SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
พิษณุ ดวงกระโทก
Bacteriology เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการจาแนกและการจัดหมวดหมู่ของแบคทีเรีย ศึกษาโครงสร้าง สรีระ
วิทยา สารพันธุกรรม และการก่อโรคของแบคทีเรีย
Antonie van Leeuwenhoek เป็นบิดาจุลชีววิทยา พัฒนา “simple microscope” (270x) ต่อจาก Robert
Hooke’s Microscope
การจัดจาแนกมีดังนี้
Bacterial nomenclature ตั้งชื่อตามคณะกรรมการ International Committee on Systematics of
Prokaryotes
Shape, property : Staphylococcus aureus (กลม คล้ายองุ่น สีเหลืองอ่อน มันวาว นูน ทึบแสง แกรม+)
Escherichia coli (แท่ง colony สีชมพู แกรม-)
Habitat : Streptococcus oralis (เส้นสาย กลม ช่องปาก)
Disease : Streptococcus pneumoniae (ปอดอักเสบ)
Scientist : Yersinia spp. (Dr. Alexandre Yersin) (ชื่อผู้ค้นพบ)
Endemic area : Burkholderia thailandiensis (ประเทศไทย)
องค์กรที่ทาการเก็บเชื้อเพื่อศึกษา
1. American Type Culture Collection (ATCC), USA
2. National Collection of Type Culture (NCTC),United Kingdom
3. Collection de I’Institut Pasteur (CIP), France
เราจะศึกษาตั้งแต่ระดับ Family ลงไป
Family คาลงท้ายคือ ……aceae
จาแนกจาก
คุณสมบัติทางชีวภาพ สายพันธุ์ภายในสปีชีส์ (strain)
พิษณุ ดวงกระโทก
Characteristics of Eukaryotes and Prokaryotes
S=10-13
วินาที
Phenotypic identification (การระบุจากลักษณะภายนอก)
คุณลักษณะของ Microscopic
1. ย้อมแกรม
2. Size (~1 micrometre)
3. Shape (Bacillus วัดขนาดจาก กว้างxยาว , Spiral , Coccus วัดขนาดจากเส้นผ่านศูนย์กลาง)
4. การจัดเรียงตัว (cluster , chain , diplococci)
ถ้าเห็นวงใสๆ คือ สปอร์
แบคทีเรียจะอยู่เป็น colony มีการแบ่งจาก 1 เป็น 2 บนแผ่นวุ้น สามารถจาแนกได้จาก ขนาด รูปร่าง (circular,
irregular, filamentous, or spindle) บริเวณขอบของ colony (smooth, wavy, filamentous) พื้นผิว (smooth,
wrinkled=รอยย่น, rough) สี ความโปร่งแสง (translucent=โปร่งใส or opaque=ทึบแสง) การยกตัว (flat,
raised,convex=นูน) ความหนืด เนื้อสัมผัส
สร้างพลังงานที่ cell membrane
พิษณุ ดวงกระโทก
ขั้นตอนการย้อมแกรม
คุณสมบัติทางชีวภาพ
1.ความต้องการ O2
aerobic bacteria → ต้องการ O2 เท่านั้น
facultative anaerobic bacteria → มีหรือไม่มี O2 ก็ได้
microaerophilic bacteria (5-10% O2) → ต้องการ O2 น้อยๆ เท่านั้น
anaerobic bacteria → ห้ามมี O2
2.อุณหภูมิ 3. ระยะเวลาที่ใช้แบ่งตัว
➔ นาแบคทีเรียมากระจายตัว
➔ ทาให้เกิดเป็น complex
➔ Acetone + Alcohol ทาให้ peptidoglycan หดตัว
ซับให้แห้ง
แกรมบวก ติดสีม่วง peptidoglycan หนา
แกรมลบ ติดสีแดง peptidoglycan บาง
พิษณุ ดวงกระโทก
4.ความต้องการสารอาหาร
microplasma ต้องเติม stirrer
5.ปัจจัยอื่นๆ
halophilic bacteria : high salt concentration osmophilic bacteria : high osmotic pressure
acidophilic bacteria : high acidic condition alkaliphilic bacteria : high basidic condition
6.ความสามารถในการเคลื่อนที่ (ส่วนใหญ่ใช้ flagella)
ใช้วุ้นกึ่งแข็งในการทา motility test
Genotypic identification (การจาแนกโดยใช้สารพันธุกรรม)
Molecular techniques เช่น DNA sequencing Phylogenetic Tree (ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ)
ประเภทของอาหารเลี้ยงเชื้อ
Agar -> เป็นอาหารแข็ง มี % วุ้นมากที่สุด ใช้ดูการกระจายตัวและความต่างของ colony
Broth -> เป็นอาหารเหลว ช่วยในการเจริญ
semi-solid -> กึ่งแข็ง ใช้ทดสอบการเคลื่อนที่
biphasic medium -> อาหารผสม (บนเหลว ล่างแข็ง) ช่วยในการเจริญ และดูความแตกต่างของ colony เมื่อเท
ของเหลวทิ้ง
ประเภทของอาหารเลี้ยงเชื้อจาแนกตามสารอาหาร
1. Plain media → for most non-fastidious bacteria
2. Differential media → มีอาหารเฉพาะตัวใดตัวหนึ่ง ใช้แยกความแตกต่างระหว่างแบคทีเรีย 2 ชนิด
3. Enrichment media → liquid media contains inhibitory substances for normal flora
normal flora คือเชื้อประจาถิ่น
4. Selective media → solid media promotes the growth of interested bacteria (same as enrichment media)
5. Enriched media → complete medium composed of blood, serum, or egg yolk to promote the growth of
fastidious bacteria
6. Transport media → ใช้เก็บเชื้อในระหว่างการขนส่ง
โครงสร้างของแบคทีเรีย
Nucleoid
เป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม ไม่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วย DNA วงแหวน 1 ชุด(n) แบคทีเรียบางชนิดจะลาเลียงสาร
พันธุกรรมจากภายนอกเข้ามา กลายเป็น plasmid
เชื้อที่เคลื่อนที่ได้ สีจะขุ่น
แยกให้ออก
พิษณุ ดวงกระโทก
สารพันธุกรรมจากภายนอกอาจเข้ามาในรูปแบบต่างๆ ดังนี้
Plasmid เป็น extrachromosomal DNA ส่วนใหญ่เป็น circular DNA สามารถจาลองตัวเอง
Transposable element เป็น linear double strand DNA พบทั้งบนโครโมโซม และ plasmid การเคลื่อนที่จะอาศัย
เอนไซม์ transposase ไปตัดสาย DNA บริเวณจาเพาะ
Intregon คล้าย transposable element ตรงที่เป็น linear double strand DNA แต่ส่วนประกอบจะแตกต่างออกไป
ได้แก่ integrase gene
Bacteriophage นาสารพันธุกรรมเข้าผ่านไวรัสของแบคทีเรีย
Cytoplasm
มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มี organelle ที่มีเยื่อหุ้ม มี 70S ribosome (50S+30S)
Cell membrane
เป็น phospholipid bilayer ที่มีกรดไขมันกับโปรตีนแทรก ทาหน้าที่ควบคุม permeability
Cell Wall
ทาหน้าที่ปกป้องเซลล์ และป้องกันการแตกจากแรง osmotic มีสารพวก peptidoglycan, a polymer of
polysaccharides cross-linked by short peptides
Peptidoglycan ประกอบด้วย 3 ส่วน
1. polysaccharide → N-Acetylglucosamine (NAG) + N-acetylmuramic acid (NAM) (เบต้า-1,4 linkage) →
เป็น backbone
ยาปฏิชีวนะที่มี เบต้า-lactams ring สามารถยับยั้ง peptide bridge ได้
Cell wall of gram positive bacteria
ส่วนใหญ่เป็น Peptidoglycan ประกอบด้วย Teichoic acid และ Teichuronic acid
Teichoic acid -> ribitol teichoic acid link to NAM of cell wall
lipoteichoic acid link to glycolipid of cell membrane
Teichuronic acid -> D-glucuronic acid
N-acetyl-mannosaminuronic acid
อ่านเพิ่ม https://www.biomed.in.th/bacterial-mobile-genetic-elements/
2.
3.
พิษณุ ดวงกระโทก
Cell wall of gram negative bacteria
มี peptidoglycan บาง ,อ่อนแอกว่าแกรมบวก ส่วน outer membrane ประกอบด้วย phospholipid (inside) ,
lipopolysaccharide (LPS) (outside)
Lipopolysaccharide (LPS)
ส่วน Glycolipid พบเฉพาะในแบคทีเรียแกรมลบ
แบคทีเรียสร้างสารพิษออกมา เป็นสาเหตุของโรค endotoxemia ส่งผลต่อการแข็งตัวของเลือดในหลอดเลือด
→ มี 3 องค์ประกอบ
Lipid A อยู่ใน outer membrane (cytotoxic): sugar phosphate link with long chain fatty acid
core polysaccharide→ทะลุผ่านไปนอกเซลล์, chain of sugar molecules (แกรมลบมีเหมือนกันหมด), link to
O -specific antigen
*O-specific antigen→ทะลุผ่านไปนอกเซลล์, short chain of repeated sugar molecules (แกรมลบแต่ละตัว
แตกต่างกัน) with specific antigenic properties ใช้ในการจัดจาแนกเชื้อ
L-form bacteria
ไม่มี cell wall เนื่องจากถูกยับยั้งการสังเคราะห์ peptidoglycan โดย mutation, drugs , environment or by nature
สามารถมีชีวิตและเพิ่มจานวนในสิ่งแวดล้อมที่มีความดันออสโมติกเหมือนกับภายในเซลล์ และสามารถกลับไป
เป็นเซลล์ปกติได้ ต่อต้านยาปฏิชีวนะกลุ่ม เบต้า-lactam
Flagella
Compose of flagellin protein, ยื่นออกจาก cell membrane ทาหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนที่
รูปแบบของ Flagella
1. Monotrichous
2. Lophotrichous
3. Amphitrichous (Amphilophotrichous ≥ 2 )
4. Peritrichous
แกรมบวก
แกรมลบ
พิษณุ ดวงกระโทก
Pili or fimbriae
short hair composed of Pilin or fimbrillin protein, ยื่นออกจาก cell membrane, ในแกรมลบ 1 cell มี 1-100 pili ใช้
เกาะกับ host ส่วน sex pili ใช้ conjugation
Capsule
ส่วนใหญ่เป็น polysaccharide ยกเว้น protein capsule of B. anthracis มีบทบาทในการป้องกันเซลล์จาก
สิ่งแวดล้อมที่แย่, การยึดของเซลล์, ยับยั้ง phagocytosis และต้านทานต่อการป้องกันของโฮสต์, มี antigen ที่
เฉพาะ เช่น K antigen (epidemiology, bacterial identification)
Spore
ประกอบด้วย dipicolinic acid สร้างเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่แย่ ,มีอัตรา metabolic ต่า ,Thick shell resist to
strong environment
ในทางการแพทย์มี 2 จีนัส คือ
Bacillus (ต้องมี O2 ในการสร้าง spore) Clostridium (ต้องไม่มี O2 ในการสร้าง spore)
Vegetative cell: เซลล์ปกติของแบคทีเรีย
ขั้นตอนในการวินิจฉัย
ღღღღღღღღღღღღღღღღღღღღღ

More Related Content

What's hot

การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันdnavaroj
 
Going shopping presentation aj.rey
Going shopping presentation aj.reyGoing shopping presentation aj.rey
Going shopping presentation aj.reyrayzy
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพPinutchaya Nakchumroon
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจพัน พัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียToey Songwatcharachai
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์Temm Quintuplet
 
สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเลสิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเลChalita Jommoon
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าdnavaroj
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีdokdai
 

What's hot (20)

จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1จุลชีววิทยา1
จุลชีววิทยา1
 
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกันการสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
การสกัดน้ำมันหอมระเหยจากข่าต่างชนิดกัน
 
Going shopping presentation aj.rey
Going shopping presentation aj.reyGoing shopping presentation aj.rey
Going shopping presentation aj.rey
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
อาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจอาณาจักรฟังไจ
อาณาจักรฟังไจ
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
Kingdom fungi
Kingdom fungiKingdom fungi
Kingdom fungi
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2แผนBioม.6 2
แผนBioม.6 2
 
fungi
fungifungi
fungi
 
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
ประเภทพฤติกรรมของสัตว์
 
สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเลสิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
สิ่งมีชีวิตใต้ท้องทะเล
 
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่าการยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
การยับยั้งเชื้อราด้วยสารสกัดจากข่า
 
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรีสารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
สารคดีชีวประวัติ มารี คูรี
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
1 ecosystem 1
1 ecosystem 11 ecosystem 1
1 ecosystem 1
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 

Similar to Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria

Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeGram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeuraipan chaisri
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตsupreechafkk
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...pitsanu duangkartok
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration Tanchanok Pps
 

Similar to Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria (20)

อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
อาณาจักรสิ่งมีชีวิต
 
1
11
1
 
ม.6biodiver
ม.6biodiverม.6biodiver
ม.6biodiver
 
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negativeGram negative bacteria bacilli oxidase negative
Gram negative bacteria bacilli oxidase negative
 
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติของสิ่งมีชีวิต
 
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...  ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
ชีววิทยาของจุลินทรีย์และความรู้เบื้องต้นทางเภสัชจุลชีววิทยา by pitsanu duan...
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
1
11
1
 
Animalia
AnimaliaAnimalia
Animalia
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
Unit1 organism
Unit1 organismUnit1 organism
Unit1 organism
 
Diver i
Diver iDiver i
Diver i
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
บท3เซลล์
บท3เซลล์บท3เซลล์
บท3เซลล์
 
monera-new.pptx
monera-new.pptxmonera-new.pptx
monera-new.pptx
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 

More from pitsanu duangkartok

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...pitsanu duangkartok
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfpitsanu duangkartok
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfpitsanu duangkartok
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1pitsanu duangkartok
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfpitsanu duangkartok
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfpitsanu duangkartok
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfpitsanu duangkartok
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfpitsanu duangkartok
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfpitsanu duangkartok
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfpitsanu duangkartok
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดpitsanu duangkartok
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)pitsanu duangkartok
 

More from pitsanu duangkartok (20)

cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
cancer therapy by pitsanu_duangkartok ...
 
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdfบทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
บทนำเกี่ยวกับโรคมะเร็ง (Cancer introduction).pdf
 
steroid.pdf
steroid.pdfsteroid.pdf
steroid.pdf
 
Hormone exercise
Hormone exerciseHormone exercise
Hormone exercise
 
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdfการลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
การลดลงของ MHC Class I ในมะเร็ง ตอนที่ 2.pdf
 
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
MHC Class I Downregulation in Cancer Part 1
 
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdfMelatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
Melatonin a New Way to Reduce Self-Harm.pdf
 
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdfCarbohydrates และ Glycobiology.pdf
Carbohydrates และ Glycobiology.pdf
 
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdfโครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
โครงสร้างและคุณสมบัติของคาร์โบไฮเดรตและไขมัน.pdf
 
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdfมลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
มลพิษทางน้ำ (Water pollution).pdf
 
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdfอาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
อาหารกับสารเคมีที่ก่อให้เกิดมะเร็ง.pdf
 
Pharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptxPharmaceutical Suspensions.pptx
Pharmaceutical Suspensions.pptx
 
Metabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdfMetabolism and Energy.pdf
Metabolism and Energy.pdf
 
Ecosystem part 2
Ecosystem part 2Ecosystem part 2
Ecosystem part 2
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdfCellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
Cellular Pathology พิษณุ ดวงกระโทก.pdf
 
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอดการศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
การศึกษาโครงสร้างของหัวใจหมู โครงสร้างอวัยวะแลกเปลี่ยนแก๊ส และการวัดปริมาตรปอด
 
Common Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdfCommon Chemotherapy Drugs.pdf
Common Chemotherapy Drugs.pdf
 
สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)สรีรวิทยา (part 3)
สรีรวิทยา (part 3)
 

Introduction to bacteriology,morphology and classification of bacteria

  • 1. พิษณุ ดวงกระโทก Bacteriology เป็นการศึกษาเกี่ยวกับการจาแนกและการจัดหมวดหมู่ของแบคทีเรีย ศึกษาโครงสร้าง สรีระ วิทยา สารพันธุกรรม และการก่อโรคของแบคทีเรีย Antonie van Leeuwenhoek เป็นบิดาจุลชีววิทยา พัฒนา “simple microscope” (270x) ต่อจาก Robert Hooke’s Microscope การจัดจาแนกมีดังนี้ Bacterial nomenclature ตั้งชื่อตามคณะกรรมการ International Committee on Systematics of Prokaryotes Shape, property : Staphylococcus aureus (กลม คล้ายองุ่น สีเหลืองอ่อน มันวาว นูน ทึบแสง แกรม+) Escherichia coli (แท่ง colony สีชมพู แกรม-) Habitat : Streptococcus oralis (เส้นสาย กลม ช่องปาก) Disease : Streptococcus pneumoniae (ปอดอักเสบ) Scientist : Yersinia spp. (Dr. Alexandre Yersin) (ชื่อผู้ค้นพบ) Endemic area : Burkholderia thailandiensis (ประเทศไทย) องค์กรที่ทาการเก็บเชื้อเพื่อศึกษา 1. American Type Culture Collection (ATCC), USA 2. National Collection of Type Culture (NCTC),United Kingdom 3. Collection de I’Institut Pasteur (CIP), France เราจะศึกษาตั้งแต่ระดับ Family ลงไป Family คาลงท้ายคือ ……aceae จาแนกจาก คุณสมบัติทางชีวภาพ สายพันธุ์ภายในสปีชีส์ (strain)
  • 2. พิษณุ ดวงกระโทก Characteristics of Eukaryotes and Prokaryotes S=10-13 วินาที Phenotypic identification (การระบุจากลักษณะภายนอก) คุณลักษณะของ Microscopic 1. ย้อมแกรม 2. Size (~1 micrometre) 3. Shape (Bacillus วัดขนาดจาก กว้างxยาว , Spiral , Coccus วัดขนาดจากเส้นผ่านศูนย์กลาง) 4. การจัดเรียงตัว (cluster , chain , diplococci) ถ้าเห็นวงใสๆ คือ สปอร์ แบคทีเรียจะอยู่เป็น colony มีการแบ่งจาก 1 เป็น 2 บนแผ่นวุ้น สามารถจาแนกได้จาก ขนาด รูปร่าง (circular, irregular, filamentous, or spindle) บริเวณขอบของ colony (smooth, wavy, filamentous) พื้นผิว (smooth, wrinkled=รอยย่น, rough) สี ความโปร่งแสง (translucent=โปร่งใส or opaque=ทึบแสง) การยกตัว (flat, raised,convex=นูน) ความหนืด เนื้อสัมผัส สร้างพลังงานที่ cell membrane
  • 3. พิษณุ ดวงกระโทก ขั้นตอนการย้อมแกรม คุณสมบัติทางชีวภาพ 1.ความต้องการ O2 aerobic bacteria → ต้องการ O2 เท่านั้น facultative anaerobic bacteria → มีหรือไม่มี O2 ก็ได้ microaerophilic bacteria (5-10% O2) → ต้องการ O2 น้อยๆ เท่านั้น anaerobic bacteria → ห้ามมี O2 2.อุณหภูมิ 3. ระยะเวลาที่ใช้แบ่งตัว ➔ นาแบคทีเรียมากระจายตัว ➔ ทาให้เกิดเป็น complex ➔ Acetone + Alcohol ทาให้ peptidoglycan หดตัว ซับให้แห้ง แกรมบวก ติดสีม่วง peptidoglycan หนา แกรมลบ ติดสีแดง peptidoglycan บาง
  • 4. พิษณุ ดวงกระโทก 4.ความต้องการสารอาหาร microplasma ต้องเติม stirrer 5.ปัจจัยอื่นๆ halophilic bacteria : high salt concentration osmophilic bacteria : high osmotic pressure acidophilic bacteria : high acidic condition alkaliphilic bacteria : high basidic condition 6.ความสามารถในการเคลื่อนที่ (ส่วนใหญ่ใช้ flagella) ใช้วุ้นกึ่งแข็งในการทา motility test Genotypic identification (การจาแนกโดยใช้สารพันธุกรรม) Molecular techniques เช่น DNA sequencing Phylogenetic Tree (ความสัมพันธ์ทางวิวัฒนาการ) ประเภทของอาหารเลี้ยงเชื้อ Agar -> เป็นอาหารแข็ง มี % วุ้นมากที่สุด ใช้ดูการกระจายตัวและความต่างของ colony Broth -> เป็นอาหารเหลว ช่วยในการเจริญ semi-solid -> กึ่งแข็ง ใช้ทดสอบการเคลื่อนที่ biphasic medium -> อาหารผสม (บนเหลว ล่างแข็ง) ช่วยในการเจริญ และดูความแตกต่างของ colony เมื่อเท ของเหลวทิ้ง ประเภทของอาหารเลี้ยงเชื้อจาแนกตามสารอาหาร 1. Plain media → for most non-fastidious bacteria 2. Differential media → มีอาหารเฉพาะตัวใดตัวหนึ่ง ใช้แยกความแตกต่างระหว่างแบคทีเรีย 2 ชนิด 3. Enrichment media → liquid media contains inhibitory substances for normal flora normal flora คือเชื้อประจาถิ่น 4. Selective media → solid media promotes the growth of interested bacteria (same as enrichment media) 5. Enriched media → complete medium composed of blood, serum, or egg yolk to promote the growth of fastidious bacteria 6. Transport media → ใช้เก็บเชื้อในระหว่างการขนส่ง โครงสร้างของแบคทีเรีย Nucleoid เป็นที่อยู่ของสารพันธุกรรม ไม่มีเยื่อหุ้ม ประกอบด้วย DNA วงแหวน 1 ชุด(n) แบคทีเรียบางชนิดจะลาเลียงสาร พันธุกรรมจากภายนอกเข้ามา กลายเป็น plasmid เชื้อที่เคลื่อนที่ได้ สีจะขุ่น แยกให้ออก
  • 5. พิษณุ ดวงกระโทก สารพันธุกรรมจากภายนอกอาจเข้ามาในรูปแบบต่างๆ ดังนี้ Plasmid เป็น extrachromosomal DNA ส่วนใหญ่เป็น circular DNA สามารถจาลองตัวเอง Transposable element เป็น linear double strand DNA พบทั้งบนโครโมโซม และ plasmid การเคลื่อนที่จะอาศัย เอนไซม์ transposase ไปตัดสาย DNA บริเวณจาเพาะ Intregon คล้าย transposable element ตรงที่เป็น linear double strand DNA แต่ส่วนประกอบจะแตกต่างออกไป ได้แก่ integrase gene Bacteriophage นาสารพันธุกรรมเข้าผ่านไวรัสของแบคทีเรีย Cytoplasm มีโครงสร้างไม่ซับซ้อน ไม่มี organelle ที่มีเยื่อหุ้ม มี 70S ribosome (50S+30S) Cell membrane เป็น phospholipid bilayer ที่มีกรดไขมันกับโปรตีนแทรก ทาหน้าที่ควบคุม permeability Cell Wall ทาหน้าที่ปกป้องเซลล์ และป้องกันการแตกจากแรง osmotic มีสารพวก peptidoglycan, a polymer of polysaccharides cross-linked by short peptides Peptidoglycan ประกอบด้วย 3 ส่วน 1. polysaccharide → N-Acetylglucosamine (NAG) + N-acetylmuramic acid (NAM) (เบต้า-1,4 linkage) → เป็น backbone ยาปฏิชีวนะที่มี เบต้า-lactams ring สามารถยับยั้ง peptide bridge ได้ Cell wall of gram positive bacteria ส่วนใหญ่เป็น Peptidoglycan ประกอบด้วย Teichoic acid และ Teichuronic acid Teichoic acid -> ribitol teichoic acid link to NAM of cell wall lipoteichoic acid link to glycolipid of cell membrane Teichuronic acid -> D-glucuronic acid N-acetyl-mannosaminuronic acid อ่านเพิ่ม https://www.biomed.in.th/bacterial-mobile-genetic-elements/ 2. 3.
  • 6. พิษณุ ดวงกระโทก Cell wall of gram negative bacteria มี peptidoglycan บาง ,อ่อนแอกว่าแกรมบวก ส่วน outer membrane ประกอบด้วย phospholipid (inside) , lipopolysaccharide (LPS) (outside) Lipopolysaccharide (LPS) ส่วน Glycolipid พบเฉพาะในแบคทีเรียแกรมลบ แบคทีเรียสร้างสารพิษออกมา เป็นสาเหตุของโรค endotoxemia ส่งผลต่อการแข็งตัวของเลือดในหลอดเลือด → มี 3 องค์ประกอบ Lipid A อยู่ใน outer membrane (cytotoxic): sugar phosphate link with long chain fatty acid core polysaccharide→ทะลุผ่านไปนอกเซลล์, chain of sugar molecules (แกรมลบมีเหมือนกันหมด), link to O -specific antigen *O-specific antigen→ทะลุผ่านไปนอกเซลล์, short chain of repeated sugar molecules (แกรมลบแต่ละตัว แตกต่างกัน) with specific antigenic properties ใช้ในการจัดจาแนกเชื้อ L-form bacteria ไม่มี cell wall เนื่องจากถูกยับยั้งการสังเคราะห์ peptidoglycan โดย mutation, drugs , environment or by nature สามารถมีชีวิตและเพิ่มจานวนในสิ่งแวดล้อมที่มีความดันออสโมติกเหมือนกับภายในเซลล์ และสามารถกลับไป เป็นเซลล์ปกติได้ ต่อต้านยาปฏิชีวนะกลุ่ม เบต้า-lactam Flagella Compose of flagellin protein, ยื่นออกจาก cell membrane ทาหน้าที่ช่วยในการเคลื่อนที่ รูปแบบของ Flagella 1. Monotrichous 2. Lophotrichous 3. Amphitrichous (Amphilophotrichous ≥ 2 ) 4. Peritrichous แกรมบวก แกรมลบ
  • 7. พิษณุ ดวงกระโทก Pili or fimbriae short hair composed of Pilin or fimbrillin protein, ยื่นออกจาก cell membrane, ในแกรมลบ 1 cell มี 1-100 pili ใช้ เกาะกับ host ส่วน sex pili ใช้ conjugation Capsule ส่วนใหญ่เป็น polysaccharide ยกเว้น protein capsule of B. anthracis มีบทบาทในการป้องกันเซลล์จาก สิ่งแวดล้อมที่แย่, การยึดของเซลล์, ยับยั้ง phagocytosis และต้านทานต่อการป้องกันของโฮสต์, มี antigen ที่ เฉพาะ เช่น K antigen (epidemiology, bacterial identification) Spore ประกอบด้วย dipicolinic acid สร้างเมื่ออยู่ในสภาพแวดล้อมที่แย่ ,มีอัตรา metabolic ต่า ,Thick shell resist to strong environment ในทางการแพทย์มี 2 จีนัส คือ Bacillus (ต้องมี O2 ในการสร้าง spore) Clostridium (ต้องไม่มี O2 ในการสร้าง spore) Vegetative cell: เซลล์ปกติของแบคทีเรีย ขั้นตอนในการวินิจฉัย ღღღღღღღღღღღღღღღღღღღღღ