน ลิกนิน ฮีมิเซลลูโลส ซูเบอริน ไคติน และ คิวติน
2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยสารประเภทไขมันและโปรตีน พบได้ทั้งใน
เซลล์ของพืชและเซลล์ของสัตว์ ทาหน้าที่ควบคุมเซลล์ให้คงรูปอยู่ได้ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าหรือออกจาก
เซลล์เช่น น้า อาหาร อากาศ และสารละลายต่าง ๆ จึงมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (semi permeable membrane)
3. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเป็นของเหลวที่มีสิ่งต่างๆ ปนอยู่ คือ น้า โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แร่ธาตุ
และยังเป็นแหล่งที่อยู่ของออร์แกเนลล์ หลายชนิด เช่น
3.1 ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) ทาหน้าที่เผาผลาญอาหารเพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ พบมากในเซลล์ไข่
หอยเม่น เซลล์ตับ ไม่พบในเซลล์แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน
3.2 คลอโรพลาสต์(Chloroplast) มีหน้าที่ดูดพลังงานแสงมาใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง พบเฉพาะในเซลล์
พืช สาหร่ายและยูกลีน่า ไม่พบในเซลล์สัตว์สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน แบคทีเรีย เห็ด รา
3.3 ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดขรุขระ (RER) ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนส่งออกไปใช้นอกเซลล์ โดยส่งผ่าน
ทาง กอลจิบอดี พบมากที่ตัวอ่อน ต่อมน้าลาย ต่อมพิษของงู
3.4 ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดเรียบ (SER) ทาหน้าที่กาจัดสารพิษในเซลล์ตับ สังเคราะห์ไขมัน พบมากที่เซลล์
ตับ อัณฑะ รังไข่
3.5 ไรโบโซม (Ribosome) ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนไว้ใช้ในเซลล์ พบในเซลล์ทุกชนิด ยกเว้นเซลล์เม็ด
เลือดแดงของคน เป็นออร์แกเนลล์ที่เล็กที่สุดและไม่มีเยื่อหุ้ม
3.6 กอลจิบอดี (Golgi bodies) ทาหน้าที่สะสมโปรตีนจาก RER เพื่อส่งออกนอกเซลล์ พบมากที่ต่อมน้าลาย
ต่อมน้านม
5
3.7 ไลโซโซม (Lysosome) ทาหน้าที่ย่อยสลายสารต่างๆ และสิ่งแปลกปลอมที่เซลล์ไม่ต้องการ พบมาก
ในเซลล์เม็ดเลือดขาว หางลูกอ๊อด มีชื่อที่คนทั่วไปขนานนามว่า”ถุงฆ่าตัวตาย” (Suicide bag of cell:ซูอิไซด์แบ็ก ออฟ เซลล์)
3.8 แวคิวโอล (Vacuole) เป็นแหล่งสะสมสารอาหารต่างๆ ซึ่งในเซลล์พืชจะมีขนาดใหญ่มาก
4. นิวเคลียส (Nucleus) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของเซลล์อยู่ในไซโทพลาซึม มีลักษณะค่อนข้างกลม แต่อาจพบ
รูปร่างรี แบน หรือไม่มีรูปทรงก็ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ค้นพบโดย โรเบิร์ต บราวน์ (Robert
Brown) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ นิวเคลียสทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของเซลล์ ถ้าไม่มีนิวเคลียสจะไม่มีการ
แบ่งเซลล์และเซลล์จะไม่มีการเจริญเติบโต และนิวเคลียสยังมีหน้าที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส
มีส่วนประกอบสาคัญ 2 อย่าง คือ
4.1 นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ประกอบด้วยสารประเภท DNA และ RNA เป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่งที่มีการสร้าง
ไรโบโซม เมื่อไรโบโซมสร้างเสร็จแล้วจะไหลออกไปสู่ไซโทพลาซึมโดยผ่านทางช่องของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อทาหน้าที่
สังเคราะห์โปรตีนให้แก่เซลล์และส่งออกไปใช้นอกเซลล์
4.2 โครมาทิน (Chromatin) คือร่างแหของโครโมโซม โครโมโซมประกอบด้วย DNA หรือที่เรียกว่า ยีน และ
โปรตีนหลายชนิดบน DNA จะมีรหัสพันธุกรรมอยู่ รหัสพันธุกรรมดังกล่าวจะทาหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีน และ DNA
จะเป็นตัวควบคุมการแสดงออกของลักษณะต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต โดยการควบคุมโครงสร้างและปริมาณโปรตีนให้ได้คุณภาพและ
ปริมาณโปรตีนที่เหมาะสม
ทาหน้าที่เฉพาะของเซลล์ชนิดต่างๆ
เซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่างแตกต่างกันไป เพราะเซลล์แต่ละชนิดจะถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่เฉพาะแตกต่างกัน
1. เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell) ทาหน้าที่เป็นข้อมูลทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดให้แก่รุ่นลูก โดยเพศผู้จะสร้าง อสุจิ ส่วน
เพศเมียจะสร้างไข่
2. เซลล์กล้ามเนื้อ (Muscle cell) มีความสามารถที่จะหดสั้นและยืดหยุ่นได้เพื่อทาให้เกิดการเคลื่อนไหว
3. เซลล์ประสาทสมอง (Brain nerve cell)ทาหน้าที่ส่งสัญญาณประสาท(ไฟฟ้า) ไปยังเซลล์ประสาทอื่น ที่เชื่อมโยง
กันอยู่
4. เซลล์ประสาทสั่งงาน (Motor nerve cell) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว โดยเซลล์ประสาทนี้จะส่งสัญญาณ
ประสาทจากสมองไปยังกล้ามเนื้อ
5. เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell)ทาหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย
6. เซลล์ผิวหนัง (Skin cell) ทาหน้าที่ห่อหุ้มร่างกายและป้องกันอันตรายให้แก่อวัยวะภายใน โดยจะเรียงตัวเป็นชั้นๆ
7. เซลล์เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell ) ทาหน้าที่ลาเลียงแก๊สออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย
รูปเซลล์อะไรจ๊ะ ช่วยตอบหน่อย (เขียนชื่อข้างล่างภาพ)
……………………
6
สาระเพิ่มเติม
ผนังเซลล์(Cell wall) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุดของเซลล์พืช ประกอบด้วยเซลล์ลูโลสเป็นส่วนใหญ่ ทาหน้าที่สร้างความ
แข็งแรง ในเซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่ก็สามารถสร้างความแข็งแรงได้โดยมีสารเคลือบพวกไกลโคโปรตีน (glycoprotein) และ
เซลล์ของไดอะตอมมีสารเคลือบเป็นพวกซิลิกา
เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อบางๆประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน ทาหน้าที่ความคุมปริมาณสารและชนิดสาร
ที่ผ่านเข้าหรือออกจากเซลล์จึงมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Semi permeable membrane)
โพรโทพลาซึม (Protoplasm) เป็นไซโทพลาซึมและนิวเคลียส
คาสั่ง จงตอบคาถามและเติมข้อความให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. พืชจะประกอบด้วยหน่วยเล็กที่สุด ซึ่งมีความสาคัญต่อพืชมาก คือ......................................……………………………….…
2. ผนังเซลล์ คือ ...................................................................................................................…… ………………………….…..
และ มีหน้าที่ ....................................................................................................................……. ………………………….…..
ค้นพบโดย..........................................................................................................................…… ………………………….….
3. ผนังเซลล์ประกอบด้วยสารพวก..............................................เป็นส่วนใหญ่
4. เยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะ ...........................................ประกอบด้วยสารประเภท....................…. ………………………….......
และมีหน้าที่ ......................................................................................................................…… ………………………….…..
5. เยื่อหุ้มเซลล์พบใน.............................................................................................................…. …………………………..……
6. ไซโทพลาซึม มีลักษณะ ....................................................................................................…. ………………………….……
7. ไมโทคอนเดรีย ทาหน้าที่ ...................................................................................................… ………………………….……
8. คลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่ ....................................................................................................….. ………………………….…..
9. ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดเรียบ ทาหน้าที่ ..........................................................................................…. ……………………
10. ไรโบโซม ทาหน้าที่ ..........................................................................................................…. ………………………….…..
11. กอลจิบอดี ทาหน้าที่ ........................................................................................................…. ………………………….……
12. ไลโซโซม ทาหน้าที่ ............................................................................................................. ………………………….….
13. แวคิวโอล ทาหน้าที่ .........................................................................................................…. ………………………….….
14. นิวเคลียส ทาหน้าที่ .........................................................................................................….. ………………………….….
ค้นพบโดย...................................................................................................................…….. ………………………….…
15. นิวคลีโอลัส ทาหน้าที่ ......................................................................................................…. ………………………….….
ประกอบด้วยสารประเภท..................................................................................................….. ………………………….…
16. DNA หรือ ยีน มีหน้าที่ ..................................................................................................…. ………………………….….
17. ทฤษฎีเซลล์กล่าวว่า “…………………………………………………………………………………………………….”
7
ส่วนประกอบและวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์
1. วางกล้องจุลทรรศน์ไว้ในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ ปรับกระจกใต้กล้องเพื่อให้แสงสว่างผ่านเข้าสู่ลากล้องให้พอเหมาะ
ถ้าเป็นกล้องที่มีไฟในตัว ก็เสียบปลั๊กไฟและเปิดสวิตช์ใช้แสงจากหลอดไฟฟ้าในตัวกล้องได้เลย
2. วางสไลด์ลงบนแท่นวางสไลด์ ใช้ที่หนีบแผ่นสไลด์จับไม่ให้สไลด์เลื่อน โดยให้วัตถุที่จะตรวจดูอยู่ในตาแหน่งที่ แสง
สว่างจากใต้กล้องผ่านได้
3. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุให้กาลังขยายต่าสุดมาอยู่ตรงตาแหน่งของวัตถุที่จะตรวจดู
4. มองที่แท่นวางวัตถุ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้แผ่นสไลด์ที่วางบนแทนวางวัตถุอยู่ใกล้เลนส์ใกล้วัตถุให้มากที่สุด
แล้วมองผ่านเลนส์ใกล้ตา ค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้แผ่นสไลด์ออกห่างจากเลนส์ใกล้วัตถุ จนกระทั่งเห็นภาพปรากฏ
ชัดเจน
5. ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและเห็นรายละเอียดมากขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงเข้ามา
แทนที่เลนส์วัตถุอันเดิม ปรับภาพให้ชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดและหมุนปุ่มเลื่อนแผ่นสไลด์หาตาแหน่งที่เหมาะสม
6. ควรฝึกมองผ่านเลนส์ตาด้วยการลืมตาทั้งสองข้าง
(กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา × กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ)
กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา สามารถถอดเปลี่ยนได้ มีหลายขนาด ได้แก่ 6X , 10X , 15X , 16X , 20X
กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ มีหลายขนาด ได้แก่ 4X (คาดด้วยสีแดง) , 10X (สีเหลือง) , 40X (สีฟ้า) , 100X (สีขาว)
จงคานวณกาลังขยายของกล้อง
1. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 6X กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 100X กาลังขยายของกล้อง
จุลทรรศน์ เป็นเท่าใด ตอบ ...................................................................
2. กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ 24 เท่า ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ………… ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ
……………
3. วัตถุขนาด 0.001 มิลลิเมตร ถูกกล้องจุลทรรศน์ขยาย 400 เท่า จะมีขนาดภาพ ......................... มิลลิเมตร
กระจกเงา
ปุ่ มปรับภาพ
หยาบ
เลนส์ใกล้
ตา
ลากล้อง
ปุ่ มปรับภาพ
ละเอียด
ไดอะแฟรม
เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายสูง
ที่หนีบแผ่น
สไลด์แท่นวางวัตถุ
ฐาน
แขน
เลนส์ใกล้วัตถุ
กาลังขยายต่า
8
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์
วันที่ .................. เดือน .................... พ.ศ. ...................
จุดประสงค์ของกิจกรรม
1. เตรียมสไลด์เซลล์พืชเพื่อนาไปศึกษาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ได้
2. สังเกต วาดรูป และบันทึกลักษณะต่าง ๆ ของเซลล์พืชได้
3. สรุปเกี่ยวกับรูปร่างและส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์พืชได้
วัสดุ อุปกรณ์ และ สารเคมี (สาหรับ 1 กลุ่ม)
1. สาหร่ายหางกระรอก 1 สาย
2. หัวหอม 1 หัว
3. ใบว่านกาบหอย 1 ใบ
4. กล้องจุลทรรศน์ 1 กล้อง
5. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 1 ชุด
6. ใบมีดโกน 1 อัน
7. หลอดหยด 1 อัน
8. น้า 10 cm3
9. ไม้จิ้มฟันพันสาลี 1 อัน
10. เยื่อบุข้างแก้ม เขี่ยจากเนื้อเยื่อด้านในแก้ม
ขั้นตอนการทดลอง
1. หยดน้าลงบนกระจกสไลด์1 - 2 หยด
2. เด็ดใบอ่อนที่บริเวณยอดของสาหร่ายหางกระรอกจานวน 1 ใบ วางลงไปบนหยดน้าและปิดด้วยกระจกปิดสไลด์
ระวังอย่าให้มีฟองอากาศ
3. นาไปตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ วาดรูปและบันทึกผล
4. ทาซ้าข้อ 2- 3 โดยเปลี่ยนจากใบสาหร่ายหางกระรอกเป็นเยื่อหอมด้านในออกมาและใช้มีดโกนตัดให้มีขนาด
ประมาณ 0.5 cm × 0.5 cm วาดรูปและบันทึกผล (ย้อมสีด้วยสารละลายไอโอดีน)
5. นาใบว่านกาบหอยมาฉีกแฉลบให้ได้เยื่อบางๆจากทางด้านหลังใบซึ่งมีสีม่วง และใช้มีดโกนตัดให้มีขนาดประมาณ
0.5 cm × 0.5 cm แล้วนาไปตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ด้วยวิธีการเช่นเดียวกัน
6. ใช้สาลีพันบนไม้จิ้มฟันนาไปเขี่ยและหมุนวนที่เยื่อบุด้านในแก้ม แล้วนาไปกดลงบนแผ่นสไลด์ ใช้เมทิลีนบลูย้อมสี
ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ นาไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกตและวาดภาพ
--------------------------------
เริ่มใช้กล้องจุลทรรศน์ที่กาลังขยายต่าสุดและการเก็บกล้องจะต้องปรับกาลังขยายของกล้องไว้ที่กาลังขยายต่าสุดเช่นเดิม
9
ตารางบันทึกผลการทดลอง (นักเรียนช่วยชี้ส่วนประกอบเซลล์ที่พบ โดยโยงเส้น ชี้ไปยังภาพ)
รูปวาดภาพเซลล์ที่สังเกตเห็น ส่วนประกอบ
เซลล์เยื่อหัวหอม
1. ผนังเซลล์
2. เยื่อหุ้มเซลล์
3. นิวเคลียส
4. ไซโทพลาซึม
5. คลอโรพลาสต์
เซลล์สาหร่ายหางกระรอก
1. ผนังเซลล์
2. เยื่อหุ้มเซลล์
3. นิวเคลียส
4. ไซโทพลาซึม
5. คลอโรพลาสต์
เซลล์ผิวใบว่านกาบหอย
1. ผนังเซลล์
2. เยื่อหุ้มเซลล์
3. นิวเคลียส
4. ไซโทพลาซึม
5. คลอโรพลาสต์
เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม 1. ผนังเซลล์
2. เยื่อหุ้มเซลล์
3. นิวเคลียส
4. ไซโทพลาซึม
5. คลอโรพลาสต์
สรุปผลการทดลอง
……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
กาลังขยาย 100 เท่า
กาลังขยาย 1000 เท่า
กาลังขยาย 400 เท่า
กาลังขยาย 400 เท่า
10
คาสั่ง จงเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. เซลล์ที่ไม่มีคลอโรพลาสต์ ได้แก่ ………………………………………………………………………………………….
2. เซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์ ได้แก่ … …………………………………………………………………………………………….
3. เซลล์ที่มีเซลล์คุมได้แก่ …………………………………………………………………………………………………….
4. เซลล์เยื่อหัวหอม เซลล์สาหร่ายหางกระรอก เซลล์ผิวใบว่านกาบหอย เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม มีความแตกต่างกันอย่างไร
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ถ้าแสงไม่เข้ากล้อง มองแล้วมืดไม่เห็นภาพ จะต้องทาอย่างไร ………..…………………….………………………………
6. ในขณะมองผ่านเลนส์ตา จะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบอย่างไร .......................……………………………………………
7. เมื่อหมุนปุ่มปรับภาพหยาบแล้ว มองภาพไม่ชัดเจน จะต้องทาอย่างไร ……………………………………………………
8. จะต้องใช้กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์เริ่มแรกอย่างไร …………………………………………………..………….…
9. ถ้าต้องการกาลังขยายเพิ่มขึ้นจะต้องทาอย่างไร ……………………………………………………………………………
10. คิดกาลังขยายของกล้องอย่างไร ……………………………………………………………………………………………
11. ในการใช้กล้องจุลทรรศน์ เริ่มต้นจากการเลนส์ที่มีกาลังขยาย …………………………………………………………….
12. ถ้าต้องการปรับภาพขณะใช้กล้องจุลทรรศน์ ให้ชัดมากยิ่งขึ้นจะต้องหมุนปรับที่ …………………………………………
13. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ทาได้โดย ………………………………………………………………………………..
14. เซลล์หมายถึง ……………………………………………………………………………………………………………….
15. ผู้ที่ตั้งชื่อเซลล์จากการศึกษาเนื้อเยื่อของไม้คอร์กคือ ………………………………………....……………………………..
16. เซลล์ประสาทมีส่วนที่ยื่นยาวและแตกแขนงออกไปเพื่อ ……………………………………………………………………
17. เยื่อเลือกผ่าน (Semi permeable membrane) หมายถึง ………………………………………..……………………………..
18. โครโมโซมแต่ละแท่งประกอบด้วย ……………………………………….. ซึ่งควบคุมลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิต
19. ไซโทพลาซึมเป็นของเหลวที่มีสารเคมีหลายชนิด รวมทั้งส่วนที่เป็น …………………..……………………………………
20. สิ่งที่อยู่บนโครโมโซมเรียกว่า ………………………………………………………………………………………………..
21. เซลล์ที่มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วเรียกว่า………………………………………………………….…………………………….
22 เซลล์สัตว์ไม่มี ………………………………………………………………………………………………………………..
23. เซลล์พืชไม่มี ………………………………………………………………………………………………………………..
24. กลุ่มเซลล์ที่เกิดจากแหล่งเดียวกันและทางานร่วมกันเรียกว่า …………………………………………….…………………
25.กล้องจุลทรรศน์กาลังขยาย 2,000 เท่า ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ………… ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ………
26.ขามดขนาด 0.02 มิลลิเมตร ถูกขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์ ที่ใช้เลนส์ใกล้ตา 10X กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 40X ภาพขา
มดมีขนาดใหญ่ขึ้น ...................... มิลลิเมตร
27 ภาพเซลล์พารามีเซียมที่ถูกขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์มีขนาด 1 มิลลิเมตร ถ้าใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายของเลนส์
ใกล้ตา 10X และใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุที่คาดด้วยสีขาว พารามีเซียมมีขนาด ........................ มิลลิเมตร
28. กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ มีกาลังขยายมากที่สุด ...................................... เท่า
11
ประเภทของกล้องจุลทรรศน์
ในปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดาและแบบสเตอริโอ
2. กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและแบบส่องกราด
.....................................................................................
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง
1. Light microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่พบอยู่ทั่วไป โดยเวลาส่องดูจะเห็นพื้นหลังเป็นสีขาว และจะเห็นเชื้อจุลินทรีย์มี
สีเข้มกว่า
2. Dark field microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีพื้นหลังเป็นสีดา เห็นเชื้อจุลินทรีย์สว่าง เหมาะสาหรับใช้ส่องจุลินทรีย์ที่
มีขนาดเล็ก ที่ติดสียาก
3. Phase contrast microscope ใช้สาหรับส่องเชื้อจุลินทรีย์ที่ยังไม่ได้ทาการย้อมสี จะเห็นชัดเจนกว่าLight microscope
4. Fluorescence microscope ใช้แหล่งกาเนิดแสงเป็น อัลตราไวโอเลต ส่องดูจุลินทรีย์ที่ย้อมด้วยสารเรืองแสง ซึ่งเมื่อ
กระทบกับแสง UV จะเปลี่ยนเป็นแสงช่วงที่มองเห็นได้แล้วแต่ชนิดของสารที่ใช้พื้นหลังมักมีสีดา
กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงที่ดีที่สุดในปัจจุบันมีกาลังขยายประมาณ 2,000 เท่า
กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังการขยายสูงมาก เพราะใช้ลาแสงอิเล็กตรอน
แทนแสงปกติและใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์แก้ว เป็นกล้องที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้าง และส่วนประกอบของเซลล์ ได้
อย่างละเอียด ที่กล้องชนิดอื่นไม่สามารถทาได้ โดยทั่วไปมีกาลังขยายสูงถึง 500,000 เท่า
ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
12
สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในน้า
1. อะมีบา (Amoeba) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในน้า หรือที่เปียกชื้น มีรูปร่างไม่แน่นอน เคลื่อนที่โดยการยื่นส่วน
ที่เป็นไซโทพลาซึมออกไป เสมือนเป็นเท้าเทียม หายใจโดยใช้แก๊สออกซิเจน และคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ผ่านทาง
เยื่อหุ้มเซลล์
2. พารามีเซียม (Paramecium) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว รูปร่างคล้ายรองเท่าแตะ มีขนรอบตัวเรียกว่าซีเลีย ใช้โบกพัดใน
การเคลื่อนที่ และโบกพัดให้อาหารเข้าร่องปาก มีการหายใจเช่นเดียวกับอะมีบา
3. ยูกลีนา (Euglena) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มักอยู่ในน้าที่สะอาด มีรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อลอยนิ่งในน้าจะกลม ขณะ
เคลื่อนที่จะยาวรีและบิดเบี้ยวเมื่อเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง มีหนวด 1 เส้น ใช้ในการเคลื่อนที่ มีจุดสีแดงใกล้โคนหนวด มีคลอโรพ
ลาสต์จึงสามารถสร้างอาหารได้เอง หายใจเช่นเดียวกับอะมีบา
4. ไฮดรา (Hydra) เป็นสัตว์น้าขนาดเล็ก มองเห็นด้วยตาเปล่า รูปร่างคล้ายต้นไม้มีขนาดยาว 0.5-1 เซนติเมตรมีหนวด
หลายเส้นใช้จับสัตว์เล็กๆกิน ช่องกลวงกลางลาตัวทาหน้าที่ย่อยดูดซึมอาหาร และใช้หายใจ เคลื่อนที่โดยการขยับฐานไปทีละน้อย
(หมายเหตุ การหายใจหมายถึงการแลกเปลี่ยนแก๊ส) จงบอกชื่อรูปข้างล่างด้วย
5. สไปโรไจรา (Spirogyra) อาศัยอยู่บริเวณผิวน้าหรือแหล่งน้าทั่วๆไป ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกัน
ต่อกันแบบปลายชนปลายเกิดเป็นสายยาว มีกระบวนการของชีวิตครบทั้ง 7 อย่างเกิดขึ้นในแต่ละเซลล์ มีการสร้างอาหาร
เองได้เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์เรียงตัวเป็นเกลียวอยู่ภายในเซลล์
รูปอะไรช่วยตอบที
……………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………….
13
ส่วนประกอบของพืช
ราก พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น หญ้า มะพร้าว กล้วย ตาล อ้อย ฯลฯ จะไม่มีรากแก้ว รากจะมีลักษณะเป็นกระจุก
เรียกว่ารากฝอย ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่ เช่น ละมุด ลาไย มะเฟือง ฯลฯ จะมีรากแก้ว และมีรากขนาดเล็กแยกแตกออกมาเรียกว่า
รากแขนง ทั้งพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่จะมีรากเล็กมาก จานวนมากมายทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า รากขนอ่อนหรือ
ขนราก (Root hair) พืชบางชนิดมีรากสะสมอาหาร เช่น หัวผักกาด แครอท กระชาย หัวมัน มันสาปะหลัง รากกล้วยไม้สามารถ
สังเคราะห์ด้วยแสงได้
ลาต้น เป็นส่วนของพืชที่อยู่เหนือพื้นดิน ทาหน้าที่ยึดกิ่ง ก้านและชูใบ ดอก ผล นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อลาเลียงน้า
แร่ธาตุ สารอาหาร เนื้อเยื่อที่ใช้ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า ท่อลาเลียงน้า หรือ ไซเล็ม ส่วนที่ใช้ลาเลียงอาหาร เรียกว่า
ท่อลาเลียงอาหารหรือโฟลเอ็ม
การเจริญเติบโตของต้นถั่ว
การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต
จนกระทั่งเกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ขึ้น ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทางาน
การเจริญเติบโต ประกอบด้วย 3 กระบวนการ ดังนี้
1. การเพิ่มจานวนเซลล์หรือการแบ่งเซลล์
2. การเพิ่มขนาดของเซลล์หรือการเจริญเติบโตของเซลล์ เป็นการเพิ่มปริมาณของสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ให้มากขึ้น
3. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ เพื่อทาหน้าที่เฉพาะ เช่น เซลล์ท่อลาเลียง เซลล์คุม เซลล์รากขนอ่อน
หลังจากนั้นจะเกิดรูปร่างที่แน่นอน เป็นผลมาจากกระบวนการที่ 1, 2และ 3 ซึ่งจะแตกต่างกันในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด
การเจริญเติบโตของพืชจะเริ่มจากไซโกต (Zygote) เจริญเป็นต้นอ่อน (Embryo) อยู่ในออวุล (Ovule) ซึ่งจะเจริญเป็น
เมล็ด (Seed)
14
การงอกของเมล็ด
โครงสร้างของเมล็ด
เมล็ด (Seed) หมายถึง ออวุลที่เจริญเติบโตเต็มที่ซึ่งเกิดหลังจากการปฏิสนธิกันระหว่างเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย เมล็ด
ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน ดังนี้
1. เปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat หรือ Testa) เป็นส่วนนอกสุดของเมล็ดตามปกติจะหนา เหนียวและแข็ง เพื่อป้องกัน
อันตรายต่าง ๆ และป้องกันการคายน้าจากเนื้อเยื่อในเมล็ด
2. ใบเลี้ยง (Cotyledon) คือใบแรกที่งอกออกจากเมล็ด ทาหน้าที่ย่อย ดูดซึมและสะสมอาหารเพื่อนาไปเลี้ยงต้นอ่อน ใน
พืชใบเลี้ยงคู่จะมีใบเลี้ยง 2 ใบ ส่วนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเพียงใบเดียว
- เอนโดสเปิร์ม (Endosperm) เป็นเนื้อเยื่อที่สะสมอาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อนอาหารที่สะสมไว้ส่วนใหญ่เป็นอาหาร
จาพวกแป้ง มีโปรตีนและไขมันเล็กน้อย พืชใบเลี้ยงคู่จะมีใบเลี้ยงหนาเพราะมีเอนโดสเปิร์มอยู่ในใบเลี้ยง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีใบ
เลี้ยงบาง เพราะไม่มีอาหารสะสม
3. ต้นอ่อนหรือเอมบริโอ (Embryo)
3.1 ยอดแรกเกิด (Plumule:พลูมูเลอ) คือส่วนยอดของต้นอ่อน ซึ่งจะเจริญไปเป็นใบ
3.2 ลาต้น (Stem:สเตม)) เจริญไปเป็นลาต้นที่ใหญ่ขึ้น
3.3 รากแรกเกิด (Radicle:แรดิเคิล) คือส่วนล่างสุดของต้นอ่อนที่เจริญไปเป็นราก
ถ้าเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวรากแก้วจะเจริญเพียงชั่วระยะหนึ่ง หลังจากนั้นจะมีรากฝอยเจริญขึ้นมาทาหน้าที่แทน
พืชมีการเจริญเติบโตเริ่มตั้งแต่เมล็ดได้รับความชื้น รากแรกเกิด (Radicle)จะโผล่พ้นเมล็ดก่อนส่วนอื่นทางรูไมโครไพล์
(Micropyle) ซึ่งอยู่ตรงบริเวณที่เป็นรอยแผลเป็นของเมล็ด จากนั้นใบเลี้ยงงอกโผล่พ้นจากเปลือกหุ้มเมล็ด ยอดแรกเกิดจะเจริญไป
เป็นใบแท้ในขณะที่ลาต้นจะยืดตัวสูงขึ้น ส่วนใบเลี้ยงจะค่อยๆมีขนาดเล็กลงและหลุดไปในที่สุด
ปัจจัยที่จาเป็นต่อการงอกของเมล็ดพืช ได้แก่ น้า ก๊าซออกซิเจน อุณหภูมิที่พอเหมาะ และอาหารซึ่งเก็บใน
เอนโดสเปิร์ม(สาหรับพืชใบเลี้ยงเดี่ยว) หรือใบเลี้ยง (สาหรับพืชใบเลี้ยงคู่)
ลักษณะการงอกของเมล็ดมี 2 แบบ คือ
1. งอกโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน เช่น มะขาม มะม่วง ถั่วดา ถั่วเขียว ดาวเรือง พุทรา ทุเรียน ฯลฯ
2. งอกโดยใบเลี้ยงฝังอยู่ใต้ดิน เช่น เมล็ดข้าว มะพร้าว หญ้า ข้าวโพด ฯลฯ
พืชโดยทั่วไปมีการเจริญเติบโตต่อเนื่องกันในระยะแรกและเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ ต่อมาจึงจะเริ่มมีการเจริญเติบโต
อย่างรวดเร็วและจากนั้นการเจริญเติบโตช้าลงเรื่อยๆจนกระทั่งคงที่ในที่สุด กราฟแสดงการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตจึงแบ่งออก
ได้3 ช่วง ลักษณะรูปกราฟคล้ายตัวเอส (S) ซึ่งเรียกว่าซิกมอยด์เคิร์ฟ (Sigmoid Curve)
3
2
1
ช่วงที่ 1 (กข) เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโตน้อย
ช่วงที่ 2 (ขค) เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
สังเกตได้จากกราฟชันขึ้น
ช่วงที่ 3 (คง) เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตน้อย จนเกือบจะ
คงที่ กราฟจึงมีลักษณะคล้ายเส้นตรง
15
การเจริญเติบโตของเมล็ดถั่ว
การเจริญเติบโตของต้นถั่ว เริ่มตั้งแต่เมล็ดได้รับความชื้น โดยมีส่วนที่ทาหน้าที่ดูดความชื้นให้แก่เมล็ดคือ รอย
แผลเป็น (Raphael:แรฟี) อยู่ผิวนอกของเมล็ด เป็นบริเวณที่เคยติดกับรังไข่ บริเวณรอยแผลเป็นจะมีรูไมโครไพล์ (Micropyle) ซึ่ง
ปลายรากจะโผล่ออกมาจากเมล็ดที่ส่วนนี้ เมื่อแกะเมล็ดถั่วดาเพื่อพิจารณาลักษณะภายใน จะพบว่าต้นอ่อนจะอยู่ติดกับใบเลี้ยงที่
ตาแหน่งหนึ่ง ส่วนเป็นตาแหน่งที่แบ่งต้นอ่อนออกเป็นยอดแรกเกิดและรากแรกเกิด เมื่อต้นอ่อนงอกโผล่พ้นเมล็ดแล้ว ส่วนเหนือ
ใบเลี้ยง (Epicotyls:เอพิคอทิล) และส่วนใต้ใบเลี้ยง (Hypocotyls:ไฮโพคอทิล) จะเจริญเป็นลาต้น และ บริเวณที่รากขยายตัวยาว
ออกมากที่สุด คือ บริเวณปลายราก ส่วนลาต้นที่ขยายตัวยาวออกไป ได้แก่ บริเวณปลายยอด การที่บริเวณปลายราก ปลาย
ยอด มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เพราะบริเวณนี้มีกลุ่มเซลล์ซึ่งแบ่งตัวจานวนมาก มีการขยายขนาดอย่างรวดเร็วและ
ตลอดเวลา เราเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า เนื้อเยื่อเจริญ หรือ แคมเบียม (Cambium) พืชจะมีเนื้อเยื่อเจริญตลอดชีวิตในพืชใบเลี้ยงคู่
นอกจากจะพบเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและและปลายรากแล้วยังจะพบเนื้อเยื่อเจริญแทรกอยู่ระหว่างท่อลาเลียงน้า และท่อ
ลาเลียงอาหารรอบลาต้น เมื่อเซลล์แบ่งตัวเพิ่มจานวนจะทาให้ลาต้นหนาขึ้น
ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด
1. น้า ช่วยให้เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนนุ่ม และช่วยละลายอาหารไปเลี้ยงต้นอ่อน
2. แก๊สออกซิเจน พืชนาไปใช้ในกระบวนการหายใจ
3. อุณหภูมิที่เหมาะสม ประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียสช่วยให้กระบวนการต่างๆ ทางานได้ดีขึ้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช
สิ่งที่ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่
1. แสงแดด พืชนาแสงแดดไปใช้ในการสร้างอาหาร เรียกว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งจะได้น้าตาล
กลูโคส เก็บสะสมที่ส่วนต่างๆ ในรูปของแป้ง
2. แรงโน้มถ่วงของโลก มีผลต่อทิศทางการงอกของรากและลาต้น
3. อากาศ มีแก๊สที่จาเป็นคือ ออกซิเจนใช้ในการหายใจ และ คาร์บอนไดออกไซด์ใช้ในการสร้างอาหาร
4. น้า จะช่วยลดอุณหภูมิให้พอเหมาะแก่การเจริญเติบโต และช่วยละลายสารต่างๆที่จาเป็นในการเจริญเติบโต
5. แร่ธาตุ ช่วยในการทางานของระบบต่างๆ ถ้าพืชขาดจะทาให้โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชผิดปกติ
สังเกตได้จากลักษณะของลาต้น ใบ ดอก ผล เปลี่ยนไปจากเดิม
แร่ธาตุหลัก เป็นธาตุที่พืชต้องการปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K)
แร่ธาตุรอง เป็นธาตุที่พืชต้องการรองลงมาได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กามะถัน (S)
แร่ธาตุเสริม พืชต้องการเล็กน้อย แต่ขาดไม่ได้ ได้แก่ โบรอน (B) แมงกานีส (Mn) เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn)
ทองแดง (Cu) โมลิบดินัม (Mo) คลอรีน (Cl)
สิ่งควรจา ไนโตรเจน บารุงใบ, ฟอสฟอรัส บารุงดอก , โพแทสเซียม บารุงผล
16
คาสั่ง จงตอบคาถามและเติมข้อความให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด
1. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หมายถึง...........................................................................................................................……
2. กระบวนการสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ………………………………………………………………………..
3. ส่วนใดของพืชที่มีการแบ่งเซลล์และขยายขนาดของเซลล์อยู่ตลอดเวลา …………………………………………………….
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
4. โครงสร้างของเมล็ดที่สาคัญ ได้แก่......................................................................................………………………………….
5. เมื่อเกิดการงอกของเมล็ด ต้นอ่อนในเมล็ดจะเกิดกระบวนการ ………………………………………………………………
6. ต้นอ่อนในเมล็ดได้รับพลังงานจาก ………………………………………………………………………………………….
7. เปลือกหุ้มเมล็ดมีประโยชน์ต่อพืชคือ...................................................................................…………………………………
8. ใบเลี้ยง คือ .......................................................................................................................………………. …………………..
9. ใบเลี้ยง ทาหน้าที่ ...........................................................................................................................…………………………...
10. อากาศจาเป็นต่อการงอกของเมล็ดเพราะ …………………………………………………………………………………….
11. สิ่งจาเป็นในการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ …………………………………………………………………………………..
12. ส่วนแรกสุดที่จะโผล่พ้นเมล็ดก่อนส่วนอื่นทางรูไมโครไพล์ คือ..............................................………………………………
13. ปัจจัยที่จาเป็นต่อการงอกของเมล็ดพืช ได้แก่.....................................................................…………………………………..
14. การงอกของเมล็ดพืชโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน ได้แก่..........................................................…………………………………
15. ถ้าโลกไม่มีแสงแดด จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต คือ ………………………………………………………………………
16. แร่ธาตุหลัก เป็นธาตุที่พืชต้องการปริมาณมาก ได้แก่ .............................................................................................................
17. แร่ธาตุรอง เป็นธาตุที่พืชต้องการรองลงมาได้แก่ …………………………………………………………………………….
18. แร่ธาตุเสริม พืชต้องการเล็กน้อย แต่ขาดไม่ได้ ได้แก่ ...........................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................
19. แคมเบียม หมายถึง ..................................................................................................................................................................
20. การเจริญเติบโต จะมีลักษณะเส้นกราฟเป็นรูป ........................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................
21. พืชมีการเจริญเติบโตบริเวณส่วนใดมากที่สุด ...........................................................................................................................
22. ต้นอ่อนประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ได้แก่ .....................................................................................................................................
23. แร่ธาตุที่บารุงใบพืช ทาให้พืชมีสีเขียวสดใส คือ ......................................................................................................................
24. แร่ธาตุที่บารุงดอก ทาให้มีการสร้างดอกที่สมบูรณ์ คือ ...........................................................................................................
25. แร่ธาตุที่บารุงผล ทาให้ผลโตมีความสมบูรณ์ คือ ....................................................................................................................
26. อุณหภูมิที่พอเหมาะในการงอกของเมล็ดพืช อยู่ในช่วง ..........................................................................................................
27. รากฝอยมีลักษณะ ....................................................................................................................................................................
28. ไซโกต หมายถึง ......................................................................................................................................................................
29. บริเวณใดของพืชที่มีการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว ......................................................................................................................
30. รากกล้วยไม้สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เพราะ ..................................................................................................................
31. บริเวณเซลล์คุม มีการสังเคราะห์ด้วยแสงได้เพราะ ................................................................................................................
32. เซลล์คุมเหี่ยว ปากใบจะ เป็นอย่างไร .......................................................................................................................................
33. เซลล์คุมเต่ง ปากใบจะ .............................................................................................................................................................
34. การงอกของต้นถั่วเริ่มจากเมล็ดได้รับความชื้น และมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้คือ ................................................................
35. การงอกของต้นข้าวโพด มีลักษณะแตกต่างจากการงอกของต้นถั่วคือ ...................................................................................

More Related Content

What's hot

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนรากdnavaroj
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemkasidid20309
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
11แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 2)
 
ขนราก
ขนรากขนราก
ขนราก
 
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุบทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
บทที่ 1 อะตอมและตารางธาตุ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืช
 
การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์การแบ่งเซลล์
การแบ่งเซลล์
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory systemชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
ชีววิทยาเรื่องระบบไหลเวียนเลือด circulatory system
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 

Viewers also liked

โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นThanyamon Chat.
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช AnnanetAnana Anana
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557Pinutchaya Nakchumroon
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชเข็มชาติ วรนุช
 

Viewers also liked (14)

โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้นโครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
โครงสร้างและหน้าที่ของรากลำต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanetเนื้อเยื่อพืช Annanet
เนื้อเยื่อพืช Annanet
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช  2557
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช 2557
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืชโครงสร้างและหน้าที่ของพืช
โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
Plant tissues and organs
Plant tissues and organsPlant tissues and organs
Plant tissues and organs
 

Similar to 01เอกสารสอนเสริม01 16

บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตmahachaisomdet
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาmocxx
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนThanyamon Chat.
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะnative
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตpongrawee
 

Similar to 01เอกสารสอนเสริม01 16 (20)

หน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิตหน่วยของสิ่งมีชีวิต
หน่วยของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
Cell
CellCell
Cell
 
Cell
CellCell
Cell
 
01 1
01 101 1
01 1
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตUnlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
Unlock ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียนEvolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
Evolution แก้ไขล่าสุดนักเรียน
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
วิวัฒนาการ
วิวัฒนาการวิวัฒนาการ
วิวัฒนาการ
 
10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy10 intro-taxonomy
10 intro-taxonomy
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
Taxonomy 2
Taxonomy 2Taxonomy 2
Taxonomy 2
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 

01เอกสารสอนเสริม01 16

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 สิ่งมีชีวิต โลกของเรามีอายุกว่า 4,600 ล้านปี (4,700 ล้านปี) หลังจากที่โลกเย็นตัวลง 3,200 ล้านปี สิ่งมีชีวิตชนิดแรกเกิดขึ้น เป็นสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในน้าที่เป็นเซลล์โพรคาริโอต คือสิ่งมีชีวิตที่มีโครงสร้างง่ายๆ ไม่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ ที่ไม่เป็นเนื้อเยื่อ ได้แก่ แบคทีเรียบางชนิด และสาหร่ายสีน้าเงิน สิ่งมีชีวิตที่เป็นเซลล์ยูคาริโอต ซึ่งเป็นเซลล์ที่มีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว สาหร่ายสีเขียว ปลา เกิดขึ้นเมื่อ 500-700 ล้านปีมาแล้ว พืชที่มีท่อลาเลียง เกิดเมื่อ 400 ล้านปีมาแล้ว ไดโนเสาร์ กาเนิดเมื่อ 200 ล้านปีมาแล้ว สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้านม เกิดเมื่อ 50 ล้านปีมาแล้ว และมนุษย์กาเนิดอยู่ในช่วง 1.8 ล้าน ปี – 1 หมื่นปี มาแล้ว กาเนิดของโมเลกุลสารอินทรีย์ สแตนลีย์มิลเลอร์ (Stanley Miller) ได้ทาการทดลอง โดยการจาลองสถานการณ์บรรยากาศของโลกแรกเริ่ม โดย บรรจุแก๊สมีเทน (CH4) แอมโมเนีย (NH3) ไฮโดรเจน (H2) และน้า (H2O) ในหลอดแก้วและผ่านกระแสไฟฟ้าลงไป เมื่อ ผ่านไประยะเวลาหนึ่ง นาสารละลายในหลอดแก้วนามาวิเคราะห์ พบสารจาพวก กรดอมิโน กรดอะซิติก กรดแลกติก ยูเรีย และ ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ซึ่งต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้ทาการทดลองเลียนแบบมิลเลอร์ สามารถผลิตกรดอะมิโน ได้18 ชนิด ซึ่งเป็น สารอินทรีย์ที่พบในสิ่งมีชีวิต ( กรดอะมิโนเป็นสารประเภทโปรตีน) นักวิทยาศาสตร์จึงสันนิษฐานว่าโปรตีนคงเกิดขึ้นก่อน และ ประกอบเป็นเซลล์แรกเริ่ม สารอื่นๆ เกิดขึ้นภายหลังจากกระบวนการวิวัฒนาการ การทดลองของสแตนลีย์มิลเลอร์ ชื่อ .................................................. ชั้น ............... เลขที่ ................
  • 2. 2 ลาดับในการจัดหมวดหมู่ของสิ่งมีชีวิต โดยเรียงจากหมู่ใหญ่ไปหาหมู่เล็กกว่าดังนี้ 1. อาณาจักร (Kingdom) 2. ไฟลัม (Phylum) สาหรับพืชใช้ดิวิชัน (Division) 3. คลาส (Class) 4. ออร์เดอร์ (Order) 5. แฟมิลี (Family) 6. จีนัส (Genus) 7. สปีชีส์ (Species) สปีชีส์ ในทางชีววิทยา หมายถึง กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่ผสมพันธุ์กันได้ให้ลูกที่ไม่เป็นหมัน มนุษย์ อยู่ใน อาณาจักรสัตว์ ไฟลัมคอร์ดาตา ซับไฟลัมเวอร์บราตา คลาสแมมาเลีย ออร์เดอร์ไพรเมต แฟมิลีHominidae (โฮมิไนด์) จีนัส Homo (โฮโม) สปีชีส์ Homo sapiens (โฮโมเซเปียนส์) ในแต่ละระดับอาจมีหมู่ย่อยระหว่าง ระดับขั้น 2 กับ 3 หรืออื่นๆ จะใช้“ซับ (sub)” เพิ่มเพื่อแยกย่อยอีก เช่น ระหว่าง ไฟลัมกับคลาส อาจมีหมู่ย่อยที่เล็กกว่าไฟลัมแต่ใหญ่กว่าคลาส เรียกหมู่ย่อยนี้ว่า “ซับไฟลัม” ในระดับขั้นอื่นๆก็เช่นกัน ดังนั้นจึง อาจมี “ซับคลาส” “ซับออร์เดอร์” อาณาจักรของสิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตแบ่งออกเป็น 5 อาณาจักร คือ 1. อาณาจักรพืช (Kingdom Plantea) 4. อาณาจักรมอเนอรา (Kingdom Monera) 2. อาณาจักรสัตว์(Kingdom Metazoa or Animalia) 5. อาณาจักรฟังไจ (Kingdom Fungi) 3. อาณาจักรโพรติสตา (Kingdom protista) สิ่งมีชีวิต อาณาจักรพืช อาณาจักรสัตว์ อาณาจักรโพรติสตา อาณาจักรมอเนอรา อาณาจักรฟังใจ สิ่งมีชีวิตมีรูปร่างแตกต่างกันไป สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารได้เอง มีคลอโรฟิลล์เคลื่อนที่เองไม่ได้จะจัดอยู่ในอาณาจักรพืช พวกที่ต้องอาศัยอาหารจากผู้อื่นและเคลื่อนที่ได้เองจัดอยู่ในอาณาจักรสัตว์พวกที่มีลักษณะบางอย่างที่ไม่สามารถจัดอาณาจักรพืช หรืออาณาจักรสัตว์ได้เช่น ยูกลีนา เคลื่อนที่ได้มีคลอโรพลาสต์ ซึ่งก้ากึ่งระหว่างพืชและสัตว์ จะจัดอยู่ในอาณาจักรโพรติสตา (ยังมีสาหร่าย แบคทีเรียบางชนิดและเห็ดราบางชนิด จัดอยู่ในอาณาจักรนี้ด้วย) ส่วนแบคทีเรียและสาหร่ายสีน้าเงินจัดอยู่ใน อาณาจักรมอเนอรา และเห็ด รา จัดอยู่ในอาณาจักรฟังไจ ไวรัส (virus) และไวรอยด์(viroids) มีโครงสร้างไม่ครบถ้วนเป็นเซลล์ จึงไม่จัดอยู่ในอาณาจักรใดๆ แต่นักชีววิทยาบางกลุ่มจัดไว้ในอาณาจักรไวรา (Kingdom Vira) ลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต ลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว แบคทีเรีย แบคทีเรียเป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีอยู่ทั่วไปทุกหนทุกแห่ง แบคทีเรียส่วนใหญ่ดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลายจึง เป็นตัวการสาคัญที่ทาให้อาหารบูดเน่า แบคทีเรียอาจจาแนกตามรูปร่างได้ 3 กลุ่ม คือพวกรูปร่างกลม เรียกว่า คอคคัส พวก รูปร่างเป็นท่อนเรียกว่าบาซิลลัส และพวกรูปร่างเป็นเกลียวเรียกว่าสไปริลลัม แบคทีเรียมีขนาดประมาณ 0.001-0.005 มิลลิเมตร เซลล์ประกอบด้วยโพรโทพลาซึม เยื่อหุ้มเซลล์ และผนังเซลล์ซึ่งเป็นส่วนที่ทาหน้าที่ให้รูปทรงของเซลล์คงที่ ลักษณะสาคัญอีก ประการหนึ่งของแบคทีเรียคือ นิวเคลียสไม่มีเยื่อหุ้ม
  • 3. 3 นอกจากดารงชีวิตแบบภาวะมีการย่อยสลายแล้ว แบคทีเรียบางชนิดก็เป็นปรสิตของสิ่งมีชีวิตอื่น บางชนิดมี คลอโรฟิลล์จึงสามารถสังเคราะห์อาหารได้โดยใช้พลังงานจากแสง บางชนิดก็สามารถสังเคราะห์อาหารได้โดยใช้พลังงานจาก สารประกอบอินทรีย์ โพรโทซัว เป็นสิ่งมีชีวิตเซลเดียวที่มีนิวเคลียสที่แท้จริง คือ เป็นเซลล์ที่นิวเคลียสมีเยื่อหุ้ม โพรโทซัวบางชนิดมีรูปร่างที่แน่นนอน ตัวอย่างเช่น พารามีเซียม มีรูปร่างคล้ายรองเท้าแตะ วอร์ติเซลลามีรูปร่างคล้ายกระดิ่ง บางชนิดมีรูปร่างไม่แน่นอน คือรูปร่างจะ เปลี่ยนไปตามการเคลื่อนที่ เช่น ยูกลีนา และอะมีบา ลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์ สิ่งมีชีวิตทั่วไปจะประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์มาอยู่รวมกัน โดยเซลล์ที่มีลักษณะคล้ายกันหรือเป็นเซลล์ชนิดเดียวกัน มารวมกัน ทางานอย่างเดียวกันเรียกว่า “เนื้อเยื่อ” (tissues) เช่น เนื้อเยื่อกล้ามเนื้อ เนื้อเยื่อบุผิว (epidermis) เนื้อเยื่อประสาท เป็นต้น สาหรับในพืช คือ เนื้อเยื่อเจริญ เนื้อเยื่อชนิดเดียวกันหรือต่างชนิดกันมาร่วมกันทางานอย่างเดียวกันเรียกว่า “อวัยวะ” (organ) เช่น หัวใจ สมอง ตับ ปอด ฯลฯ กลุ่มของอวัยวะที่มาร่วมกันทางานอย่างใดอย่างหนึ่งเรียกว่า “ระบบ” (system) เช่น ระบบหายใจ ระบบย่อยอาหาร ระบบขับถ่าย ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ ฯลฯ ประวัติการค้นพบเซลล์ กาลิเลอิ กาลิเลโอ(Galilei Galileo) นักวิทยาศาสตร์ชาวอิตาเลียน ประดิษฐ์แว่นขยายส่องดูสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ราวๆต้น คริสต์ศตวรรษที่ 17 อันโตนี วาน เลเวนฮุก หรือ ลิวเวนฮอก (Antony Van Leeuwenhoek) นักวิทยาศาสตร์ชาวดัช (ฮอลันดา) ได้ประดิษฐ์ กล้องจุลทรรศน์เป็นคนแรก เมื่อ พ.ศ. 2193 รอเบิร์ต ฮุค (Robert Hooke) นักพฤกษศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้ประดิษฐ์กล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายสูงขึ้น ใช้ตรวจดู โครงสร้างของชิ้นไม้คอร์กที่ฝานบางๆ พบว่าประกอบด้วยห้องเล็กๆ จานวนมาก เขาจึงตั้งชื่อว่า “เซลล์” ซึ่งแปลว่าห้องเล็กๆ เมื่อ พ.ศ. 2208 มัททีอัส ยาคอบ ชไลเดน (Matthias Jacob Schleiden) นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้พบว่า “พืชทั้งมวลประกอบไป ด้วยเซลล์ทั้งสิ้น” เมื่อ พ.ศ. 2381 เทโอดอร์ ชวันน์ หรือ ชวานน์ (Theodor Schwann) นักสัตวิทยาชาวเยอรมันได้พบว่า “สัตว์ทุกชนิดก็ประกอบไปด้วย เซลล์” เมื่อ พ.ศ. 2382 ทฤษฎีเซลล์ (Cell Theory) ชวันน์ และ ชไลเดน ได้ร่วมมือกันจัดตั้งทฤษฎีเซลล์ขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2382 ซึ่งมีใจความว่า “สิ่งมีชีวิตทุกชนิดประกอบด้วย เซลล์และผลิตภัณฑ์ของเซลล์” เซลล์ (Cell) คือ หน่วยที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีขนาดแตกต่างกัน ตั้งแต่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า จนกระทั่งมีขนาดใหญ่ที่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่าได้
  • 4. 4 ส่วนประกอบของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ เซลล์พืช 1. ผนังเซลล์ (Cell Wall) คือส่วนที่อยู่นอกสุดของเซลล์ มีเฉพาะในเซลล์พืชเท่านั้น ทาหน้าที่ให้ความแข็งแรงและทา ให้เซลล์คงรูปอยู่ได้พบครั้งแรกเมื่อ ค.ศ. 1654 โดย โรเบิร์ต ฮุค ประกอบด้วยสารจาพวกเซลลูโลสเป็นส่วนใหญ่และสารพวก เพคติน ลิกนิน ฮีมิเซลลูโลส ซูเบอริน ไคติน และ คิวติน 2. เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell Membrane) มีลักษณะเป็นเยื่อบาง ๆ ประกอบด้วยสารประเภทไขมันและโปรตีน พบได้ทั้งใน เซลล์ของพืชและเซลล์ของสัตว์ ทาหน้าที่ควบคุมเซลล์ให้คงรูปอยู่ได้ควบคุมปริมาณและชนิดของสารที่ผ่านเข้าหรือออกจาก เซลล์เช่น น้า อาหาร อากาศ และสารละลายต่าง ๆ จึงมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (semi permeable membrane) 3. ไซโทพลาซึม (Cytoplasm) มีลักษณะเป็นของเหลวที่มีสิ่งต่างๆ ปนอยู่ คือ น้า โปรตีน ไขมัน คาร์โบไฮเดรต แร่ธาตุ และยังเป็นแหล่งที่อยู่ของออร์แกเนลล์ หลายชนิด เช่น 3.1 ไมโทคอนเดรีย (Mitochondria) ทาหน้าที่เผาผลาญอาหารเพื่อสร้างพลังงานให้แก่เซลล์ พบมากในเซลล์ไข่ หอยเม่น เซลล์ตับ ไม่พบในเซลล์แบคทีเรียและสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน 3.2 คลอโรพลาสต์(Chloroplast) มีหน้าที่ดูดพลังงานแสงมาใช้ในการสังเคราะห์ด้วยแสง พบเฉพาะในเซลล์ พืช สาหร่ายและยูกลีน่า ไม่พบในเซลล์สัตว์สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงิน แบคทีเรีย เห็ด รา 3.3 ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดขรุขระ (RER) ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนส่งออกไปใช้นอกเซลล์ โดยส่งผ่าน ทาง กอลจิบอดี พบมากที่ตัวอ่อน ต่อมน้าลาย ต่อมพิษของงู 3.4 ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดเรียบ (SER) ทาหน้าที่กาจัดสารพิษในเซลล์ตับ สังเคราะห์ไขมัน พบมากที่เซลล์ ตับ อัณฑะ รังไข่ 3.5 ไรโบโซม (Ribosome) ทาหน้าที่สังเคราะห์โปรตีนไว้ใช้ในเซลล์ พบในเซลล์ทุกชนิด ยกเว้นเซลล์เม็ด เลือดแดงของคน เป็นออร์แกเนลล์ที่เล็กที่สุดและไม่มีเยื่อหุ้ม 3.6 กอลจิบอดี (Golgi bodies) ทาหน้าที่สะสมโปรตีนจาก RER เพื่อส่งออกนอกเซลล์ พบมากที่ต่อมน้าลาย ต่อมน้านม
  • 5. 5 3.7 ไลโซโซม (Lysosome) ทาหน้าที่ย่อยสลายสารต่างๆ และสิ่งแปลกปลอมที่เซลล์ไม่ต้องการ พบมาก ในเซลล์เม็ดเลือดขาว หางลูกอ๊อด มีชื่อที่คนทั่วไปขนานนามว่า”ถุงฆ่าตัวตาย” (Suicide bag of cell:ซูอิไซด์แบ็ก ออฟ เซลล์) 3.8 แวคิวโอล (Vacuole) เป็นแหล่งสะสมสารอาหารต่างๆ ซึ่งในเซลล์พืชจะมีขนาดใหญ่มาก 4. นิวเคลียส (Nucleus) เป็นส่วนประกอบที่สาคัญที่สุดของเซลล์อยู่ในไซโทพลาซึม มีลักษณะค่อนข้างกลม แต่อาจพบ รูปร่างรี แบน หรือไม่มีรูปทรงก็ได้ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์ พบทั้งในเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ค้นพบโดย โรเบิร์ต บราวน์ (Robert Brown) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษ นิวเคลียสทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของเซลล์ ถ้าไม่มีนิวเคลียสจะไม่มีการ แบ่งเซลล์และเซลล์จะไม่มีการเจริญเติบโต และนิวเคลียสยังมีหน้าที่เกี่ยวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม ภายในนิวเคลียส มีส่วนประกอบสาคัญ 2 อย่าง คือ 4.1 นิวคลีโอลัส (Nucleolus) ประกอบด้วยสารประเภท DNA และ RNA เป็นส่วนใหญ่ เป็นแหล่งที่มีการสร้าง ไรโบโซม เมื่อไรโบโซมสร้างเสร็จแล้วจะไหลออกไปสู่ไซโทพลาซึมโดยผ่านทางช่องของเยื่อหุ้มนิวเคลียส เพื่อทาหน้าที่ สังเคราะห์โปรตีนให้แก่เซลล์และส่งออกไปใช้นอกเซลล์ 4.2 โครมาทิน (Chromatin) คือร่างแหของโครโมโซม โครโมโซมประกอบด้วย DNA หรือที่เรียกว่า ยีน และ โปรตีนหลายชนิดบน DNA จะมีรหัสพันธุกรรมอยู่ รหัสพันธุกรรมดังกล่าวจะทาหน้าที่ควบคุมการสร้างโปรตีน และ DNA จะเป็นตัวควบคุมการแสดงออกของลักษณะต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต โดยการควบคุมโครงสร้างและปริมาณโปรตีนให้ได้คุณภาพและ ปริมาณโปรตีนที่เหมาะสม ทาหน้าที่เฉพาะของเซลล์ชนิดต่างๆ เซลล์แต่ละชนิดจะมีรูปร่างแตกต่างกันไป เพราะเซลล์แต่ละชนิดจะถูกสร้างขึ้นมาเพื่อทาหน้าที่เฉพาะแตกต่างกัน 1. เซลล์สืบพันธุ์ (Sex cell) ทาหน้าที่เป็นข้อมูลทางพันธุกรรมที่ถ่ายทอดให้แก่รุ่นลูก โดยเพศผู้จะสร้าง อสุจิ ส่วน เพศเมียจะสร้างไข่ 2. เซลล์กล้ามเนื้อ (Muscle cell) มีความสามารถที่จะหดสั้นและยืดหยุ่นได้เพื่อทาให้เกิดการเคลื่อนไหว 3. เซลล์ประสาทสมอง (Brain nerve cell)ทาหน้าที่ส่งสัญญาณประสาท(ไฟฟ้า) ไปยังเซลล์ประสาทอื่น ที่เชื่อมโยง กันอยู่ 4. เซลล์ประสาทสั่งงาน (Motor nerve cell) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหว โดยเซลล์ประสาทนี้จะส่งสัญญาณ ประสาทจากสมองไปยังกล้ามเนื้อ 5. เซลล์เม็ดเลือดขาว (White blood cell)ทาหน้าที่ต่อสู้กับเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เข้ามาในร่างกาย 6. เซลล์ผิวหนัง (Skin cell) ทาหน้าที่ห่อหุ้มร่างกายและป้องกันอันตรายให้แก่อวัยวะภายใน โดยจะเรียงตัวเป็นชั้นๆ 7. เซลล์เม็ดเลือดแดง ( Red blood cell ) ทาหน้าที่ลาเลียงแก๊สออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย รูปเซลล์อะไรจ๊ะ ช่วยตอบหน่อย (เขียนชื่อข้างล่างภาพ) ……………………
  • 6. 6 สาระเพิ่มเติม ผนังเซลล์(Cell wall) เป็นส่วนที่อยู่นอกสุดของเซลล์พืช ประกอบด้วยเซลล์ลูโลสเป็นส่วนใหญ่ ทาหน้าที่สร้างความ แข็งแรง ในเซลล์สัตว์ไม่มีผนังเซลล์แต่ก็สามารถสร้างความแข็งแรงได้โดยมีสารเคลือบพวกไกลโคโปรตีน (glycoprotein) และ เซลล์ของไดอะตอมมีสารเคลือบเป็นพวกซิลิกา เยื่อหุ้มเซลล์ (Cell membrane) เป็นเยื่อบางๆประกอบด้วยโปรตีนและไขมัน ทาหน้าที่ความคุมปริมาณสารและชนิดสาร ที่ผ่านเข้าหรือออกจากเซลล์จึงมีคุณสมบัติเป็นเยื่อเลือกผ่าน (Semi permeable membrane) โพรโทพลาซึม (Protoplasm) เป็นไซโทพลาซึมและนิวเคลียส คาสั่ง จงตอบคาถามและเติมข้อความให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด 1. พืชจะประกอบด้วยหน่วยเล็กที่สุด ซึ่งมีความสาคัญต่อพืชมาก คือ......................................……………………………….… 2. ผนังเซลล์ คือ ...................................................................................................................…… ………………………….….. และ มีหน้าที่ ....................................................................................................................……. ………………………….….. ค้นพบโดย..........................................................................................................................…… ………………………….…. 3. ผนังเซลล์ประกอบด้วยสารพวก..............................................เป็นส่วนใหญ่ 4. เยื่อหุ้มเซลล์ มีลักษณะ ...........................................ประกอบด้วยสารประเภท....................…. …………………………....... และมีหน้าที่ ......................................................................................................................…… ………………………….….. 5. เยื่อหุ้มเซลล์พบใน.............................................................................................................…. …………………………..…… 6. ไซโทพลาซึม มีลักษณะ ....................................................................................................…. ………………………….…… 7. ไมโทคอนเดรีย ทาหน้าที่ ...................................................................................................… ………………………….…… 8. คลอโรพลาสต์ ทาหน้าที่ ....................................................................................................….. ………………………….….. 9. ร่างแหเอนโดพลาซึมชนิดเรียบ ทาหน้าที่ ..........................................................................................…. …………………… 10. ไรโบโซม ทาหน้าที่ ..........................................................................................................…. ………………………….….. 11. กอลจิบอดี ทาหน้าที่ ........................................................................................................…. ………………………….…… 12. ไลโซโซม ทาหน้าที่ ............................................................................................................. ………………………….…. 13. แวคิวโอล ทาหน้าที่ .........................................................................................................…. ………………………….…. 14. นิวเคลียส ทาหน้าที่ .........................................................................................................….. ………………………….…. ค้นพบโดย...................................................................................................................…….. ………………………….… 15. นิวคลีโอลัส ทาหน้าที่ ......................................................................................................…. ………………………….…. ประกอบด้วยสารประเภท..................................................................................................….. ………………………….… 16. DNA หรือ ยีน มีหน้าที่ ..................................................................................................…. ………………………….…. 17. ทฤษฎีเซลล์กล่าวว่า “…………………………………………………………………………………………………….”
  • 7. 7 ส่วนประกอบและวิธีการใช้กล้องจุลทรรศน์ 1. วางกล้องจุลทรรศน์ไว้ในที่ที่มีแสงสว่างเพียงพอ ปรับกระจกใต้กล้องเพื่อให้แสงสว่างผ่านเข้าสู่ลากล้องให้พอเหมาะ ถ้าเป็นกล้องที่มีไฟในตัว ก็เสียบปลั๊กไฟและเปิดสวิตช์ใช้แสงจากหลอดไฟฟ้าในตัวกล้องได้เลย 2. วางสไลด์ลงบนแท่นวางสไลด์ ใช้ที่หนีบแผ่นสไลด์จับไม่ให้สไลด์เลื่อน โดยให้วัตถุที่จะตรวจดูอยู่ในตาแหน่งที่ แสง สว่างจากใต้กล้องผ่านได้ 3. หมุนเลนส์ใกล้วัตถุให้กาลังขยายต่าสุดมาอยู่ตรงตาแหน่งของวัตถุที่จะตรวจดู 4. มองที่แท่นวางวัตถุ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้แผ่นสไลด์ที่วางบนแทนวางวัตถุอยู่ใกล้เลนส์ใกล้วัตถุให้มากที่สุด แล้วมองผ่านเลนส์ใกล้ตา ค่อยๆ หมุนปุ่มปรับภาพหยาบให้แผ่นสไลด์ออกห่างจากเลนส์ใกล้วัตถุ จนกระทั่งเห็นภาพปรากฏ ชัดเจน 5. ถ้าต้องการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและเห็นรายละเอียดมากขึ้นให้หมุนเลนส์ใกล้วัตถุที่มีกาลังขยายสูงเข้ามา แทนที่เลนส์วัตถุอันเดิม ปรับภาพให้ชัดเจนขึ้นด้วยปุ่มปรับภาพละเอียดและหมุนปุ่มเลื่อนแผ่นสไลด์หาตาแหน่งที่เหมาะสม 6. ควรฝึกมองผ่านเลนส์ตาด้วยการลืมตาทั้งสองข้าง (กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ = กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา × กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ) กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา สามารถถอดเปลี่ยนได้ มีหลายขนาด ได้แก่ 6X , 10X , 15X , 16X , 20X กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ มีหลายขนาด ได้แก่ 4X (คาดด้วยสีแดง) , 10X (สีเหลือง) , 40X (สีฟ้า) , 100X (สีขาว) จงคานวณกาลังขยายของกล้อง 1. กล้องจุลทรรศน์ที่ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา 6X กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 100X กาลังขยายของกล้อง จุลทรรศน์ เป็นเท่าใด ตอบ ................................................................... 2. กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ 24 เท่า ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ………… ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ …………… 3. วัตถุขนาด 0.001 มิลลิเมตร ถูกกล้องจุลทรรศน์ขยาย 400 เท่า จะมีขนาดภาพ ......................... มิลลิเมตร กระจกเงา ปุ่ มปรับภาพ หยาบ เลนส์ใกล้ ตา ลากล้อง ปุ่ มปรับภาพ ละเอียด ไดอะแฟรม เลนส์ใกล้วัตถุกาลังขยายสูง ที่หนีบแผ่น สไลด์แท่นวางวัตถุ ฐาน แขน เลนส์ใกล้วัตถุ กาลังขยายต่า
  • 8. 8 กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ส่วนประกอบของเซลล์ วันที่ .................. เดือน .................... พ.ศ. ................... จุดประสงค์ของกิจกรรม 1. เตรียมสไลด์เซลล์พืชเพื่อนาไปศึกษาโดยใช้กล้องจุลทรรศน์ได้ 2. สังเกต วาดรูป และบันทึกลักษณะต่าง ๆ ของเซลล์พืชได้ 3. สรุปเกี่ยวกับรูปร่างและส่วนประกอบต่าง ๆ ของเซลล์พืชได้ วัสดุ อุปกรณ์ และ สารเคมี (สาหรับ 1 กลุ่ม) 1. สาหร่ายหางกระรอก 1 สาย 2. หัวหอม 1 หัว 3. ใบว่านกาบหอย 1 ใบ 4. กล้องจุลทรรศน์ 1 กล้อง 5. สไลด์และกระจกปิดสไลด์ 1 ชุด 6. ใบมีดโกน 1 อัน 7. หลอดหยด 1 อัน 8. น้า 10 cm3 9. ไม้จิ้มฟันพันสาลี 1 อัน 10. เยื่อบุข้างแก้ม เขี่ยจากเนื้อเยื่อด้านในแก้ม ขั้นตอนการทดลอง 1. หยดน้าลงบนกระจกสไลด์1 - 2 หยด 2. เด็ดใบอ่อนที่บริเวณยอดของสาหร่ายหางกระรอกจานวน 1 ใบ วางลงไปบนหยดน้าและปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ ระวังอย่าให้มีฟองอากาศ 3. นาไปตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ วาดรูปและบันทึกผล 4. ทาซ้าข้อ 2- 3 โดยเปลี่ยนจากใบสาหร่ายหางกระรอกเป็นเยื่อหอมด้านในออกมาและใช้มีดโกนตัดให้มีขนาด ประมาณ 0.5 cm × 0.5 cm วาดรูปและบันทึกผล (ย้อมสีด้วยสารละลายไอโอดีน) 5. นาใบว่านกาบหอยมาฉีกแฉลบให้ได้เยื่อบางๆจากทางด้านหลังใบซึ่งมีสีม่วง และใช้มีดโกนตัดให้มีขนาดประมาณ 0.5 cm × 0.5 cm แล้วนาไปตรวจดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ด้วยวิธีการเช่นเดียวกัน 6. ใช้สาลีพันบนไม้จิ้มฟันนาไปเขี่ยและหมุนวนที่เยื่อบุด้านในแก้ม แล้วนาไปกดลงบนแผ่นสไลด์ ใช้เมทิลีนบลูย้อมสี ปิดด้วยกระจกปิดสไลด์ นาไปส่องดูด้วยกล้องจุลทรรศน์ สังเกตและวาดภาพ -------------------------------- เริ่มใช้กล้องจุลทรรศน์ที่กาลังขยายต่าสุดและการเก็บกล้องจะต้องปรับกาลังขยายของกล้องไว้ที่กาลังขยายต่าสุดเช่นเดิม
  • 9. 9 ตารางบันทึกผลการทดลอง (นักเรียนช่วยชี้ส่วนประกอบเซลล์ที่พบ โดยโยงเส้น ชี้ไปยังภาพ) รูปวาดภาพเซลล์ที่สังเกตเห็น ส่วนประกอบ เซลล์เยื่อหัวหอม 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. นิวเคลียส 4. ไซโทพลาซึม 5. คลอโรพลาสต์ เซลล์สาหร่ายหางกระรอก 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. นิวเคลียส 4. ไซโทพลาซึม 5. คลอโรพลาสต์ เซลล์ผิวใบว่านกาบหอย 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. นิวเคลียส 4. ไซโทพลาซึม 5. คลอโรพลาสต์ เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม 1. ผนังเซลล์ 2. เยื่อหุ้มเซลล์ 3. นิวเคลียส 4. ไซโทพลาซึม 5. คลอโรพลาสต์ สรุปผลการทดลอง …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… กาลังขยาย 100 เท่า กาลังขยาย 1000 เท่า กาลังขยาย 400 เท่า กาลังขยาย 400 เท่า
  • 10. 10 คาสั่ง จงเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง 1. เซลล์ที่ไม่มีคลอโรพลาสต์ ได้แก่ …………………………………………………………………………………………. 2. เซลล์ที่ไม่มีผนังเซลล์ ได้แก่ … ……………………………………………………………………………………………. 3. เซลล์ที่มีเซลล์คุมได้แก่ ……………………………………………………………………………………………………. 4. เซลล์เยื่อหัวหอม เซลล์สาหร่ายหางกระรอก เซลล์ผิวใบว่านกาบหอย เซลล์เยื่อบุข้างแก้ม มีความแตกต่างกันอย่างไร ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………… 5. ถ้าแสงไม่เข้ากล้อง มองแล้วมืดไม่เห็นภาพ จะต้องทาอย่างไร ………..…………………….……………………………… 6. ในขณะมองผ่านเลนส์ตา จะต้องหมุนปุ่มปรับภาพหยาบอย่างไร .......................…………………………………………… 7. เมื่อหมุนปุ่มปรับภาพหยาบแล้ว มองภาพไม่ชัดเจน จะต้องทาอย่างไร …………………………………………………… 8. จะต้องใช้กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์เริ่มแรกอย่างไร …………………………………………………..………….… 9. ถ้าต้องการกาลังขยายเพิ่มขึ้นจะต้องทาอย่างไร …………………………………………………………………………… 10. คิดกาลังขยายของกล้องอย่างไร …………………………………………………………………………………………… 11. ในการใช้กล้องจุลทรรศน์ เริ่มต้นจากการเลนส์ที่มีกาลังขยาย ……………………………………………………………. 12. ถ้าต้องการปรับภาพขณะใช้กล้องจุลทรรศน์ ให้ชัดมากยิ่งขึ้นจะต้องหมุนปรับที่ ………………………………………… 13. ถ้าต้องการขยายภาพให้ใหญ่ขึ้น ทาได้โดย ……………………………………………………………………………….. 14. เซลล์หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………………. 15. ผู้ที่ตั้งชื่อเซลล์จากการศึกษาเนื้อเยื่อของไม้คอร์กคือ ………………………………………....…………………………….. 16. เซลล์ประสาทมีส่วนที่ยื่นยาวและแตกแขนงออกไปเพื่อ …………………………………………………………………… 17. เยื่อเลือกผ่าน (Semi permeable membrane) หมายถึง ………………………………………..…………………………….. 18. โครโมโซมแต่ละแท่งประกอบด้วย ……………………………………….. ซึ่งควบคุมลักษณะต่างๆของสิ่งมีชีวิต 19. ไซโทพลาซึมเป็นของเหลวที่มีสารเคมีหลายชนิด รวมทั้งส่วนที่เป็น …………………..…………………………………… 20. สิ่งที่อยู่บนโครโมโซมเรียกว่า ……………………………………………………………………………………………….. 21. เซลล์ที่มีลักษณะคล้ายเมล็ดถั่วเรียกว่า………………………………………………………….……………………………. 22 เซลล์สัตว์ไม่มี ……………………………………………………………………………………………………………….. 23. เซลล์พืชไม่มี ……………………………………………………………………………………………………………….. 24. กลุ่มเซลล์ที่เกิดจากแหล่งเดียวกันและทางานร่วมกันเรียกว่า …………………………………………….………………… 25.กล้องจุลทรรศน์กาลังขยาย 2,000 เท่า ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้ตา ………… ใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ……… 26.ขามดขนาด 0.02 มิลลิเมตร ถูกขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์ ที่ใช้เลนส์ใกล้ตา 10X กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุ 40X ภาพขา มดมีขนาดใหญ่ขึ้น ...................... มิลลิเมตร 27 ภาพเซลล์พารามีเซียมที่ถูกขยายด้วยกล้องจุลทรรศน์มีขนาด 1 มิลลิเมตร ถ้าใช้กล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังขยายของเลนส์ ใกล้ตา 10X และใช้กาลังขยายของเลนส์ใกล้วัตถุที่คาดด้วยสีขาว พารามีเซียมมีขนาด ........................ มิลลิเมตร 28. กาลังขยายของกล้องจุลทรรศน์ มีกาลังขยายมากที่สุด ...................................... เท่า
  • 11. 11 ประเภทของกล้องจุลทรรศน์ ในปัจจุบันกล้องจุลทรรศน์แบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือกล้องจุลทรรศน์ใช้แสงแบบธรรมดาและแบบสเตอริโอ 2. กล้องจุลทรรศน์แบบอิเล็กตรอน ซึ่งมีอยู่2 แบบ คือ กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องผ่านและแบบส่องกราด ..................................................................................... กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง 1. Light microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่พบอยู่ทั่วไป โดยเวลาส่องดูจะเห็นพื้นหลังเป็นสีขาว และจะเห็นเชื้อจุลินทรีย์มี สีเข้มกว่า 2. Dark field microscope เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีพื้นหลังเป็นสีดา เห็นเชื้อจุลินทรีย์สว่าง เหมาะสาหรับใช้ส่องจุลินทรีย์ที่ มีขนาดเล็ก ที่ติดสียาก 3. Phase contrast microscope ใช้สาหรับส่องเชื้อจุลินทรีย์ที่ยังไม่ได้ทาการย้อมสี จะเห็นชัดเจนกว่าLight microscope 4. Fluorescence microscope ใช้แหล่งกาเนิดแสงเป็น อัลตราไวโอเลต ส่องดูจุลินทรีย์ที่ย้อมด้วยสารเรืองแสง ซึ่งเมื่อ กระทบกับแสง UV จะเปลี่ยนเป็นแสงช่วงที่มองเห็นได้แล้วแต่ชนิดของสารที่ใช้พื้นหลังมักมีสีดา กล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงที่ดีที่สุดในปัจจุบันมีกาลังขยายประมาณ 2,000 เท่า กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน (Electron microscope) เป็นกล้องจุลทรรศน์ที่มีกาลังการขยายสูงมาก เพราะใช้ลาแสงอิเล็กตรอน แทนแสงปกติและใช้สนามแม่เหล็กไฟฟ้าแทนเลนส์แก้ว เป็นกล้องที่ใช้ในการศึกษาโครงสร้าง และส่วนประกอบของเซลล์ ได้ อย่างละเอียด ที่กล้องชนิดอื่นไม่สามารถทาได้ โดยทั่วไปมีกาลังขยายสูงถึง 500,000 เท่า ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
  • 12. 12 สิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในน้า 1. อะมีบา (Amoeba) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว อาศัยอยู่ในน้า หรือที่เปียกชื้น มีรูปร่างไม่แน่นอน เคลื่อนที่โดยการยื่นส่วน ที่เป็นไซโทพลาซึมออกไป เสมือนเป็นเท้าเทียม หายใจโดยใช้แก๊สออกซิเจน และคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ออกมา ผ่านทาง เยื่อหุ้มเซลล์ 2. พารามีเซียม (Paramecium) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว รูปร่างคล้ายรองเท่าแตะ มีขนรอบตัวเรียกว่าซีเลีย ใช้โบกพัดใน การเคลื่อนที่ และโบกพัดให้อาหารเข้าร่องปาก มีการหายใจเช่นเดียวกับอะมีบา 3. ยูกลีนา (Euglena) เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว มักอยู่ในน้าที่สะอาด มีรูปร่างไม่แน่นอน เมื่อลอยนิ่งในน้าจะกลม ขณะ เคลื่อนที่จะยาวรีและบิดเบี้ยวเมื่อเคลื่อนที่ผ่านสิ่งกีดขวาง มีหนวด 1 เส้น ใช้ในการเคลื่อนที่ มีจุดสีแดงใกล้โคนหนวด มีคลอโรพ ลาสต์จึงสามารถสร้างอาหารได้เอง หายใจเช่นเดียวกับอะมีบา 4. ไฮดรา (Hydra) เป็นสัตว์น้าขนาดเล็ก มองเห็นด้วยตาเปล่า รูปร่างคล้ายต้นไม้มีขนาดยาว 0.5-1 เซนติเมตรมีหนวด หลายเส้นใช้จับสัตว์เล็กๆกิน ช่องกลวงกลางลาตัวทาหน้าที่ย่อยดูดซึมอาหาร และใช้หายใจ เคลื่อนที่โดยการขยับฐานไปทีละน้อย (หมายเหตุ การหายใจหมายถึงการแลกเปลี่ยนแก๊ส) จงบอกชื่อรูปข้างล่างด้วย 5. สไปโรไจรา (Spirogyra) อาศัยอยู่บริเวณผิวน้าหรือแหล่งน้าทั่วๆไป ประกอบด้วยเซลล์หลายเซลล์ที่มีลักษณะเหมือนกัน ต่อกันแบบปลายชนปลายเกิดเป็นสายยาว มีกระบวนการของชีวิตครบทั้ง 7 อย่างเกิดขึ้นในแต่ละเซลล์ มีการสร้างอาหาร เองได้เนื่องจากมีคลอโรพลาสต์เรียงตัวเป็นเกลียวอยู่ภายในเซลล์ รูปอะไรช่วยตอบที ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ………………………………………………………………………………………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………….
  • 13. 13 ส่วนประกอบของพืช ราก พืชใบเลี้ยงเดี่ยว เช่น หญ้า มะพร้าว กล้วย ตาล อ้อย ฯลฯ จะไม่มีรากแก้ว รากจะมีลักษณะเป็นกระจุก เรียกว่ารากฝอย ส่วนพืชใบเลี้ยงคู่ เช่น ละมุด ลาไย มะเฟือง ฯลฯ จะมีรากแก้ว และมีรากขนาดเล็กแยกแตกออกมาเรียกว่า รากแขนง ทั้งพืชใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคู่จะมีรากเล็กมาก จานวนมากมายทาหน้าที่ดูดน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า รากขนอ่อนหรือ ขนราก (Root hair) พืชบางชนิดมีรากสะสมอาหาร เช่น หัวผักกาด แครอท กระชาย หัวมัน มันสาปะหลัง รากกล้วยไม้สามารถ สังเคราะห์ด้วยแสงได้ ลาต้น เป็นส่วนของพืชที่อยู่เหนือพื้นดิน ทาหน้าที่ยึดกิ่ง ก้านและชูใบ ดอก ผล นอกจากนี้ยังมีเนื้อเยื่อลาเลียงน้า แร่ธาตุ สารอาหาร เนื้อเยื่อที่ใช้ลาเลียงน้าและแร่ธาตุ เรียกว่า ท่อลาเลียงน้า หรือ ไซเล็ม ส่วนที่ใช้ลาเลียงอาหาร เรียกว่า ท่อลาเลียงอาหารหรือโฟลเอ็ม การเจริญเติบโตของต้นถั่ว การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนแปลงอย่างค่อยเป็นค่อยไปอย่างมีระเบียบของสิ่งมีชีวิต จนกระทั่งเกิดเป็นเนื้อเยื่อที่มีความซับซ้อนและสมบูรณ์ขึ้น ทั้งในด้านโครงสร้างและหน้าที่การทางาน การเจริญเติบโต ประกอบด้วย 3 กระบวนการ ดังนี้ 1. การเพิ่มจานวนเซลล์หรือการแบ่งเซลล์ 2. การเพิ่มขนาดของเซลล์หรือการเจริญเติบโตของเซลล์ เป็นการเพิ่มปริมาณของสารต่าง ๆ ภายในเซลล์ให้มากขึ้น 3. การเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเซลล์ เพื่อทาหน้าที่เฉพาะ เช่น เซลล์ท่อลาเลียง เซลล์คุม เซลล์รากขนอ่อน หลังจากนั้นจะเกิดรูปร่างที่แน่นอน เป็นผลมาจากกระบวนการที่ 1, 2และ 3 ซึ่งจะแตกต่างกันในสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด การเจริญเติบโตของพืชจะเริ่มจากไซโกต (Zygote) เจริญเป็นต้นอ่อน (Embryo) อยู่ในออวุล (Ovule) ซึ่งจะเจริญเป็น เมล็ด (Seed)
  • 14. 14 การงอกของเมล็ด โครงสร้างของเมล็ด เมล็ด (Seed) หมายถึง ออวุลที่เจริญเติบโตเต็มที่ซึ่งเกิดหลังจากการปฏิสนธิกันระหว่างเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมีย เมล็ด ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน ดังนี้ 1. เปลือกหุ้มเมล็ด (Seed coat หรือ Testa) เป็นส่วนนอกสุดของเมล็ดตามปกติจะหนา เหนียวและแข็ง เพื่อป้องกัน อันตรายต่าง ๆ และป้องกันการคายน้าจากเนื้อเยื่อในเมล็ด 2. ใบเลี้ยง (Cotyledon) คือใบแรกที่งอกออกจากเมล็ด ทาหน้าที่ย่อย ดูดซึมและสะสมอาหารเพื่อนาไปเลี้ยงต้นอ่อน ใน พืชใบเลี้ยงคู่จะมีใบเลี้ยง 2 ใบ ส่วนในพืชใบเลี้ยงเดี่ยวจะมีเพียงใบเดียว - เอนโดสเปิร์ม (Endosperm) เป็นเนื้อเยื่อที่สะสมอาหารสาหรับเลี้ยงต้นอ่อนอาหารที่สะสมไว้ส่วนใหญ่เป็นอาหาร จาพวกแป้ง มีโปรตีนและไขมันเล็กน้อย พืชใบเลี้ยงคู่จะมีใบเลี้ยงหนาเพราะมีเอนโดสเปิร์มอยู่ในใบเลี้ยง พืชใบเลี้ยงเดี่ยวมีใบ เลี้ยงบาง เพราะไม่มีอาหารสะสม 3. ต้นอ่อนหรือเอมบริโอ (Embryo) 3.1 ยอดแรกเกิด (Plumule:พลูมูเลอ) คือส่วนยอดของต้นอ่อน ซึ่งจะเจริญไปเป็นใบ 3.2 ลาต้น (Stem:สเตม)) เจริญไปเป็นลาต้นที่ใหญ่ขึ้น 3.3 รากแรกเกิด (Radicle:แรดิเคิล) คือส่วนล่างสุดของต้นอ่อนที่เจริญไปเป็นราก ถ้าเป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวรากแก้วจะเจริญเพียงชั่วระยะหนึ่ง หลังจากนั้นจะมีรากฝอยเจริญขึ้นมาทาหน้าที่แทน พืชมีการเจริญเติบโตเริ่มตั้งแต่เมล็ดได้รับความชื้น รากแรกเกิด (Radicle)จะโผล่พ้นเมล็ดก่อนส่วนอื่นทางรูไมโครไพล์ (Micropyle) ซึ่งอยู่ตรงบริเวณที่เป็นรอยแผลเป็นของเมล็ด จากนั้นใบเลี้ยงงอกโผล่พ้นจากเปลือกหุ้มเมล็ด ยอดแรกเกิดจะเจริญไป เป็นใบแท้ในขณะที่ลาต้นจะยืดตัวสูงขึ้น ส่วนใบเลี้ยงจะค่อยๆมีขนาดเล็กลงและหลุดไปในที่สุด ปัจจัยที่จาเป็นต่อการงอกของเมล็ดพืช ได้แก่ น้า ก๊าซออกซิเจน อุณหภูมิที่พอเหมาะ และอาหารซึ่งเก็บใน เอนโดสเปิร์ม(สาหรับพืชใบเลี้ยงเดี่ยว) หรือใบเลี้ยง (สาหรับพืชใบเลี้ยงคู่) ลักษณะการงอกของเมล็ดมี 2 แบบ คือ 1. งอกโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน เช่น มะขาม มะม่วง ถั่วดา ถั่วเขียว ดาวเรือง พุทรา ทุเรียน ฯลฯ 2. งอกโดยใบเลี้ยงฝังอยู่ใต้ดิน เช่น เมล็ดข้าว มะพร้าว หญ้า ข้าวโพด ฯลฯ พืชโดยทั่วไปมีการเจริญเติบโตต่อเนื่องกันในระยะแรกและเปลี่ยนแปลงอย่างช้าๆ ต่อมาจึงจะเริ่มมีการเจริญเติบโต อย่างรวดเร็วและจากนั้นการเจริญเติบโตช้าลงเรื่อยๆจนกระทั่งคงที่ในที่สุด กราฟแสดงการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตจึงแบ่งออก ได้3 ช่วง ลักษณะรูปกราฟคล้ายตัวเอส (S) ซึ่งเรียกว่าซิกมอยด์เคิร์ฟ (Sigmoid Curve) 3 2 1 ช่วงที่ 1 (กข) เป็นระยะที่สิ่งมีชีวิตมีการเจริญเติบโตน้อย ช่วงที่ 2 (ขค) เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว สังเกตได้จากกราฟชันขึ้น ช่วงที่ 3 (คง) เป็นระยะที่มีการเจริญเติบโตน้อย จนเกือบจะ คงที่ กราฟจึงมีลักษณะคล้ายเส้นตรง
  • 15. 15 การเจริญเติบโตของเมล็ดถั่ว การเจริญเติบโตของต้นถั่ว เริ่มตั้งแต่เมล็ดได้รับความชื้น โดยมีส่วนที่ทาหน้าที่ดูดความชื้นให้แก่เมล็ดคือ รอย แผลเป็น (Raphael:แรฟี) อยู่ผิวนอกของเมล็ด เป็นบริเวณที่เคยติดกับรังไข่ บริเวณรอยแผลเป็นจะมีรูไมโครไพล์ (Micropyle) ซึ่ง ปลายรากจะโผล่ออกมาจากเมล็ดที่ส่วนนี้ เมื่อแกะเมล็ดถั่วดาเพื่อพิจารณาลักษณะภายใน จะพบว่าต้นอ่อนจะอยู่ติดกับใบเลี้ยงที่ ตาแหน่งหนึ่ง ส่วนเป็นตาแหน่งที่แบ่งต้นอ่อนออกเป็นยอดแรกเกิดและรากแรกเกิด เมื่อต้นอ่อนงอกโผล่พ้นเมล็ดแล้ว ส่วนเหนือ ใบเลี้ยง (Epicotyls:เอพิคอทิล) และส่วนใต้ใบเลี้ยง (Hypocotyls:ไฮโพคอทิล) จะเจริญเป็นลาต้น และ บริเวณที่รากขยายตัวยาว ออกมากที่สุด คือ บริเวณปลายราก ส่วนลาต้นที่ขยายตัวยาวออกไป ได้แก่ บริเวณปลายยอด การที่บริเวณปลายราก ปลาย ยอด มีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว เพราะบริเวณนี้มีกลุ่มเซลล์ซึ่งแบ่งตัวจานวนมาก มีการขยายขนาดอย่างรวดเร็วและ ตลอดเวลา เราเรียกกลุ่มเซลล์นี้ว่า เนื้อเยื่อเจริญ หรือ แคมเบียม (Cambium) พืชจะมีเนื้อเยื่อเจริญตลอดชีวิตในพืชใบเลี้ยงคู่ นอกจากจะพบเนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและและปลายรากแล้วยังจะพบเนื้อเยื่อเจริญแทรกอยู่ระหว่างท่อลาเลียงน้า และท่อ ลาเลียงอาหารรอบลาต้น เมื่อเซลล์แบ่งตัวเพิ่มจานวนจะทาให้ลาต้นหนาขึ้น ปัจจัยสาคัญที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด 1. น้า ช่วยให้เปลือกหุ้มเมล็ดอ่อนนุ่ม และช่วยละลายอาหารไปเลี้ยงต้นอ่อน 2. แก๊สออกซิเจน พืชนาไปใช้ในกระบวนการหายใจ 3. อุณหภูมิที่เหมาะสม ประมาณ 20 – 30 องศาเซลเซียสช่วยให้กระบวนการต่างๆ ทางานได้ดีขึ้น ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช สิ่งที่ช่วยในการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ 1. แสงแดด พืชนาแสงแดดไปใช้ในการสร้างอาหาร เรียกว่า กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งจะได้น้าตาล กลูโคส เก็บสะสมที่ส่วนต่างๆ ในรูปของแป้ง 2. แรงโน้มถ่วงของโลก มีผลต่อทิศทางการงอกของรากและลาต้น 3. อากาศ มีแก๊สที่จาเป็นคือ ออกซิเจนใช้ในการหายใจ และ คาร์บอนไดออกไซด์ใช้ในการสร้างอาหาร 4. น้า จะช่วยลดอุณหภูมิให้พอเหมาะแก่การเจริญเติบโต และช่วยละลายสารต่างๆที่จาเป็นในการเจริญเติบโต 5. แร่ธาตุ ช่วยในการทางานของระบบต่างๆ ถ้าพืชขาดจะทาให้โครงสร้างและการเจริญเติบโตของพืชผิดปกติ สังเกตได้จากลักษณะของลาต้น ใบ ดอก ผล เปลี่ยนไปจากเดิม แร่ธาตุหลัก เป็นธาตุที่พืชต้องการปริมาณมาก ได้แก่ ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) โพแทสเซียม (K) แร่ธาตุรอง เป็นธาตุที่พืชต้องการรองลงมาได้แก่ แคลเซียม (Ca) แมกนีเซียม (Mg) กามะถัน (S) แร่ธาตุเสริม พืชต้องการเล็กน้อย แต่ขาดไม่ได้ ได้แก่ โบรอน (B) แมงกานีส (Mn) เหล็ก (Fe) สังกะสี (Zn) ทองแดง (Cu) โมลิบดินัม (Mo) คลอรีน (Cl) สิ่งควรจา ไนโตรเจน บารุงใบ, ฟอสฟอรัส บารุงดอก , โพแทสเซียม บารุงผล
  • 16. 16 คาสั่ง จงตอบคาถามและเติมข้อความให้ถูกต้องและสมบูรณ์ที่สุด 1. การเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต หมายถึง...........................................................................................................................…… 2. กระบวนการสาคัญต่อการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ……………………………………………………………………….. 3. ส่วนใดของพืชที่มีการแบ่งเซลล์และขยายขนาดของเซลล์อยู่ตลอดเวลา ……………………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………. 4. โครงสร้างของเมล็ดที่สาคัญ ได้แก่......................................................................................…………………………………. 5. เมื่อเกิดการงอกของเมล็ด ต้นอ่อนในเมล็ดจะเกิดกระบวนการ ……………………………………………………………… 6. ต้นอ่อนในเมล็ดได้รับพลังงานจาก …………………………………………………………………………………………. 7. เปลือกหุ้มเมล็ดมีประโยชน์ต่อพืชคือ...................................................................................………………………………… 8. ใบเลี้ยง คือ .......................................................................................................................………………. ………………….. 9. ใบเลี้ยง ทาหน้าที่ ...........................................................................................................................…………………………... 10. อากาศจาเป็นต่อการงอกของเมล็ดเพราะ ……………………………………………………………………………………. 11. สิ่งจาเป็นในการเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ ………………………………………………………………………………….. 12. ส่วนแรกสุดที่จะโผล่พ้นเมล็ดก่อนส่วนอื่นทางรูไมโครไพล์ คือ..............................................……………………………… 13. ปัจจัยที่จาเป็นต่อการงอกของเมล็ดพืช ได้แก่.....................................................................………………………………….. 14. การงอกของเมล็ดพืชโดยชูใบเลี้ยงขึ้นเหนือดิน ได้แก่..........................................................………………………………… 15. ถ้าโลกไม่มีแสงแดด จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต คือ ……………………………………………………………………… 16. แร่ธาตุหลัก เป็นธาตุที่พืชต้องการปริมาณมาก ได้แก่ ............................................................................................................. 17. แร่ธาตุรอง เป็นธาตุที่พืชต้องการรองลงมาได้แก่ ……………………………………………………………………………. 18. แร่ธาตุเสริม พืชต้องการเล็กน้อย แต่ขาดไม่ได้ ได้แก่ ........................................................................................................... .................................................................................................................................................................................................. 19. แคมเบียม หมายถึง .................................................................................................................................................................. 20. การเจริญเติบโต จะมีลักษณะเส้นกราฟเป็นรูป ........................................................................................................................ ................................................................................................................................................................................................... 21. พืชมีการเจริญเติบโตบริเวณส่วนใดมากที่สุด ........................................................................................................................... 22. ต้นอ่อนประกอบด้วย ส่วนต่างๆ ได้แก่ ..................................................................................................................................... 23. แร่ธาตุที่บารุงใบพืช ทาให้พืชมีสีเขียวสดใส คือ ...................................................................................................................... 24. แร่ธาตุที่บารุงดอก ทาให้มีการสร้างดอกที่สมบูรณ์ คือ ........................................................................................................... 25. แร่ธาตุที่บารุงผล ทาให้ผลโตมีความสมบูรณ์ คือ .................................................................................................................... 26. อุณหภูมิที่พอเหมาะในการงอกของเมล็ดพืช อยู่ในช่วง .......................................................................................................... 27. รากฝอยมีลักษณะ .................................................................................................................................................................... 28. ไซโกต หมายถึง ...................................................................................................................................................................... 29. บริเวณใดของพืชที่มีการแบ่งเซลล์อย่างรวดเร็ว ...................................................................................................................... 30. รากกล้วยไม้สามารถสังเคราะห์ด้วยแสงได้เพราะ .................................................................................................................. 31. บริเวณเซลล์คุม มีการสังเคราะห์ด้วยแสงได้เพราะ ................................................................................................................ 32. เซลล์คุมเหี่ยว ปากใบจะ เป็นอย่างไร ....................................................................................................................................... 33. เซลล์คุมเต่ง ปากใบจะ ............................................................................................................................................................. 34. การงอกของต้นถั่วเริ่มจากเมล็ดได้รับความชื้น และมีลักษณะพิเศษที่สังเกตได้คือ ................................................................ 35. การงอกของต้นข้าวโพด มีลักษณะแตกต่างจากการงอกของต้นถั่วคือ ...................................................................................