SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
สาระประวัติศาสตร์ วิชาเพิ่มเติม ส22202 ท้องถิ่นไทดา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย
สอนโดย นางปานทิพย์ ดอนขันไพร ครู โรงเรียนวัดสระสี่มุม เวลา 2ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการ
ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ
ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
2. ผลการเรียนรู้
มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย
3. สาระสาคัญ
การสืบค้น การสารวจแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการส่งเสริม สร้างสรรค์ ภูมิปัญญาไทยและ
แหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ทาให้ผู้เรียนรักและหวงแหน รู้จัก
คุณค่าของสิ่งแวดล้อมในชุมชน
4. สาระการเรียนรู้
4.1 ความรู้ความสามารถ
อธิบายประวัติความเป็นมาและการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย
4.2 ทักษะกระบวนการ
การสืบค้นและความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการวิจัยในการ
เรียนรู้โดยการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ และใช้วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน
5. ประวัติการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย
ผู้ไทดาหรือลาวโซ่ง อพยพเข้าสู่ประเทศไทยหลายครั้ง ดังนี้
ในสมัยกรุงธนบุรี เจ้าเมืองเวียงจันทน์เกิดวิวาทกับพระวอ พระวอสู้ไม่ได้จึงหนีมาพึ่งไทยที่ดอนมดแดง
(ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานี) ต่อมาเจ้าเมืองเวียงจันทน์มาจับพระวอไปประหารเสีย ทาให้พระเจ้ากรุง
ธนบุรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) ทรงขัดเคืองพระทัย จึงให้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 เมื่อครั้งดารงยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกพร้อมด้วยเจ้าพระยาสุรสีห์
พิษณุวาธิราช พระอนุชาเป็นแม่ทัพ ยกกองทัพไปตีเมืองหลวงพระบาง เมืองม่วย เมืองแถงเป็นเมืองของผู้ไทย
ซงดา ตั้งอยู่ในเขตแดนญวนเหนือแล้วกวาดเอาครอบครัวไทยเวียง ไทยซงดาลงมากรุงธนบุรีในเดือนยี่ ปีกุน
เอกศก พ.ศ.2322 ไทยซงดาโปรดให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่เมืองเพชรบุรี ไทยเวียงโปรดให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่เมือง
สระบุรีบ้าง และเมืองจันทบุรีบ้าง
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 พ.ศ.2335 พวกเมืองแถง
เมืองพวนได้แข็งข้อต่อเมืองเวียงจันทน์ เจ้าเมืองเวียงจันทน์จึงแต่งตั้งกองทัพขึ้นไปตีเมืองแถง เมืองพวน ได้พา
ครอบครัวของไทยซงดา และไทยพวน ส่งลงมา ณ กรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
โปรดให้ไทยซงดาไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เพชรบุรี ส่วนไทยพวนให้ตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ
ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับใบบอกจากเจ้าเมืองหลวงพระบางว่า พวกหัว
เมืองสิบสองจุไทยแข็งเมืองต่อเมืองหลวงพระบาง ขอให้ส่งกองทัพไปปราบ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า
เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาธรรมา (สมบุญ) เป็นแม่ทัพ ยกกองทัพไปปราบใน พ.ศ.
2378 จับได้ไทยพวน ไทยซงดา จึงกวาดต้อนเอาครอบครัวชาวเมืองแถง ซึ่งส่วนมากเป็นไทยซงดา ลงมา
กรุงเทพฯ และโปรดเกล้าฯ ให้ไปตั้งภูมิลาเนา ณ เมืองเพชรบุรี
พ.ศ.2379 ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พวกเมืองหึม เมืองคอย เมือง
ควน ได้แข็งเมืองต่อหลวงพระบาง เจ้าอุปราช เจ้าราชวงศ์ แต่งให้ท้าวพระยาคุมกองทัพขึ้นไปปราบ จับได้ไทย
ซงดา แล้วแต่งให้พระยาศรีมหานามคุมลงมากรุงเทพฯ แล้วให้ลงไปอยู่ที่เมืองเพชรบุรีอีก
ครั้นรุ่งขึ้นอีกสองปี พ.ศ.2381 ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เจ้านาย
เมืองหลวงพระบางและเมืองเวียงจันทน์เกิดวิวาทกัน คือ เจ้าอุปราช เจ้าราชวงศ์ มีข้อพิพาทกัน เจ้าราชวงศ์ลง
มากรุงเทพฯ ได้คุมไทยซงดาลงมาด้วย
พ.ศ.2407 เกิดความระส่าระสายในแคว้นตังเกี๋ย สิบสองจุไทและลาวตอนเหนือ พวกจีนฮ่อเข้ามา
ก่อกวนในแถบแม่น้าดา แม่น้าแดงและที่ราบสูงตรันนินห์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
(รัชกาลที่ 4) หัวเมืองฝ่ายเหนือ คือ หลวงพระบางและเวียงจันทน์ ถูกพวกจีนฮ่อบุกเข้าโจมตี เจ้าเมืองทั้ง 2
ขอความช่วยเหลือมายังกรุงเทพฯ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5) โปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีไป
ปราบจีนฮ่อในพ.ศ.2428 ปราบสาเร็จได้กวาดต้อนครอบครัวผู้ไทดามาด้วยในพ.ศ.2430 ต่อมาเวียดนามถูก
ฝรั่งเศสยึดครองจึงอ้างสิทธิ์ครอบครองสิบสองจุไทย ไทยจาเป็นต้องมอบแคว้นสิบสองจุไทยให้อยู่ในความดูแล
ของฝรั่งเศสในพ.ศ.2434
6. ชิ้นงาน/ภาระงาน
แผนผังความคิด ประวัติความเป็นมาของการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
7.1 ขั้นสร้างความสนใจ (ล่วงหน้าก่อนการเรียนการสอนในชั่วโมงจริง)
1.1 ครูสร้างห้องเรียนออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตดดยใช้ facebook เป็นเครื่องมือในการให้นักเรียนเข้า
มาเรียนรู้ โดยใช้ ลิงค์นี้ https://www.facebook.com/groups/151368248559425/ ให้นักเรียนเข้าไป
เรียนรู้วีดีโอก่อนเข้าเรียนในชั่วโมงเรียน
เพื่อเป็นประเด็นในแง่มุมต่างๆ โดยตั้งกระทู้ถามนักเรียนว่าชาวไทดาอพยพเข้ามาสู่ประเทศไทยในสมัยใดบ้าง
กี่ครั้ง แล้วเดินทางจากที่ใด โดยให้นักเรียนจดบันทึกสิ่งที่ได้ชมมา
1.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่างบนอินเทอร์เน็ตหรือทางสื่อต่างๆ ล่วงหน้าก่อนการ
เรียนในห้องเรียน เช่น Line, Facebook, ตามแต่ที่จะถนัด เช่น
- เมื่อมีการเข้ามาชมให้นักเรียนที่เป็นสมาชิกเข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ได้ชม
1.3 นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรืออาจจะหาคลิปวิดีโอที่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง แชร์เสริมไว้ในหัวข้อ
นี้ได้
7.2 ขั้นที่2 สารวจและค้นหา
เมื่อถึงชั่วโมงเรียนให้นักเรียนทุกคนทาแบบสารวจความคิดเห็นในเรื่องที่ชมว่ามีความคิดเห็นอย่างไร ตาม
ประเด็นที่ครูตั้งให้ โดยใช้ แอปพิเคชั่น Poll Everywhere เพื่อสามารถประมวลผลความคิดเห็นของผู้เรียนได้
ทันที
ครูถามว่า 1.ชาวไทดาอพยพเข้ามาสู่ประเทศตั้งแต่สมัยใด
2. ชาวไทดาอพยพมาครั้งแรกในสมัยใด
3. ชาวไทดาอพยพตั้งถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดใดบ้าง
ดังภาพนี้ เมื่อใช้คาถาม ถามไป นักเรียนตอบมาหลายคาตอบ เมื่อครูนามาเปิดให้นักเรียนดูใน
ห้องเรียนจะทราบว่านักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่ครูให้ไปชมมากน้อยเพียงใด
7.3 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป
เมื่อทราบทราบความเข้าใจในเรื่องราวของนักเรียนที่ได้ชมคลิปไปแล้ว ครูจะสามารถอธิบายหรือพูด
เสริมในส่วนที่นักเรียนยังไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิดได้ เช่น ในแผนนี้ นักเรียนบางคนพิมพ์ว่าชาวไทดาอพยพเข้า
มายังประเทศไทยครั้งแรกในสมัยธนบุรีมากที่สุด ซึ่งถูกต้อง แต่ยังมีนักเรียนบางส่วนตอบเป็นคาถามอื่น ครูก็
สามารถเปิดคลิปย้อนในเฉพาะส่วนนี้ได้ เป็นต้น
และเมื่อมีความเข้าใจถูกต้องครบตามวัตถุประสงค์แล้ว ครูให้นักเรียนทาใบงาน โดยจัดทาเป็นแผนผัง
ความคิด โดยในเรื่องนี้ ครูให้นักเรียนทาเป็น Timeline ขั้นตอนประวัติการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศ
ไทย
3. ขั้นขยายความรู้ ขั้นตอนนี้ครูจะสรุปความรู้โดยให้เล่นเกม Kahoot เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ
จากเนื้อหาที่ได้ชมในคลิปวีดีโอ และใบงานที่ให้โดยตอบคาถามจากในแอปพลิเคชั่น Kahoot ที่ครูสร้างขึ้น โดย
เข้าที่ลิงค์นี้ https://play.kahoot.it/#/k/7529369f-c923-42f2-8403-e5f99e5ae57a
8. สื่อและแหล่งเรียนรู้
7.1 สื่อคลิปวีดีโอ เรื่อง ประวัติชาวไทดา https://www.youtube.com/watch?v=aMDNl4KbdZo
7.2 แอปพลิเคชั่น Poll Everywhere https://www.polleverywhere.com
7.3 แอปพลิเคชั่น kahoot เพื่อใช้ประเมินผล https://kahoot.it/#/
7.4 facebook กลุ่มห้องเรียนไทดา https://www.facebook.com/groups/151368248559425/
9. การวัดผลและประเมินผล
9.1 วิธีการ
9.1.1 สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ดังนี้
- การสนทนา ซักถามกันในกลุ่ม
- การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ
- การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- การตรวจสอบผลงาน
- การประเมินผลรวม
9.1.2 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ดังนี้
- ความรับผิดชอบ
- ความขยันในการทางาน
- ความประหยัด
- ความมีวินัย
- ใฝ่เรียนรู้
9.1.3 ประเมินผลการทาใบงาน แผนผังความคิด
9.2 เครื่องมือ
9.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน
9.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล
9.3 เกณฑ์การประเมิน
9.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ต้องอยู่ในระดับดีทุกรายการขึ้นไป ถือว่า
ผ่านเกณฑ์
การสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
การวางแผนการทางาน
ให้ 1 ประชุมวางแผนบ้าง
ให้ 2 มีการประชุมวางแผนบ่อยครั้ง
ให้ 3 มีการประชุมวางแผนร่วมกันทุกครั้ง
การแบ่งงานกันรับผิดชอบ
ให้ 1 ไม่ได้แบ่งงานกันรับผิดชอบ
ให้ 2 มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบเป็นบางครั้ง
ให้ 3 มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบทุกครั้ง
การรับฟังความคิดเห็นของสมาชิก
ให้ 1 สมาชิกไม่แสดงความคิดเห็นและไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ให้ 2 สมาชิกรับฟังความคิดเห็นมากและรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
เป็นบางครั้ง
ให้ 3 สมาชิกแสดงความคิดเห็นมากและรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน
ทุกครั้ง
9.3.3 การสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนรายบุคคล ต้องอยู่ในระดับดีทุกรายการ ขึ้นไป ถือว่า
ผ่านเกณฑ์
การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล
ความรับผิดชอบ
ให้ 1 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1 ใน 3 รายการ
ให้ 2 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2 ใน 3 รายการ
ให้ 3 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายทุกรายการ
ความขยันในการทางาน
ให้ 1 ไม่มีข้อมูลนาเสนอในกลุ่ม
ให้ 2 มีข้อมูลมาร่วมนาเสนอในกลุ่มบ้าง
ให้ 3 มีข้อมูลมาร่วมนาเสนอในกลุ่ม
ความประหยัด
ให้ 1 ใช้งบประมาณเกินกาหนด
ให้ 2 ใช้งบประมาณตามกาหนด
ให้ 3 ใช้งบประมาณน้อยกว่าที่กาหนด
ความมีวินัย
ให้ 1 ส่งงานช้ากว่ากาหนดไม่เกิน 2 วัน
ให้ 2 ส่งงานช้ากว่ากาหนดไม่เกิน 1 วัน
ให้ 3 ส่งงานตรงตามกาหนด
ใฝ่เรียนรู้
ให้ 1 ใช้แหล่งข้อมูลในการสืบค้น 1 แหล่ง
ให้ 2 ใช้แหล่งข้อมูลในการสืบค้น 2 แหล่ง
ให้ 3 ใช้แหล่งข้อมูลในการสืบค้นตั้งแต่ 3 แหล่งขึ้นไป
ลงชื่อ นางปานทิพย์ ดอนขันไพร ครูผู้สอน และออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทยTonkao Limsila
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 

What's hot (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ศิลปะไทย
ศิลปะไทยศิลปะไทย
ศิลปะไทย
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
การสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเลการสำรวจทางทะเล
การสำรวจทางทะเล
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 

Viewers also liked

Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmediatayval
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศchaimate
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์chaiwat vichianchai
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดรายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดchaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดlookgade
 

Viewers also liked (9)

Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmedia
 
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์บูรณาการการใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาดรายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ ต่ำเสื่อทอสาด
 
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุดแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  17แผนการจัดการเรียนรู้ที่  17
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ

Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาsuchinmam
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะsuchinmam
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนsmellangel
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งSittikorn Thipnava
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ (20)

Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เพศศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
นิ่ง
นิ่งนิ่ง
นิ่ง
 
วันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชาวันวิสาขบูชา
วันวิสาขบูชา
 
วันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะวันธรรมสวนะ
วันธรรมสวนะ
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผนที16
แผนที16แผนที16
แผนที16
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต งโครงงานคอมพร อมตกแต ง
โครงงานคอมพร อมตกแต ง
 

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ วิชาเพิ่มเติม ส22202 ท้องถิ่นไทดา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง ประวัติความเป็นมาและการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย สอนโดย นางปานทิพย์ ดอนขันไพร ครู โรงเรียนวัดสระสี่มุม เวลา 2ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 4.1 เข้าใจความหมายความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์สามารถใช้วิธีการ ทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็นระบบ ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบันในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น 2. ผลการเรียนรู้ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับประวัติความเป็นมาและการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย 3. สาระสาคัญ การสืบค้น การสารวจแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการส่งเสริม สร้างสรรค์ ภูมิปัญญาไทยและ แหล่งเรียนรู้รอบโรงเรียนด้วยการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน ทาให้ผู้เรียนรักและหวงแหน รู้จัก คุณค่าของสิ่งแวดล้อมในชุมชน 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ความรู้ความสามารถ อธิบายประวัติความเป็นมาและการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย 4.2 ทักษะกระบวนการ การสืบค้นและความสัมพันธ์ของเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการวิจัยในการ เรียนรู้โดยการใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ และใช้วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้าน 5. ประวัติการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย ผู้ไทดาหรือลาวโซ่ง อพยพเข้าสู่ประเทศไทยหลายครั้ง ดังนี้ ในสมัยกรุงธนบุรี เจ้าเมืองเวียงจันทน์เกิดวิวาทกับพระวอ พระวอสู้ไม่ได้จึงหนีมาพึ่งไทยที่ดอนมดแดง (ปัจจุบันคือจังหวัดอุบลราชธานี) ต่อมาเจ้าเมืองเวียงจันทน์มาจับพระวอไปประหารเสีย ทาให้พระเจ้ากรุง ธนบุรี (พระบาทสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช) ทรงขัดเคืองพระทัย จึงให้พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 เมื่อครั้งดารงยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกพร้อมด้วยเจ้าพระยาสุรสีห์ พิษณุวาธิราช พระอนุชาเป็นแม่ทัพ ยกกองทัพไปตีเมืองหลวงพระบาง เมืองม่วย เมืองแถงเป็นเมืองของผู้ไทย
  • 2. ซงดา ตั้งอยู่ในเขตแดนญวนเหนือแล้วกวาดเอาครอบครัวไทยเวียง ไทยซงดาลงมากรุงธนบุรีในเดือนยี่ ปีกุน เอกศก พ.ศ.2322 ไทยซงดาโปรดให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่เมืองเพชรบุรี ไทยเวียงโปรดให้ไปตั้งบ้านเรือนอยู่เมือง สระบุรีบ้าง และเมืองจันทบุรีบ้าง ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 พ.ศ.2335 พวกเมืองแถง เมืองพวนได้แข็งข้อต่อเมืองเวียงจันทน์ เจ้าเมืองเวียงจันทน์จึงแต่งตั้งกองทัพขึ้นไปตีเมืองแถง เมืองพวน ได้พา ครอบครัวของไทยซงดา และไทยพวน ส่งลงมา ณ กรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดให้ไทยซงดาไปตั้งบ้านเรือนอยู่ที่เพชรบุรี ส่วนไทยพวนให้ตั้งอยู่ที่กรุงเทพฯ ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้รับใบบอกจากเจ้าเมืองหลวงพระบางว่า พวกหัว เมืองสิบสองจุไทยแข็งเมืองต่อเมืองหลวงพระบาง ขอให้ส่งกองทัพไปปราบ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เจ้าพระยาธรรมา (สมบุญ) เป็นแม่ทัพ ยกกองทัพไปปราบใน พ.ศ. 2378 จับได้ไทยพวน ไทยซงดา จึงกวาดต้อนเอาครอบครัวชาวเมืองแถง ซึ่งส่วนมากเป็นไทยซงดา ลงมา กรุงเทพฯ และโปรดเกล้าฯ ให้ไปตั้งภูมิลาเนา ณ เมืองเพชรบุรี พ.ศ.2379 ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 พวกเมืองหึม เมืองคอย เมือง ควน ได้แข็งเมืองต่อหลวงพระบาง เจ้าอุปราช เจ้าราชวงศ์ แต่งให้ท้าวพระยาคุมกองทัพขึ้นไปปราบ จับได้ไทย ซงดา แล้วแต่งให้พระยาศรีมหานามคุมลงมากรุงเทพฯ แล้วให้ลงไปอยู่ที่เมืองเพชรบุรีอีก ครั้นรุ่งขึ้นอีกสองปี พ.ศ.2381 ในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 เจ้านาย เมืองหลวงพระบางและเมืองเวียงจันทน์เกิดวิวาทกัน คือ เจ้าอุปราช เจ้าราชวงศ์ มีข้อพิพาทกัน เจ้าราชวงศ์ลง มากรุงเทพฯ ได้คุมไทยซงดาลงมาด้วย พ.ศ.2407 เกิดความระส่าระสายในแคว้นตังเกี๋ย สิบสองจุไทและลาวตอนเหนือ พวกจีนฮ่อเข้ามา ก่อกวนในแถบแม่น้าดา แม่น้าแดงและที่ราบสูงตรันนินห์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) หัวเมืองฝ่ายเหนือ คือ หลวงพระบางและเวียงจันทน์ ถูกพวกจีนฮ่อบุกเข้าโจมตี เจ้าเมืองทั้ง 2 ขอความช่วยเหลือมายังกรุงเทพฯ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว(รัชกาลที่ 5) โปรดเกล้าฯให้เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรีไป ปราบจีนฮ่อในพ.ศ.2428 ปราบสาเร็จได้กวาดต้อนครอบครัวผู้ไทดามาด้วยในพ.ศ.2430 ต่อมาเวียดนามถูก ฝรั่งเศสยึดครองจึงอ้างสิทธิ์ครอบครองสิบสองจุไทย ไทยจาเป็นต้องมอบแคว้นสิบสองจุไทยให้อยู่ในความดูแล ของฝรั่งเศสในพ.ศ.2434 6. ชิ้นงาน/ภาระงาน แผนผังความคิด ประวัติความเป็นมาของการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศไทย 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ 7.1 ขั้นสร้างความสนใจ (ล่วงหน้าก่อนการเรียนการสอนในชั่วโมงจริง)
  • 3. 1.1 ครูสร้างห้องเรียนออนไลน์บนอินเทอร์เน็ตดดยใช้ facebook เป็นเครื่องมือในการให้นักเรียนเข้า มาเรียนรู้ โดยใช้ ลิงค์นี้ https://www.facebook.com/groups/151368248559425/ ให้นักเรียนเข้าไป เรียนรู้วีดีโอก่อนเข้าเรียนในชั่วโมงเรียน เพื่อเป็นประเด็นในแง่มุมต่างๆ โดยตั้งกระทู้ถามนักเรียนว่าชาวไทดาอพยพเข้ามาสู่ประเทศไทยในสมัยใดบ้าง กี่ครั้ง แล้วเดินทางจากที่ใด โดยให้นักเรียนจดบันทึกสิ่งที่ได้ชมมา 1.2 ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายในประเด็นต่างบนอินเทอร์เน็ตหรือทางสื่อต่างๆ ล่วงหน้าก่อนการ เรียนในห้องเรียน เช่น Line, Facebook, ตามแต่ที่จะถนัด เช่น - เมื่อมีการเข้ามาชมให้นักเรียนที่เป็นสมาชิกเข้ามาร่วมแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ได้ชม 1.3 นักเรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม หรืออาจจะหาคลิปวิดีโอที่เป็นเรื่องที่เกี่ยวข้อง แชร์เสริมไว้ในหัวข้อ นี้ได้ 7.2 ขั้นที่2 สารวจและค้นหา เมื่อถึงชั่วโมงเรียนให้นักเรียนทุกคนทาแบบสารวจความคิดเห็นในเรื่องที่ชมว่ามีความคิดเห็นอย่างไร ตาม ประเด็นที่ครูตั้งให้ โดยใช้ แอปพิเคชั่น Poll Everywhere เพื่อสามารถประมวลผลความคิดเห็นของผู้เรียนได้ ทันที ครูถามว่า 1.ชาวไทดาอพยพเข้ามาสู่ประเทศตั้งแต่สมัยใด 2. ชาวไทดาอพยพมาครั้งแรกในสมัยใด
  • 4. 3. ชาวไทดาอพยพตั้งถิ่นฐานอยู่ที่จังหวัดใดบ้าง ดังภาพนี้ เมื่อใช้คาถาม ถามไป นักเรียนตอบมาหลายคาตอบ เมื่อครูนามาเปิดให้นักเรียนดูใน ห้องเรียนจะทราบว่านักเรียนเข้าใจเนื้อหาที่ครูให้ไปชมมากน้อยเพียงใด 7.3 ขั้นที่ 3 อธิบายและลงข้อสรุป เมื่อทราบทราบความเข้าใจในเรื่องราวของนักเรียนที่ได้ชมคลิปไปแล้ว ครูจะสามารถอธิบายหรือพูด เสริมในส่วนที่นักเรียนยังไม่เข้าใจหรือเข้าใจผิดได้ เช่น ในแผนนี้ นักเรียนบางคนพิมพ์ว่าชาวไทดาอพยพเข้า มายังประเทศไทยครั้งแรกในสมัยธนบุรีมากที่สุด ซึ่งถูกต้อง แต่ยังมีนักเรียนบางส่วนตอบเป็นคาถามอื่น ครูก็ สามารถเปิดคลิปย้อนในเฉพาะส่วนนี้ได้ เป็นต้น และเมื่อมีความเข้าใจถูกต้องครบตามวัตถุประสงค์แล้ว ครูให้นักเรียนทาใบงาน โดยจัดทาเป็นแผนผัง ความคิด โดยในเรื่องนี้ ครูให้นักเรียนทาเป็น Timeline ขั้นตอนประวัติการอพยพของชาวไทดาเข้าสู่ประเทศ ไทย 3. ขั้นขยายความรู้ ขั้นตอนนี้ครูจะสรุปความรู้โดยให้เล่นเกม Kahoot เพื่อทดสอบความรู้ความเข้าใจ จากเนื้อหาที่ได้ชมในคลิปวีดีโอ และใบงานที่ให้โดยตอบคาถามจากในแอปพลิเคชั่น Kahoot ที่ครูสร้างขึ้น โดย เข้าที่ลิงค์นี้ https://play.kahoot.it/#/k/7529369f-c923-42f2-8403-e5f99e5ae57a
  • 5. 8. สื่อและแหล่งเรียนรู้ 7.1 สื่อคลิปวีดีโอ เรื่อง ประวัติชาวไทดา https://www.youtube.com/watch?v=aMDNl4KbdZo 7.2 แอปพลิเคชั่น Poll Everywhere https://www.polleverywhere.com 7.3 แอปพลิเคชั่น kahoot เพื่อใช้ประเมินผล https://kahoot.it/#/ 7.4 facebook กลุ่มห้องเรียนไทดา https://www.facebook.com/groups/151368248559425/ 9. การวัดผลและประเมินผล 9.1 วิธีการ 9.1.1 สังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ดังนี้ - การสนทนา ซักถามกันในกลุ่ม - การแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ - การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น - การตรวจสอบผลงาน - การประเมินผลรวม 9.1.2 สังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ดังนี้ - ความรับผิดชอบ - ความขยันในการทางาน - ความประหยัด - ความมีวินัย - ใฝ่เรียนรู้ 9.1.3 ประเมินผลการทาใบงาน แผนผังความคิด 9.2 เครื่องมือ 9.2.1 แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน 9.2.2 แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล 9.3 เกณฑ์การประเมิน 9.3.1 การสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน ต้องอยู่ในระดับดีทุกรายการขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ การสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม การวางแผนการทางาน ให้ 1 ประชุมวางแผนบ้าง ให้ 2 มีการประชุมวางแผนบ่อยครั้ง ให้ 3 มีการประชุมวางแผนร่วมกันทุกครั้ง การแบ่งงานกันรับผิดชอบ ให้ 1 ไม่ได้แบ่งงานกันรับผิดชอบ ให้ 2 มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบเป็นบางครั้ง ให้ 3 มีการแบ่งงานกันรับผิดชอบทุกครั้ง
  • 6. การรับฟังความคิดเห็นของสมาชิก ให้ 1 สมาชิกไม่แสดงความคิดเห็นและไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ให้ 2 สมาชิกรับฟังความคิดเห็นมากและรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน เป็นบางครั้ง ให้ 3 สมาชิกแสดงความคิดเห็นมากและรับฟังความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ทุกครั้ง 9.3.3 การสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียนรายบุคคล ต้องอยู่ในระดับดีทุกรายการ ขึ้นไป ถือว่า ผ่านเกณฑ์ การสังเกตพฤติกรรมนักเรียนรายบุคคล ความรับผิดชอบ ให้ 1 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 1 ใน 3 รายการ ให้ 2 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมาย 2 ใน 3 รายการ ให้ 3 ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายทุกรายการ ความขยันในการทางาน ให้ 1 ไม่มีข้อมูลนาเสนอในกลุ่ม ให้ 2 มีข้อมูลมาร่วมนาเสนอในกลุ่มบ้าง ให้ 3 มีข้อมูลมาร่วมนาเสนอในกลุ่ม ความประหยัด ให้ 1 ใช้งบประมาณเกินกาหนด ให้ 2 ใช้งบประมาณตามกาหนด ให้ 3 ใช้งบประมาณน้อยกว่าที่กาหนด ความมีวินัย ให้ 1 ส่งงานช้ากว่ากาหนดไม่เกิน 2 วัน ให้ 2 ส่งงานช้ากว่ากาหนดไม่เกิน 1 วัน ให้ 3 ส่งงานตรงตามกาหนด ใฝ่เรียนรู้ ให้ 1 ใช้แหล่งข้อมูลในการสืบค้น 1 แหล่ง ให้ 2 ใช้แหล่งข้อมูลในการสืบค้น 2 แหล่ง ให้ 3 ใช้แหล่งข้อมูลในการสืบค้นตั้งแต่ 3 แหล่งขึ้นไป ลงชื่อ นางปานทิพย์ ดอนขันไพร ครูผู้สอน และออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้