SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
1
บทที่1
บทนำ
ที่มำและควำมสำคัญ
ทักษะในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
มีข้อคิดหลักที่จะพัฒนาให้โลกมีความทันสมัยใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์
โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนล้วนมุ่งเน้นให้เยาวชนมีการปลูกจิตสานึกให้กับยุคที่ทันสมัยแต่เ
ป็นที่รู้จักกันดีว่าในยุคนี้โลกโซเชียลได้เข้ามามีบทบาทและมีอิทธิพลต่อมนุษย์เป็นย่างมาก
ดังนั้นการนาเสนอการเรียนรู้
จะจัดทาและเผยแพร่ความรู้ให้มีความโดดเด่นและเกิดแรงดึงดูดความสนใจ
ผู้จัดทาจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับการจัดทาบล็อกเพื่อที่จะนาเสนอความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในทาง
ที่เกิดประโยชน์
โดยมีการผสมผสานความทันสมัยทางเทคโนโลยีซึ่งเป็นอีกจุดที่สาคัญต่อเยาวชนที่จะหันมาศึกษาก
ารใช้โลกโซเชียลให้ถูกทางและเกิดประโยชน์สูงสุดและบล็อกยังนาเสนอข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงที่
น่าเชื่อถือจากหลากหลายแหล่ง โดยนาไปใช้ในการเรียนการสอนหรือค้นคว้าอีกด้วย
จุดประสงค์
1. เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสมดุลของแรง
2. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
3. เพื่อสร้างบล็อกการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ บูรนาการการใช้สื่อสังคมออนไลน์
ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ
1. สามารถนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาบูรนาการกับการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิท
ธิภาพ
2
2. ได้นาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ขอบเขตกำรศึกษำ
โครงงานวิทยาศาสตร์ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เรื่องสมดุลของแรง
นิยำมศัพท์เฉพำะ
1. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
2. การใช้สื่อสังคมออนไลน์
3. สมดุลของแรง
3
บทที่2
เอกสำรที่เกี่ยวข้อง
1. กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21
ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษที่ 21
เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21
ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง
ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทัก
ษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19
โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill)
ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21นี้ มีความรู้ ความสามารถ
และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน
ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21(21st Century Skills) วิจารณ์
พานิช (2555:16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้
สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่
๒๑ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter)
ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา
และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้
ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่และภาษาสาคัญของโลก
ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์
ประวัติศาสตร์
โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจั
ดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21
4
โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้
ทักษะแห่งศตวรรษที่2
ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness)
ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial,
Economics, Business and Entrepreneurial Literacy)
ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy)
ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy)
ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy)
ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม
จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน
ได้แก่
ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม
การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา
การสื่อสารและการร่วมมือ
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี
เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย
ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากห
ลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ
ความรู้เกี่ยวกับสื่อ
ความรู้ด้านเทคโนโลยี
ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ
นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้
5
ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)
ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C
3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่
Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และทักษะในการแก้ปัญหา)
Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม
ต่างกระบวนทัศน์)
Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม
และภาวะผู้นา)
Communications, Information, and Media Literacy(ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ
และรู้เท่าทันสื่อ)
Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์
และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร)
Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ
และทักษะการเรียนรู้)
แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่ :การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้
6
โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศต
วรรษที่ 21โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน
เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model)
ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(Partnership
For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21
ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้
ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน
เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนินชีวิต
2. กำรใช้สื่อสังคมออนไลน์
ความหมายของคาว่าSocial network สังคมออนไลน์ ในโลกยุคใหม่ที่ไร้พรมแดน
ผู้คนสามารถเดินทางข้ามพรมแดน ข้ามกาลเวลาไปพบปะพูดคุยกับใครก็ได้ ที่ไหนก็ได้
เวลาใดก็ย่อมได้เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส
โดยเริ่มจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
จะเห็นได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลต่อระบบการศึกษาโดยตรง ทั้งนี้
เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรอบรู้
จัดระบบประมวลผล ส่งผ่านและสื่อสารด้วยความเร็วสูงและปริมาณมาก
นาเสนอและแสดงผลด้วยระบบสื่อต่าง ๆ ทั้งทางด้านข้อมูล รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว
และวิดีโอ
อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบทาให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบผล
สาเร็จด้วยดี (สาระน่ารู้ประจาสัปดาห์. 2553: ออนไลน์) ซึ่งในช่วงเวลา 5ปีที่ผ่านมานั้น
ความเจริญก้าวหน้าและการเติบโตอย่างก้าวกระโดดด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) และเทคโนโลยีการสื่อสารได้เปลี่ยนวิถีทางการดาเนินชีวิต
การดาเนินธุรกิจ และการสื่อสารของคนในสังคมไปอย่างมากมาย
โดยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีการสื่อสารได้บ่งชี้ว่าสื่อหรือเครื่องมือสื่อสารที่ได้รับความนิยมในแต่ล
7
ะช่วงเวลาจะมีอิทธิพลต่อความคิดของคนและจะเป็นปัจจัยสาคัญที่กาหนดกรอบความคิดและความ
เข้าใจในการมองโลกรอบ ๆตัวเราด้วย (Eid and Ward 2009)
ปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกมีจานวนเกือบสองพันล้านคนแล้วในเดือนมิถุนายน ปี
2553 (InternetWorld Stats, 2010)
อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นแหล่งแห่งการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก
ทาให้เกิดการเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารจากยุคการสื่อสารแบบดั้งเดิม
ในโลกแห่งความเป็นมาสู่การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลแห่งโลกเสมือนจริง (Virtual
World) ก่อให้เกิดยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน
ทาให้คนจานวนมากทั่วโลกมีการดาเนินชีวิตทั้งในสังคมของโลกแห่งความเป็นจริงและสังคมแห่งโ
ลกเสมือนจริงผลจากความก้าวหน้าของระบบอินเทอร์เน็ต
คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ทางสังคม คือ
เครือข่ายสังคมใหม่ที่รู้กันอย่างแพร่หลายว่า “สังคมออนไลน์” (Online Community) หรือ
“สังคมเสมือน” (Virtual Community) หรือ “เครือข่ายสังคมออนไลน์” (Social Network)
โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์นี้เป็นพื้นที่สาธารณะที่สมาชิกซึ่งก็คือคนทุกเพศ ทุกวัย
ทุกเชื้อชาติและศาสนา ทุกระดับการศึกษา
ทุกสาขาอาชีพและทุกกลุ่มสังคมย่อยจากทั่วโลกเป็นผู้สื่อสารหรือเขียนเล่าเนื้อหาเรื่องราว
ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่สมาชิกเขียนและทาขึ้นเองหรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ
แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไ
ลน์ (Social Media) เครือข่ายสังคมออนไลน์เติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง
ก่อให้เกิดวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีของสื่อสังคมออนไลน์หลากหลายประเภท ได้แก่เว็บบล็อก
(Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า บล็อก (Blog เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking
Sites) เช่นFacebook, Myspace และ hi5 เป็นต้น เว็บไซต์สาหรับแบ่งปันวิดีโอ (Video-sharing
Sites) และผลงาน เช่นYouTube เว็บประเภท Micro Blog เช่นTwitter วิกิ (Wikis) และโลกเสมือน
เช่น SecondLife และ World WarCraft เป็นต้น จากความก้าวหน้าดังกล่าว จะเห็นว่า
ปัจจุบันการสื่อสารบนโลกออนไลน์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้
เนื่องจากการพัฒนาของเทคโนโลยี Web 2.0
8
และการเกิดขึ้นของสังคมเครือข่ายที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามากาหนดและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้รับส
ารและผู้บริโภคเกือบสิ้นเชิง ทาให้เกิดช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ ๆเป็นจานวนมาก
ในยุคที่อินเทอร์เน็ตกาลังเป็นที่นิยมและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งจากการพัฒนาขอ
งโลก เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) จากยุคแรกหรือเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะเป็น Static
Web คือมีการนาเสนอข้อมูลทางเดียว ต่อมาเข้าสู่เว็บยุคที่ 2 หรือ Web 2.0
จึงเป็นยุคที่เน้นให้อินเทอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น
เน้นให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ลงบนเว็บไซต์ร่วมกัน
และสามารถโต้ตอบกับข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ได้ และผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา (Content)
แลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลกันได้ทั้งในระดับบุคคลหรือกลุ่มจนกลายเป็นสังคมในโลกอินเทอร์เ
น็ต หรือเรียกว่า สังคมออนไลน์ (Social Network) นั่นเอง สังคมออนไลน์ (Social Networking)
คือสังคมที่ผู้คนสามารถทาความรู้จัก ร่วมแบ่งปันสิ่งที่สนใจ
และสามารถเชื่อมโยงกันได้ในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ในโลกอินเทอร์เน็ต
โดยอาศัยรูปแบบการบริการ เรียกว่า “บริการเครือข่ายสังคม หรือ Social Networking Service
(SNS)”โดยเป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในการสร้างเครือข่ายสังคม
สาหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ตที่ใช้เขียนและอธิบายความสนใจและกิจกรรมที่ได้ทาและเชื่อมโยงกั
บความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลส่วนตัว บทความรูปภาพผลงาน พบปะ
แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ หรือความสนใจร่วมกัน และกิจกรรมอื่น ๆ
รวมไปถึงเป็นแหล่งข้อมูลจานวนมหาศาลที่ผู้ใช้สามารถช่วยกันสร้างเนื้อหาขึ้นได้ตามความสนใจ
ของแต่ละบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ประเทศไทยได้มีการปฏิรูปการศึกษา
โดยมุ่งหวังจะยกระดับการศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานและจัดได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ
มีการปฏิรูปครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
โดยในการปฏิรูประบบบริหารและการจัดการศึกษาได้หลอมรวมหน่วยงานทางการศึกษา
และจัดโครงสร้างใหม่ เป็นระดับกระทรวงและระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษาภ
ายเขตพื้นที่การศึกษา ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้มีเขตพื้นที่การศึกษา 2ส่วน คือ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
9
โดยมีผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานซึ่งอินเทอร์เน็ตเป็น
ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย
สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว การใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถแบ่งออกเป็น 2 ยุค ได้แก่
ยุคแรกเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะการนาเสนอข้อมูลทางเดียว เนื่องจาก
ผู้จัดทาเว็บไซต์จะทาหน้าที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหรือนาเสนอเนื้อหา
ให้กับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว ผู้ใช้งานไม่สามารถโต้ตอบข้อมูลบนเว็บไซต์ได้
ต่อมาในยุคที่สอง เรียกว่า Web 2.0 เป็นการเน้นให้อินเทอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น
ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมในการโต้ตอบข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์
สามารถสร้างข้อมูลหรือเนื้อหาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ทั้งระดับ ปัจเจกบุคคล
และระดับกลุ่ม การเติบโตของอินเทอร์เน็ต
ในยุคนี้ทาให้เกิดครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสังคม
ออนไลน์ที่ช่วยให้คนสามารถทาความรู้จักกัน เปิดเผย ข้อมูลส่วนตัว รูปภาพ วิดีโอ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความสนใจร่วมกัน (Cheung, Chiu, & Lee, 2010)
จากสถิติพบว่าปัจจุบันมีคนกว่า 100ล้านคนทั่วโลกที่ ติดต่อผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการใช้
Face book, MySpace, LinkedIn และเครือข่ายอื่นๆ ซึ่งแต่ละคน สามารถที่จะสร้าง Profile
ของตนเอง และสามารถ เชื่อมต่อกับ Profile ของบุคคลอื่น เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน
ข้อมูลระหว่างกันได้ (Cheung & Lee, 2010) เครือข่าย
สังคมออนไลน์ได้รับความนิยมสูงสุดไม่เพียงเฉพาะใน กลุ่มของนักศึกษามหาวิทยาลัยเท่านั้น
แม้แต่บรรดา ผู้นาองค์กรชั้นนาของโลก กลุ่มคนทางานที่มีหลากหลายวัย
ต่างก็ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กันอยู่เป็นประจา
คาว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์มีผู้ให้ความหมาย ไว้หลากหลาย
แต่ในบทความนี้จะใช้ความหมายของ อดิเทพ บุตรราช (2553) ซึ่งได้ให้นิยามคาว่าเครือข่าย
สังคมออนไลน์ หมายถึง กลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมและ
มีการทากิจกรรมร่วมกันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง
10
อยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์มีการแพร่ขยายออกไปเรื่อยๆ
โดยใช้รูปแบบของการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต
มีการสร้างเครือข่ายชุมชนเสมือนบน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการ
ติดต่อสื่อสาร การทากิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษา ธุรกิจ
และความบันเทิง คนในสังคม ปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์เพิ่ม มากขึ้น
มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อบอกเล่า เรื่องราว ประสบการณ์ รูปภาพ และวิดีโอ
ที่ผู้ใช้จัดทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่อต่างๆ แล้วนามาแบ่งปันให้
กับเพื่อนและผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนได้ทราบผ่าน ทางเว็บไซต์ของเครือข่ายสังคมออนไลน์
นอกจากนั้น เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม
(สุภาภรณ์ เพชรสุภา, 2554) ได้แก่
1. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ตัวตน”
เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะใช้นาเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของ ตนเองผ่านทางอินเทอร์เน็ต
หรือผู้ใช้สามารถเขียน Blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อนในห้องเรียน
และสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์ประเภทนี้คือ myspace.com, hi5.com
และ facebook.com เป็นต้น 2.
กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ผลงาน” อาจจะเป็นผลงานของกลุ่มหรือผลงานของตัวเอง โดย
สามารถนาเสนอในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ
หรือเสียงอาจารย์สอนที่ได้จากการบันทึกในชั้นเรียน เป็นต้น ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้เช่น
YouTube.com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr.com, Multiply.com เป็นต้น
3. กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ
เรื่องเดียวกัน อาจเป็นลักษณะ Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า
แทนที่ เราจะทา Bookmark เว็บไซต์ที่เราชอบ หรือบทความ รายงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียน
เก็บไว้ในเครื่องของเรา คนเดียว เราก็สามารถทา Bookmark เก็บไว้บนเว็บไซต์ แทน
เพื่อเป็นการแบ่งให้เพื่อนๆ คนอื่นเข้ามาดูได้ด้วย
และเราก็สามารถได้ว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก หรือเป็นที่น่าสนใจ
11
โดยดูจากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์ นั้นถูก Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้
ได้แก่Delicious, Digg, Zickr, Duocore.tv เป็นต้น
4. กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม
การทางานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่เปิด โอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามานาเสนอ
ข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ WikiPedia
ซึ่งเป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไข บทความต่างๆ
ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรม ออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และ
เหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย จากที่กล่าวมาทั้งหมด
จะเห็นได้เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์
มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ใน
การใช้งานในด้านต่างๆและสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น
5. ในขณะนี้ Facebook จัดเป็นเว็บไซต์เครือข่าย
สังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลกและมีรายงานผลตัวเลขที่น่าสนใจเกี่ยวกับ
Facebook พบว่า ผู้ที่ใช้งาน Facebook มากกว่า 50% ไม่ได้เป็นนักศึกษา
กลุ่มอายุที่มีการใช้งานที่เติบโตรวดเร็วมากที่สุดคือ กลุ่ม คนอายุ 30 ปีขึ้นไป
เฉลี่ยเวลาในการใช้งาน 20นาที ต่อครั้ง มีผู้ใช้งานมากกว่า 15 ล้านคนที่อัพเดทสถานะ
อย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง และในแต่ละเดือนมีการอัพโหลด คลิปวิดีโอมากกว่า 5ล้านคลิปวิดีโอ
(ตัวเลขน่าสนใจจาก Facebook, 2554) ซึ่งจากสถิติที่กล่าวมาแสดงให้เห็นถึง
พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนในสังคม ปัจจุบันที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
และเริ่มเข้ามามีบทบาท หรือเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของคนวัยทางานที่ใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ต
โดยเฉพาะในปัจจุบันสามารถใช้งาน ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ จึงทาให้สถิติการใช้เครือข่าย
สังคมออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
6. ดังนั้นในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์
จึงสามารถกล่าวได้ว่า เครือข่าย สังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของ
คนในทุกระดับ ทุกเพศและทุกวัย นอกจากนั้นการใช้
12
เครือข่ายสังคมออนไลน์ยังมีผลกระทบในหลายๆ ด้าน
บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์
ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และผลกระทบจากการใช้
เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนในสังคมปัจจุบัน
จุดเริ่มต้นของ Social networksเกิดจากเว็บไซต์ classmates.com เมื่อปี 1995และเว็บไซต์
SixDegrees.com ในปี 1997
ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่จากัดการใช้งานเฉพาะนักเรียนที่เรียนในโรงเรียนเดียวกัน เพื่อสร้างประวัติ
ข้อมูลการสื่อสาร ส่งข้อความ
และแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สนใจร่วมกันระหว่างเพื่อนนักเรียนในลิสต์เท่านั้น ต่อมาในปี 1999
เว็บไซต์ epinions.com ที่พัฒนาโดย Jonathan Bishop
ก็ได้มีการเพิ่มฟังก์ชั่นในส่วนของการที่ผู้ใช้สามารถควบคุมเนื้อหาและติดต่อถึงกันได้
ไม่เพียงแต่เพื่อนในลิสต์เท่านั้น
แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน
สถานศึกษาจาเป็นต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้เรียน
เห็นความสาคัญและมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน
มีทักษะพร้อมที่จะเข้าสู่การรวมกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน
ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2554 : 11 – 51)ได้เสนอแนะแนวทางไว้ ดังนี้
1. จัดการเรียนรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ซึ่งมีมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6มาตรฐาน ส 4.2 ข้อ
/บอกความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน สาระการเรียนรู้แกนกลาง คือ ความเป็นมาของกลุ่มอาเซียน
สมาชิกของอาเซียนและความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันโดยสังเข
ป นอกจากนี้
สาระประวัติศาสตร์ยังกาหนดให้เรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวั
นออกเฉียงใต้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5,6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1
เมื่อวิเคราะห์ประเด็นเกี่ยวกับอาเซียน ต้องดาเนินการดังนี้
13
1.1 จัดทาหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน
บูรนาการในโครงสร้างรายวิชาที่มีอยู่แล้ว 1.2 จัดทาผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้
1.3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
1.4 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้
2. การจัดการเรียนรู้แบบบูรนาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ซึ่งควรดาเนินการดังนี้
2.1 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ
ที่สอดคล้องกับเรื่องอาเซียน 2.2 จัดทาหน่วยการเรียนรู้บูรนาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ
โดยใช้กลุ่มสารการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นแกน
2.3 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design)
2.4 เขียนแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรนาการ
3. การจัดการเรียนรู้โดยการจัดทาเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยกาหนดผลการเรียนรู้
แล้วนามาเขียนคาอธิบายรายวิชาและนาไปจัดทาหน่วยการเรียนรู้
ออกแบบการเรียนรู้และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้
4. การจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกอบด้วยกิจกรรม 3 ลักษณะ ได้แก่กิจกรรมแนะแนว
กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนในด้านองค์ความรู้และเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนในการอยู่ร่วม
กันในฐานะสมาชิกของอาเซียน ซึ่งแนวการจัดดังนี้
4.1 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง
โดยการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนจากค้นหาจากเว็บไซต์ ห้องสมุด
รายการโทรทัศน์
14
4.2 การจัดค่ายประชาคมอาเซียน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ
ประสบการณ์และเสริมสร้างคุณลักษณะที่ดีในการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน
โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านปฏิบัติจริง
4.3 การจัดทาโครงงานอาเซียน
ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในการศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความสามารถ
ความถนัด ความสนใจ โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น ให้คาปรึกษาแก่นักเรียน
4.4 การจัดวันหรือสัปดาห์อาเซียน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน
เผยแพร่และนาเสนอผลงานที่ได้ทาไว้แล้ว รวมทั้งการตอบปัญหาอาเซียน
4.5 การจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรมอาเซียน
เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ
จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการส่งเสริมความรู้เรื่องอาเซียน
4.6 การจัดกิจกรรมแรลลี่ เป็นลักษณะของกิจกรรมที่เสนอแนวคิดในการเสริมสร้าง
ให้เกิดการทางานเป็นทีมและเรียนรู้เกี่ยวอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพ
3. สมดุลของแรง
1. สมดุล หมายถึงการไม่เปลี่ยนสภาพของการเคลื่อนที่
คือถ้าวัตถุอยู่นิ่งก็จะอยู่นิ่งต่อไปหรือถ้าเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที
ลักษณะการสมดุลมี 3 ประเภท คือ
1.1 สมดุลเสถียร (Stable Equilibrium)
หมายถึงวัตถุอยู่ในสภาพมั่นคงเมื่อถูกแรงกระท่าก็ไม่เปลี่ยนสภาพจุดศูนย์ถ่วงอยู่ต่าทาให้แนวน้าห
นักออกจากฐานยาก เช่น กรวยคว่าบนพื้น ตุ๊กตาล้มลุก เป็นต้น
1.2 สมดุลไม่เสถียร (Unstable Equilibrium)
หมายถึง ถ้าวัตถุถูกแรงกระท่าจะเปลี่ยนสภาพทันที จุดศูนย์ถ่วงอยู่สูงและฐานแคบ
แนวน้าหนักจึงพร้อมที่จะออกจากฐานทันที เช่น รูปกรวยที่เอายอดลง เหรียญบาทที่เอาขอบตั้งขึ้น
เป็นต้น
1.3 สมดุลสะเทิน (NeutralEquilibrium)
15
หมายถึง เมื่อวัตถุถูกแรงกระท่าจะเปลี่ยนตาแหน่งแต่ยังมีลักษณะเหมือนเดิม
จุดศูนย์ถ่วงอยู่ในแนวระดับเมื่อวัตถุเปลี่ยนตาแหน่งไปก็ยังคงสภาพเดิมได้ เช่น
รูปกรวยที่เอาข้างลง ทรงกระบอกที่วางตามแนวนอน เป็นต้น
2. สมดุลต่อการเลื่อนตาแหน่ง
สมดุลต่อการเลื่อนตาแหน่ง หมายถึง สภาพสมดุลของวัตถุที่เกิดขึ้นเมื่อแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์
ท่าให้วัตถุรักษาสภาพการอยู่นิ่งของวัตถุหรือ สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยความเร็วคงที่ไว้
– กรณีวัตถุอยู่นิ่งเรียกว่า สมดุลสถิต เช่นแรงที่กระท่าต่อวัตถุตัดกันที่จุดเดียว
16
– กรณีที่มีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่เรียกว่า สมดุลจลน์ เช่นรถยนต์วิ่งด้วยความเร็วคงที่
ลิฟท์ขึ้นด้วยความเร็วคงที่
3. โมเมนต์และสมดุลต่อการหมุน
โมเมนต์ คือ ผลของการกระท่าของแรงที่ท่าให้เกิดการหมุน
กาหนดให้มีค่าเท่ากับแรงคูณกับระยะทางตั้งฉากจากแนวแรงไปยังจุดหมุน เป็นปริมาณเวกเตอร์
ที่มีทั้งขนาดและทิศทาง หน่วยของโมเมนต์ คือ นิวตัน.เมตร เขียนเป็นสูตรได้ว่า
17
โมเมนต์มี 2ชนิด คือ
จุดศูนย์กลางมวล(C.M.)และจุดศูนย์ถ่วง(C.G.)
– จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ(C.M.) คือ
ตาแหน่งที่มวลรวมของวัตถุอยู่อาจจะอยู่ในหรือนอกวัตถุก็ได้
– จุดศูนย์ถ่วงมวลของวัตถุ(C.M.) คือ ตาแหน่งที่น้าหนักรวมของวัตถุอยู่
อาจจะอยู่ในหรือนอกวัตถุก็ได้
18
ตัวอย่างดังรูป แสดงจุด C.M. และ C.G.ซึ่งวัตถุมีความหนาแน่นสม่าเสมอ
19
บทที่3
วิธีกำรดำเนินงำน
ขั้นตอนกำรวำงแผนกำรดำเนินงำน
ผู้จัดทาโครงงานได้วางแผนการดาเนินงาน ดังนี้
1. ตั้งชื่อเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์
2. เขียนเค้าโครง โครงงานวิทยาศาสตร์
3. กาหนดแผนปฏิบัติงาน
4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์
5. ออกแบบและจัดทาบล็อก
6. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
7. การวิเคราะห์ข้อมูล
8. สรุปการดาเนินงาน
9. จัดทารูปเล่มโครงงาน
10. นาเสนอโครงงาน
ขั้นตอนกำรดำเนินงำน
1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับสมดุลของแรง
2. รวบรวมข้อมูล
3. จัดทาเป็นบล็อกให้ความรู้
4. จัดทารูปเล่มโครงงานและนาเสนอ
20
ปฏิทินการดาเนินงาน
ลาดับ กิจกรรม วันที่
1. ผู้จัดทาหาหัวข้อที่จะทา 4 กรกฎาคม พ.ศ.2559
2. ผู้จัดทาวางแผนในการจัดทาโครงงาน 5 กรกฎาคม พ.ศ.2559
3. ออกแบบและจัดทา Blog 10 กรกฎาคม พ.ศ.2559
4. รวบรวมข้อมูล 15 สิงหาคม พ.ศ.2559
5. วิเคราะห์และสรุปผล 18 สิงหาคม พ.ศ.2559
6. นาเสนอโครงงาน 29 สิงหาคม พ.ศ.2559
21
บทที่4
ผลกำรดำเนินงำน
ส่วนประกอบของ Blog
1. หน้าแรก
2. ตัวอย่างสมดุลกล
3. สภาพสมดุล
4. สภาพสมดุล โมเมนต์
5. สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
6. บล็อกของฉัน
7. แรงเสียดทานและสมดุล
8. วีดีโอ เรื่องสมดุลของแรง
9. วีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องสมดุลของแรง
10. วีดีโอ แนะนาบล็อก
22
1. หน้ำแรก
เป็นหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องสมดุลของแรง
2. ตัวอย่ำงสมดุลกล
เป็นหน้าที่แสดงตัวอย่างสมดุลกล
23
3. สภำพสมดุล
เป็นหน้าที่อธิบายถึงสภาพสมดุล
4. สภำพสมดุลโมเมนต์
เป็นหน้าที่อธิบายถึงสภาพสมดุลโมเมนต์
24
5. สภำพสมดุลและสภำพยืดหยุ่น
เป็นหน้าที่แสดง เรื่องสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
6. บล็อกของฉัน
เป็นหน้าที่เกี่ยวกับประวัติของผู้จัดทาบล็อก
25
7. แรงเสียดทำนและสมดุล
เป็นหน้าที่แสดง เรื่องแรงเสียดทานและสมดุล
8. วีดีโอเรื่องสมดุลของแรง
เป็นหน้าที่แสดงวีดีโอการสอน เรื่องสมดุลของแรง
26
9. วีดีโอแนะนำบล็อกเรื่องกำรสมดุลของแรง
เป็นหาที่แสดงวีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องการสมดุลของแรง
10. วีดีโอแนะนำBlog
เป็นหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลความรู้ เรื่องสมดุลของแรง
27
บทที่5
สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลกำรดำเนินงำน
จากผลการดาเนินงานพบว่า Blog แห่งการเรียนรู้นั้นจะประกอบไปด้วยทั้งหมด 10 หน้า
ได้แก่
1. หน้าแรก เป็นหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องสมดุลของแรง
2. ตัวอย่างสมดุลกล เป็นหน้าที่แสดงตัวอย่างสมดุลกล
3. สภาพสมดุล เป็นหน้าที่อธิบายถึงสภาพสมดุล
4. สภาพสมดุลโมเมนต์ เป็นหน้าที่อธิบายถึงสภาพสมดุลโมเมนต์
5. สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เป็นหน้าที่แสดง เรื่องสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
6. บล็อกของฉัน เป็นหน้าที่เกี่ยวกับประวัติของผู้จัดทาบล็อก
7. แรงเสียดทานและสมดุล เป็นหน้าที่แสดง เรื่องแรงเสียดทานและสมดุล
8. วีดีโอ เรื่องสมดุลของแรง เป็นหน้าที่แสดงวีดีโอการสอน เรื่องสมดุลของแรง
9. วีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องการสมดุลของแรง เป็นหาที่แสดงวีดีโอแนะนาบล็อก
เรื่องการสมดุลของแรง
10. วีดีโอแนะนา Blog เป็นหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลความรู้ เรื่องสมดุลของแรง
อภิปรำยผล
ผู้ที่เข้ามาศึกษา Blog แห่งการเรียนรู้นี้จะได้ทักษะการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์
เรื่องสมดุลของแรง สามารถให้ผู้สนใจศึกษาได้ศึกษาอย่างสะดวกโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ผู้ศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาพร้อมทั้งทาแบบทดสอบควบคู่กันไปด้วย โดยการศึก Blog
แห่งการเรียนรู้นั้น ทาให้ผู้เรียนมีความรู้หลากหลายด้านมากยิ่งขึ้น
สามารถค้นคว้าหาความรู้ต่างๆได้ด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีเนื้อหาที่หลากหลายมากขึ้น
28

More Related Content

What's hot

โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนNatthawut Sutthi
 
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศบทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศTanakorn Ngonmanee
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์Phiromporn Norachan
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบparwaritfast
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไปPreecha Asipong
 
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นกิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นPimnatthacha
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติbeauntp
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายSunanthaIamprasert
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีปรียา พรมเสน
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465YingZaa TK
 
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุป  อภิปรายผล ข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุป  อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะน๊อต เอกลักษณ์
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาNattarika Wonkumdang
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 

What's hot (20)

โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชนโครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
โครงการเก็บขยะในโรงเรียนสู่จิตสำนึกต่อชุมชน
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
92 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่5_กระเบื้องที่ยืดหดได้
 
I30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอนI30201 2-แผนการสอน
I30201 2-แผนการสอน
 
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศบทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
บทคัดย่อและกิตติกรรมประกาศ
 
โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์โครงงานฟิสิกส์
โครงงานฟิสิกส์
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
รายงานออกแบบ
รายงานออกแบบรายงานออกแบบ
รายงานออกแบบ
 
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
1 แบบฟอร์มการเขียนโครงการทั่วไป
 
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่นกิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
กิจกรรมที่1 โครงงานการทุจริต คอร์รัปชั่น
 
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติโครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
โครงงานแผ่นซับเสียงจากเส้นใยธรรมชาติ
 
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายการเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
 
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎีโครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
โครงงานประเภทการทดลองทฤษฎี
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุป  อภิปรายผล ข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุป  อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล ข้อเสนอแนะ
 
โครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสาโครงงานกระดาษสา
โครงงานกระดาษสา
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 

Viewers also liked

Analysis of Foreign Banks Instagram profile
Analysis of Foreign Banks Instagram profileAnalysis of Foreign Banks Instagram profile
Analysis of Foreign Banks Instagram profileRajnikant Dhingra
 
Manikyam_Hadoop_5+Years
Manikyam_Hadoop_5+YearsManikyam_Hadoop_5+Years
Manikyam_Hadoop_5+YearsManikyam M
 
La Microhistòria
La MicrohistòriaLa Microhistòria
La MicrohistòriaFranky MN
 
The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...
The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...
The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...Helen Farley
 
Classification catorgories
Classification catorgoriesClassification catorgories
Classification catorgorieslaurenu2710
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bondingvxiiayah
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 
Concise History of Google Algorithm Updates
Concise History of Google Algorithm UpdatesConcise History of Google Algorithm Updates
Concise History of Google Algorithm Updates10seos
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...
SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...
SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...GoLeanSixSigma.com
 
Die & mould maker profile 1
Die & mould maker profile 1Die & mould maker profile 1
Die & mould maker profile 1Maxpromotion
 
writing chemical formulas
writing chemical formulaswriting chemical formulas
writing chemical formulasvxiiayah
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์Nan's Tippawan
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์Nattanan Thammakhankhang
 
Presentation โครงงานคณิต
Presentation โครงงานคณิตPresentation โครงงานคณิต
Presentation โครงงานคณิตAroonrat Kaewtanee
 

Viewers also liked (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Portfolio 2015.ppsx
Portfolio 2015.ppsxPortfolio 2015.ppsx
Portfolio 2015.ppsx
 
Analysis of Foreign Banks Instagram profile
Analysis of Foreign Banks Instagram profileAnalysis of Foreign Banks Instagram profile
Analysis of Foreign Banks Instagram profile
 
Manikyam_Hadoop_5+Years
Manikyam_Hadoop_5+YearsManikyam_Hadoop_5+Years
Manikyam_Hadoop_5+Years
 
La Microhistòria
La MicrohistòriaLa Microhistòria
La Microhistòria
 
The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...
The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...
The prison is another country: incarcerated students and (im)mobility in Aust...
 
Classification catorgories
Classification catorgoriesClassification catorgories
Classification catorgories
 
chemical bonding
chemical bondingchemical bonding
chemical bonding
 
Rsg 539 2016 ch
Rsg 539 2016 chRsg 539 2016 ch
Rsg 539 2016 ch
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
Concise History of Google Algorithm Updates
Concise History of Google Algorithm UpdatesConcise History of Google Algorithm Updates
Concise History of Google Algorithm Updates
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...
SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...
SUCCESS STORY: Streamlining Capital Delivery for King County’s Wastewater Tre...
 
Die & mould maker profile 1
Die & mould maker profile 1Die & mould maker profile 1
Die & mould maker profile 1
 
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
เนื้อหาความรู้เรื่องโครงงานวิทย์
 
writing chemical formulas
writing chemical formulaswriting chemical formulas
writing chemical formulas
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
 
Presentation โครงงานคณิต
Presentation โครงงานคณิตPresentation โครงงานคณิต
Presentation โครงงานคณิต
 

Similar to บทที่ 1 - 5

การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21T' Bomb Kim-bomb
 
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0yPrefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0yAon Narinchoti
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะOopip' Orranicha
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionAnucha Somabut
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)Prachyanun Nilsook
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)lovegussen
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1lalidawan
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6Sineenartt
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลDuangnapa Inyayot
 

Similar to บทที่ 1 - 5 (20)

บท2
บท2บท2
บท2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในรศตวรรษที่ 21
 
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0yPrefix 20062555-040832-7e1 l0y
Prefix 20062555-040832-7e1 l0y
 
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะงานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
งานที่จะส่งจริงๆนะจ้ะ
 
241203 ed-math
241203 ed-math241203 ed-math
241203 ed-math
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special AttentionLearning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
Learning for the 21st century: Teachers Need Special Attention
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
Tablet pc สื่อการศึกษาไทยในศตวรรษที่ 21
 
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
การเรียนรู้ปฏิสัมพันธ์จินตวิศวกรรม (Interactive imagineering)
 
Social network 54
Social network 54Social network 54
Social network 54
 
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
Ptกระบวนการเรียนรู้ 5 steps (ใหม่)
 
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
งานนำเสนอนวัตกรรมบทที่1
 
Chapter3 jp
Chapter3 jpChapter3 jp
Chapter3 jp
 
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาบทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
บทที่ 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6งานนำเสนอบท 6
งานนำเสนอบท 6
 
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอลบทบาทครูในยุคดิจิตอล
บทบาทครูในยุคดิจิตอล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 1 - 5

  • 1. 1 บทที่1 บทนำ ที่มำและควำมสำคัญ ทักษะในการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีข้อคิดหลักที่จะพัฒนาให้โลกมีความทันสมัยใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ โดยเฉพาะการจัดการเรียนการสอนล้วนมุ่งเน้นให้เยาวชนมีการปลูกจิตสานึกให้กับยุคที่ทันสมัยแต่เ ป็นที่รู้จักกันดีว่าในยุคนี้โลกโซเชียลได้เข้ามามีบทบาทและมีอิทธิพลต่อมนุษย์เป็นย่างมาก ดังนั้นการนาเสนอการเรียนรู้ จะจัดทาและเผยแพร่ความรู้ให้มีความโดดเด่นและเกิดแรงดึงดูดความสนใจ ผู้จัดทาจึงได้ศึกษาเกี่ยวกับการจัดทาบล็อกเพื่อที่จะนาเสนอความรู้ทางวิทยาศาสตร์ในทาง ที่เกิดประโยชน์ โดยมีการผสมผสานความทันสมัยทางเทคโนโลยีซึ่งเป็นอีกจุดที่สาคัญต่อเยาวชนที่จะหันมาศึกษาก ารใช้โลกโซเชียลให้ถูกทางและเกิดประโยชน์สูงสุดและบล็อกยังนาเสนอข้อมูลจากแหล่งอ้างอิงที่ น่าเชื่อถือจากหลากหลายแหล่ง โดยนาไปใช้ในการเรียนการสอนหรือค้นคว้าอีกด้วย จุดประสงค์ 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสมดุลของแรง 2. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3. เพื่อสร้างบล็อกการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ บูรนาการการใช้สื่อสังคมออนไลน์ ประโยชน์ที่คำดว่ำจะได้รับ 1. สามารถนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาบูรนาการกับการใช้เทคโนโลยีได้อย่างมีประสิท ธิภาพ
  • 3. 3 บทที่2 เอกสำรที่เกี่ยวข้อง 1. กำรเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษที่ 21 เป็นเรื่องสาคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทัก ษะสาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21(21st Century Skills) วิจารณ์ พานิช (2555:16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันการเรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วยแนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ ของตนเองได้ สาระวิชาหลัก (Core Subjects) ประกอบด้วย ภาษาแม่และภาษาสาคัญของโลก ศิลปะ คณิตศาสตร์ การปกครองและหน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจั ดการเรียนรู้ในเนื้อหาเชิงวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21
  • 4. 4 โดยการส่งเสริมความเข้าใจในเนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้ ทักษะแห่งศตวรรษที่2 ความรู้เกี่ยวกับโลก (Global Awareness) ความรู้เกี่ยวกับการเงิน เศรษฐศาสตร์ ธุรกิจ และการเป็นผู้ประกอบการ (Financial, Economics, Business and Entrepreneurial Literacy) ความรู้ด้านการเป็นพลเมืองที่ดี (Civic Literacy) ความรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Literacy) ทักษะด้านการเรียนรู้และนวัตกรรม จะเป็นตัวกาหนดความพร้อมของนักเรียนเข้าสู่โลกการทางานที่มีความซับซ้อนมากขึ้นในปัจจุบัน ได้แก่ ความริเริ่มสร้างสรรค์และนวัตกรรม การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา การสื่อสารและการร่วมมือ ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี เนื่องด้วยในปัจจุบันมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางสื่อและเทคโนโลยีมากมาย ผู้เรียนจึงต้องมีความสามารถในการแสดงทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและปฏิบัติงานได้หลากห ลาย โดยอาศัยความรู้ในหลายด้าน ดังนี้ ความรู้ด้านสารสนเทศ ความรู้เกี่ยวกับสื่อ ความรู้ด้านเทคโนโลยี ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ในการดารงชีวิตและทางานในยุคปัจจุบันให้ประสบความสาเร็จ นักเรียนจะต้องพัฒนาทักษะชีวิตที่สาคัญดังต่อไปนี้
  • 5. 5 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability) ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W)Riting (เขียนได้), และ (A)Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่ Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา) Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะผู้นา) Communications, Information, and Media Literacy(ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ) Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) แนวคิดทักษะแห่งอนาคตใหม่ :การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 และกรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้
  • 6. 6 โดยร่วมกันสร้างรูปแบบและแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศต วรรษที่ 21โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21(Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความรู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนินชีวิต 2. กำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ ความหมายของคาว่าSocial network สังคมออนไลน์ ในโลกยุคใหม่ที่ไร้พรมแดน ผู้คนสามารถเดินทางข้ามพรมแดน ข้ามกาลเวลาไปพบปะพูดคุยกับใครก็ได้ ที่ไหนก็ได้ เวลาใดก็ย่อมได้เพียงแค่ปลายนิ้วสัมผัส โดยเริ่มจากความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว จะเห็นได้ว่าความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีสารสนเทศจะมีผลต่อระบบการศึกษาโดยตรง ทั้งนี้ เนื่องจากเทคโนโลยีสารสนเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับการรวบรวมข้อมูล ข่าวสาร ความรอบรู้ จัดระบบประมวลผล ส่งผ่านและสื่อสารด้วยความเร็วสูงและปริมาณมาก นาเสนอและแสดงผลด้วยระบบสื่อต่าง ๆ ทั้งทางด้านข้อมูล รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอ อีกทั้งยังสามารถสร้างระบบการมีปฏิสัมพันธ์โต้ตอบทาให้การเรียนรู้ในยุคใหม่ประสบผล สาเร็จด้วยดี (สาระน่ารู้ประจาสัปดาห์. 2553: ออนไลน์) ซึ่งในช่วงเวลา 5ปีที่ผ่านมานั้น ความเจริญก้าวหน้าและการเติบโตอย่างก้าวกระโดดด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) และเทคโนโลยีการสื่อสารได้เปลี่ยนวิถีทางการดาเนินชีวิต การดาเนินธุรกิจ และการสื่อสารของคนในสังคมไปอย่างมากมาย โดยงานวิจัยด้านเทคโนโลยีการสื่อสารได้บ่งชี้ว่าสื่อหรือเครื่องมือสื่อสารที่ได้รับความนิยมในแต่ล
  • 7. 7 ะช่วงเวลาจะมีอิทธิพลต่อความคิดของคนและจะเป็นปัจจัยสาคัญที่กาหนดกรอบความคิดและความ เข้าใจในการมองโลกรอบ ๆตัวเราด้วย (Eid and Ward 2009) ปัจจุบันผู้ใช้อินเทอร์เน็ตทั่วโลกมีจานวนเกือบสองพันล้านคนแล้วในเดือนมิถุนายน ปี 2553 (InternetWorld Stats, 2010) อินเทอร์เน็ตได้กลายเป็นแหล่งแห่งการแบ่งปันและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ใหญ่ที่สุดในโลก ทาให้เกิดการเปลี่ยนรูปแบบการสื่อสารจากยุคการสื่อสารแบบดั้งเดิม ในโลกแห่งความเป็นมาสู่การใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในยุคดิจิทัลแห่งโลกเสมือนจริง (Virtual World) ก่อให้เกิดยุคแห่งการสื่อสารไร้พรมแดน ทาให้คนจานวนมากทั่วโลกมีการดาเนินชีวิตทั้งในสังคมของโลกแห่งความเป็นจริงและสังคมแห่งโ ลกเสมือนจริงผลจากความก้าวหน้าของระบบอินเทอร์เน็ต คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ทางสังคม คือ เครือข่ายสังคมใหม่ที่รู้กันอย่างแพร่หลายว่า “สังคมออนไลน์” (Online Community) หรือ “สังคมเสมือน” (Virtual Community) หรือ “เครือข่ายสังคมออนไลน์” (Social Network) โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์นี้เป็นพื้นที่สาธารณะที่สมาชิกซึ่งก็คือคนทุกเพศ ทุกวัย ทุกเชื้อชาติและศาสนา ทุกระดับการศึกษา ทุกสาขาอาชีพและทุกกลุ่มสังคมย่อยจากทั่วโลกเป็นผู้สื่อสารหรือเขียนเล่าเนื้อหาเรื่องราว ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวิดีโอ ที่สมาชิกเขียนและทาขึ้นเองหรือพบเจอจากสื่ออื่นๆ แล้วนามาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนผ่านทางระบบอินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไ ลน์ (Social Media) เครือข่ายสังคมออนไลน์เติบโตอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ก่อให้เกิดวิวัฒนาการด้านเทคโนโลยีของสื่อสังคมออนไลน์หลากหลายประเภท ได้แก่เว็บบล็อก (Weblog) หรือเรียกสั้นๆ ว่า บล็อก (Blog เว็บไซต์เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Networking Sites) เช่นFacebook, Myspace และ hi5 เป็นต้น เว็บไซต์สาหรับแบ่งปันวิดีโอ (Video-sharing Sites) และผลงาน เช่นYouTube เว็บประเภท Micro Blog เช่นTwitter วิกิ (Wikis) และโลกเสมือน เช่น SecondLife และ World WarCraft เป็นต้น จากความก้าวหน้าดังกล่าว จะเห็นว่า ปัจจุบันการสื่อสารบนโลกออนไลน์ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว ทั้งนี้ เนื่องจากการพัฒนาของเทคโนโลยี Web 2.0
  • 8. 8 และการเกิดขึ้นของสังคมเครือข่ายที่อินเทอร์เน็ตได้เข้ามากาหนดและปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตของผู้รับส ารและผู้บริโภคเกือบสิ้นเชิง ทาให้เกิดช่องทางการสื่อสารรูปแบบใหม่ ๆเป็นจานวนมาก ในยุคที่อินเทอร์เน็ตกาลังเป็นที่นิยมและได้รับการพัฒนาอย่างไม่หยุดนิ่งจากการพัฒนาขอ งโลก เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web) จากยุคแรกหรือเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะเป็น Static Web คือมีการนาเสนอข้อมูลทางเดียว ต่อมาเข้าสู่เว็บยุคที่ 2 หรือ Web 2.0 จึงเป็นยุคที่เน้นให้อินเทอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น เน้นให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในการสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ลงบนเว็บไซต์ร่วมกัน และสามารถโต้ตอบกับข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ได้ และผู้ใช้สามารถสร้างเนื้อหา (Content) แลกเปลี่ยนและกระจายข้อมูลกันได้ทั้งในระดับบุคคลหรือกลุ่มจนกลายเป็นสังคมในโลกอินเทอร์เ น็ต หรือเรียกว่า สังคมออนไลน์ (Social Network) นั่นเอง สังคมออนไลน์ (Social Networking) คือสังคมที่ผู้คนสามารถทาความรู้จัก ร่วมแบ่งปันสิ่งที่สนใจ และสามารถเชื่อมโยงกันได้ในทิศทางใดทิศทางหนึ่ง ในโลกอินเทอร์เน็ต โดยอาศัยรูปแบบการบริการ เรียกว่า “บริการเครือข่ายสังคม หรือ Social Networking Service (SNS)”โดยเป็นรูปแบบของเว็บไซต์ในการสร้างเครือข่ายสังคม สาหรับผู้ใช้งานในอินเทอร์เน็ตที่ใช้เขียนและอธิบายความสนใจและกิจกรรมที่ได้ทาและเชื่อมโยงกั บความสนใจและกิจกรรมของผู้อื่น รวมทั้งข้อมูลส่วนตัว บทความรูปภาพผลงาน พบปะ แสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนประสบการณ์ หรือความสนใจร่วมกัน และกิจกรรมอื่น ๆ รวมไปถึงเป็นแหล่งข้อมูลจานวนมหาศาลที่ผู้ใช้สามารถช่วยกันสร้างเนื้อหาขึ้นได้ตามความสนใจ ของแต่ละบุคคลหรือกลุ่มบุคคล ประเทศไทยได้มีการปฏิรูปการศึกษา โดยมุ่งหวังจะยกระดับการศึกษาของชาติให้ได้มาตรฐานและจัดได้อย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ มีการปฏิรูปครู อาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา โดยในการปฏิรูประบบบริหารและการจัดการศึกษาได้หลอมรวมหน่วยงานทางการศึกษา และจัดโครงสร้างใหม่ เป็นระดับกระทรวงและระดับเขตพื้นที่การศึกษา ให้สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาเป็นหน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ในการบริหารและการจัดการศึกษาภ ายเขตพื้นที่การศึกษา ปัจจุบันกระทรวงศึกษาธิการกาหนดให้มีเขตพื้นที่การศึกษา 2ส่วน คือ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาและสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา
  • 9. 9 โดยมีผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการปฏิบัติราชการของสานักงานซึ่งอินเทอร์เน็ตเป็น ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลาย มีรูปแบบการให้บริการที่หลากหลาย สามารถใช้งานได้ง่ายและสะดวกรวดเร็ว การใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถแบ่งออกเป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคแรกเรียกว่า Web 1.0 ซึ่งมีลักษณะการนาเสนอข้อมูลทางเดียว เนื่องจาก ผู้จัดทาเว็บไซต์จะทาหน้าที่เป็นผู้ให้ข้อมูลหรือนาเสนอเนื้อหา ให้กับผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตเพียงอย่างเดียว ผู้ใช้งานไม่สามารถโต้ตอบข้อมูลบนเว็บไซต์ได้ ต่อมาในยุคที่สอง เรียกว่า Web 2.0 เป็นการเน้นให้อินเทอร์เน็ตมีศักยภาพในการใช้งานมากขึ้น ผู้ใช้สามารถมีส่วนร่วมในการโต้ตอบข้อมูลที่อยู่บนเว็บไซต์ สามารถสร้างข้อมูลหรือเนื้อหาเพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันได้ทั้งระดับ ปัจเจกบุคคล และระดับกลุ่ม การเติบโตของอินเทอร์เน็ต ในยุคนี้ทาให้เกิดครือข่ายสังคมออนไลน์ ซึ่งเป็นสังคม ออนไลน์ที่ช่วยให้คนสามารถทาความรู้จักกัน เปิดเผย ข้อมูลส่วนตัว รูปภาพ วิดีโอ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และความสนใจร่วมกัน (Cheung, Chiu, & Lee, 2010) จากสถิติพบว่าปัจจุบันมีคนกว่า 100ล้านคนทั่วโลกที่ ติดต่อผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการใช้ Face book, MySpace, LinkedIn และเครือข่ายอื่นๆ ซึ่งแต่ละคน สามารถที่จะสร้าง Profile ของตนเอง และสามารถ เชื่อมต่อกับ Profile ของบุคคลอื่น เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลระหว่างกันได้ (Cheung & Lee, 2010) เครือข่าย สังคมออนไลน์ได้รับความนิยมสูงสุดไม่เพียงเฉพาะใน กลุ่มของนักศึกษามหาวิทยาลัยเท่านั้น แม้แต่บรรดา ผู้นาองค์กรชั้นนาของโลก กลุ่มคนทางานที่มีหลากหลายวัย ต่างก็ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์กันอยู่เป็นประจา คาว่าเครือข่ายสังคมออนไลน์มีผู้ให้ความหมาย ไว้หลากหลาย แต่ในบทความนี้จะใช้ความหมายของ อดิเทพ บุตรราช (2553) ซึ่งได้ให้นิยามคาว่าเครือข่าย สังคมออนไลน์ หมายถึง กลุ่มคนที่รวมกันเป็นสังคมและ มีการทากิจกรรมร่วมกันบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ซึ่ง
  • 10. 10 อยู่ในรูปแบบของเว็บไซต์มีการแพร่ขยายออกไปเรื่อยๆ โดยใช้รูปแบบของการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่าย อินเทอร์เน็ต มีการสร้างเครือข่ายชุมชนเสมือนบน เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อใช้เป็นเครื่องมือสาคัญในการ ติดต่อสื่อสาร การทากิจกรรมต่างๆ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ ทางด้านการศึกษา ธุรกิจ และความบันเทิง คนในสังคม ปัจจุบันส่วนใหญ่จะใช้ชีวิตอยู่กับสังคมออนไลน์เพิ่ม มากขึ้น มีการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์เพื่อบอกเล่า เรื่องราว ประสบการณ์ รูปภาพ และวิดีโอ ที่ผู้ใช้จัดทาขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่อต่างๆ แล้วนามาแบ่งปันให้ กับเพื่อนและผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ายของตนได้ทราบผ่าน ทางเว็บไซต์ของเครือข่ายสังคมออนไลน์ นอกจากนั้น เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ยังสามารถ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่ม (สุภาภรณ์ เพชรสุภา, 2554) ได้แก่ 1. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ตัวตน” เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะใช้นาเสนอตัวตน และเผยแพร่เรื่องราวของ ตนเองผ่านทางอินเทอร์เน็ต หรือผู้ใช้สามารถเขียน Blog สร้างอัลบั้มรูปของตัวเอง สร้างกลุ่มเพื่อนในห้องเรียน และสร้างเครือข่ายเพื่อการเรียนรู้ขึ้นมาได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์ประเภทนี้คือ myspace.com, hi5.com และ facebook.com เป็นต้น 2. กลุ่มเว็บไซต์เผยแพร่ “ผลงาน” อาจจะเป็นผลงานของกลุ่มหรือผลงานของตัวเอง โดย สามารถนาเสนอในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวีดีโอ รูปภาพ หรือเสียงอาจารย์สอนที่ได้จากการบันทึกในชั้นเรียน เป็นต้น ตัวอย่างเว็บไซต์ประเภทนี้เช่น YouTube.com, Yahoo VDO, Google VDO, Flickr.com, Multiply.com เป็นต้น 3. กลุ่มเว็บไซต์ที่มีความสนใจเกี่ยวกับ เรื่องเดียวกัน อาจเป็นลักษณะ Online Bookmarking หรือ Social Bookmarking โดยมีแนวคิดที่ว่า แทนที่ เราจะทา Bookmark เว็บไซต์ที่เราชอบ หรือบทความ รายงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียน เก็บไว้ในเครื่องของเรา คนเดียว เราก็สามารถทา Bookmark เก็บไว้บนเว็บไซต์ แทน เพื่อเป็นการแบ่งให้เพื่อนๆ คนอื่นเข้ามาดูได้ด้วย และเราก็สามารถได้ว่าเว็บไซต์ใดที่ได้รับความนิยมมาก หรือเป็นที่น่าสนใจ
  • 11. 11 โดยดูจากจานวนตัวเลขที่เว็บไซต์ นั้นถูก Bookmark เอาไว้จากสมาชิกคนอื่นๆ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่Delicious, Digg, Zickr, Duocore.tv เป็นต้น 4. กลุ่มเว็บไซต์ที่ใช้สาหรับการทางานร่วมกัน เป็นกลุ่ม การทางานเครือข่ายสังคมออนไลน์ ที่เปิด โอกาสให้สมาชิกทุกคนในกลุ่มสามารถเข้ามานาเสนอ ข้อมูล ความคิดหรือต่อยอด เรื่องราวต่างๆ ได้ ตัวอย่าง เว็บไซต์นี้ ได้แก่ WikiPedia ซึ่งเป็นสารานุกรมต่อยอด ที่อนุญาตให้ใครก็ได้เข้ามาช่วยกันเขียน และแก้ไข บทความต่างๆ ได้ตลอดเวลา ทาให้เกิดเป็นสารานุกรม ออนไลน์ขนาดใหญ่ที่รวบรวมความรู้ ข่าวสาร และ เหตุการณ์ต่างๆ ไว้มากมาย จากที่กล่าวมาทั้งหมด จะเห็นได้เว็บไซต์ที่ให้บริการเครือข่ายสังคมออนไลน์ มีการพัฒนาขึ้นมาอย่างต่อเนื่องเพื่อประโยชน์ใน การใช้งานในด้านต่างๆและสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันได้อย่างสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น 5. ในขณะนี้ Facebook จัดเป็นเว็บไซต์เครือข่าย สังคมออนไลน์ที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลกและมีรายงานผลตัวเลขที่น่าสนใจเกี่ยวกับ Facebook พบว่า ผู้ที่ใช้งาน Facebook มากกว่า 50% ไม่ได้เป็นนักศึกษา กลุ่มอายุที่มีการใช้งานที่เติบโตรวดเร็วมากที่สุดคือ กลุ่ม คนอายุ 30 ปีขึ้นไป เฉลี่ยเวลาในการใช้งาน 20นาที ต่อครั้ง มีผู้ใช้งานมากกว่า 15 ล้านคนที่อัพเดทสถานะ อย่างน้อยวันละหนึ่งครั้ง และในแต่ละเดือนมีการอัพโหลด คลิปวิดีโอมากกว่า 5ล้านคลิปวิดีโอ (ตัวเลขน่าสนใจจาก Facebook, 2554) ซึ่งจากสถิติที่กล่าวมาแสดงให้เห็นถึง พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนในสังคม ปัจจุบันที่เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง และเริ่มเข้ามามีบทบาท หรือเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตของคนวัยทางานที่ใช้เครือข่าย อินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะในปัจจุบันสามารถใช้งาน ผ่านโทรศัพท์มือถือได้ จึงทาให้สถิติการใช้เครือข่าย สังคมออนไลน์เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว 6. ดังนั้นในการศึกษาเรื่องพฤติกรรมการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ จึงสามารถกล่าวได้ว่า เครือข่าย สังคมออนไลน์ เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจาวันของ คนในทุกระดับ ทุกเพศและทุกวัย นอกจากนั้นการใช้
  • 12. 12 เครือข่ายสังคมออนไลน์ยังมีผลกระทบในหลายๆ ด้าน บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดพฤติกรรม การใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ และผลกระทบจากการใช้ เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนในสังคมปัจจุบัน จุดเริ่มต้นของ Social networksเกิดจากเว็บไซต์ classmates.com เมื่อปี 1995และเว็บไซต์ SixDegrees.com ในปี 1997 ซึ่งเป็นเว็บไซต์ที่จากัดการใช้งานเฉพาะนักเรียนที่เรียนในโรงเรียนเดียวกัน เพื่อสร้างประวัติ ข้อมูลการสื่อสาร ส่งข้อความ และแลกเปลี่ยนข้อมูลที่สนใจร่วมกันระหว่างเพื่อนนักเรียนในลิสต์เท่านั้น ต่อมาในปี 1999 เว็บไซต์ epinions.com ที่พัฒนาโดย Jonathan Bishop ก็ได้มีการเพิ่มฟังก์ชั่นในส่วนของการที่ผู้ใช้สามารถควบคุมเนื้อหาและติดต่อถึงกันได้ ไม่เพียงแต่เพื่อนในลิสต์เท่านั้น แนวทางการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน สถานศึกษาจาเป็นต้องสร้างความตระหนักให้กับผู้เรียน เห็นความสาคัญและมีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน มีทักษะพร้อมที่จะเข้าสู่การรวมกลุ่มเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ซึ่งสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(2554 : 11 – 51)ได้เสนอแนะแนวทางไว้ ดังนี้ 1. จัดการเรียนรู้เรื่องอาเซียนในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ซึ่งมีมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 6มาตรฐาน ส 4.2 ข้อ /บอกความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน สาระการเรียนรู้แกนกลาง คือ ความเป็นมาของกลุ่มอาเซียน สมาชิกของอาเซียนและความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียนทางเศรษฐกิจและสังคมในปัจจุบันโดยสังเข ป นอกจากนี้ สาระประวัติศาสตร์ยังกาหนดให้เรียนรู้เกี่ยวกับประเทศเพื่อนบ้านและประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวั นออกเฉียงใต้ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 5,6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1 เมื่อวิเคราะห์ประเด็นเกี่ยวกับอาเซียน ต้องดาเนินการดังนี้
  • 13. 13 1.1 จัดทาหน่วยการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน บูรนาการในโครงสร้างรายวิชาที่มีอยู่แล้ว 1.2 จัดทาผังมโนทัศน์หน่วยการเรียนรู้ 1.3 ออกแบบการจัดการเรียนรู้ 1.4 จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ 2. การจัดการเรียนรู้แบบบูรนาการกับกลุ่มสาระการเรียนรู้ต่าง ซึ่งควรดาเนินการดังนี้ 2.1 วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมและกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นๆ ที่สอดคล้องกับเรื่องอาเซียน 2.2 จัดทาหน่วยการเรียนรู้บูรนาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ต่างๆ โดยใช้กลุ่มสารการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเป็นแกน 2.3 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ(Backward Design) 2.4 เขียนแผนจัดการเรียนรู้แบบบูรนาการ 3. การจัดการเรียนรู้โดยการจัดทาเป็นรายวิชาเพิ่มเติม โดยกาหนดผลการเรียนรู้ แล้วนามาเขียนคาอธิบายรายวิชาและนาไปจัดทาหน่วยการเรียนรู้ ออกแบบการเรียนรู้และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อนาไปจัดการเรียนรู้ 4. การจัดการเรียนรู้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนประกอบด้วยกิจกรรม 3 ลักษณะ ได้แก่กิจกรรมแนะแนว กิจกรรมนักเรียน กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้เรียนในด้านองค์ความรู้และเสริมสร้างคุณลักษณะของผู้เรียนในการอยู่ร่วม กันในฐานะสมาชิกของอาเซียน ซึ่งแนวการจัดดังนี้ 4.1 การจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนพัฒนาตนเอง โดยการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเกี่ยวกับประเทศสมาชิกอาเซียนจากค้นหาจากเว็บไซต์ ห้องสมุด รายการโทรทัศน์
  • 14. 14 4.2 การจัดค่ายประชาคมอาเซียน เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์และเสริมสร้างคุณลักษณะที่ดีในการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ผ่านปฏิบัติจริง 4.3 การจัดทาโครงงานอาเซียน ให้นักเรียนได้ฝึกทักษะในการศึกษาค้นคว้าและลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง ตามความสามารถ ความถนัด ความสนใจ โดยมีครูเป็นผู้กระตุ้น ให้คาปรึกษาแก่นักเรียน 4.4 การจัดวันหรือสัปดาห์อาเซียน เป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน เผยแพร่และนาเสนอผลงานที่ได้ทาไว้แล้ว รวมทั้งการตอบปัญหาอาเซียน 4.5 การจัดกิจกรรมชุมนุม ชมรมอาเซียน เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักเรียนเข้าร่วมด้วยความสมัครใจ จัดกิจกรรมที่สอดคล้องกับการส่งเสริมความรู้เรื่องอาเซียน 4.6 การจัดกิจกรรมแรลลี่ เป็นลักษณะของกิจกรรมที่เสนอแนวคิดในการเสริมสร้าง ให้เกิดการทางานเป็นทีมและเรียนรู้เกี่ยวอาเซียนอย่างมีประสิทธิภาพ 3. สมดุลของแรง 1. สมดุล หมายถึงการไม่เปลี่ยนสภาพของการเคลื่อนที่ คือถ้าวัตถุอยู่นิ่งก็จะอยู่นิ่งต่อไปหรือถ้าเคลื่อนที่ก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที ลักษณะการสมดุลมี 3 ประเภท คือ 1.1 สมดุลเสถียร (Stable Equilibrium) หมายถึงวัตถุอยู่ในสภาพมั่นคงเมื่อถูกแรงกระท่าก็ไม่เปลี่ยนสภาพจุดศูนย์ถ่วงอยู่ต่าทาให้แนวน้าห นักออกจากฐานยาก เช่น กรวยคว่าบนพื้น ตุ๊กตาล้มลุก เป็นต้น 1.2 สมดุลไม่เสถียร (Unstable Equilibrium) หมายถึง ถ้าวัตถุถูกแรงกระท่าจะเปลี่ยนสภาพทันที จุดศูนย์ถ่วงอยู่สูงและฐานแคบ แนวน้าหนักจึงพร้อมที่จะออกจากฐานทันที เช่น รูปกรวยที่เอายอดลง เหรียญบาทที่เอาขอบตั้งขึ้น เป็นต้น 1.3 สมดุลสะเทิน (NeutralEquilibrium)
  • 15. 15 หมายถึง เมื่อวัตถุถูกแรงกระท่าจะเปลี่ยนตาแหน่งแต่ยังมีลักษณะเหมือนเดิม จุดศูนย์ถ่วงอยู่ในแนวระดับเมื่อวัตถุเปลี่ยนตาแหน่งไปก็ยังคงสภาพเดิมได้ เช่น รูปกรวยที่เอาข้างลง ทรงกระบอกที่วางตามแนวนอน เป็นต้น 2. สมดุลต่อการเลื่อนตาแหน่ง สมดุลต่อการเลื่อนตาแหน่ง หมายถึง สภาพสมดุลของวัตถุที่เกิดขึ้นเมื่อแรงลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ ท่าให้วัตถุรักษาสภาพการอยู่นิ่งของวัตถุหรือ สภาพการเคลื่อนที่ของวัตถุด้วยความเร็วคงที่ไว้ – กรณีวัตถุอยู่นิ่งเรียกว่า สมดุลสถิต เช่นแรงที่กระท่าต่อวัตถุตัดกันที่จุดเดียว
  • 16. 16 – กรณีที่มีการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่เรียกว่า สมดุลจลน์ เช่นรถยนต์วิ่งด้วยความเร็วคงที่ ลิฟท์ขึ้นด้วยความเร็วคงที่ 3. โมเมนต์และสมดุลต่อการหมุน โมเมนต์ คือ ผลของการกระท่าของแรงที่ท่าให้เกิดการหมุน กาหนดให้มีค่าเท่ากับแรงคูณกับระยะทางตั้งฉากจากแนวแรงไปยังจุดหมุน เป็นปริมาณเวกเตอร์ ที่มีทั้งขนาดและทิศทาง หน่วยของโมเมนต์ คือ นิวตัน.เมตร เขียนเป็นสูตรได้ว่า
  • 17. 17 โมเมนต์มี 2ชนิด คือ จุดศูนย์กลางมวล(C.M.)และจุดศูนย์ถ่วง(C.G.) – จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ(C.M.) คือ ตาแหน่งที่มวลรวมของวัตถุอยู่อาจจะอยู่ในหรือนอกวัตถุก็ได้ – จุดศูนย์ถ่วงมวลของวัตถุ(C.M.) คือ ตาแหน่งที่น้าหนักรวมของวัตถุอยู่ อาจจะอยู่ในหรือนอกวัตถุก็ได้
  • 18. 18 ตัวอย่างดังรูป แสดงจุด C.M. และ C.G.ซึ่งวัตถุมีความหนาแน่นสม่าเสมอ
  • 19. 19 บทที่3 วิธีกำรดำเนินงำน ขั้นตอนกำรวำงแผนกำรดำเนินงำน ผู้จัดทาโครงงานได้วางแผนการดาเนินงาน ดังนี้ 1. ตั้งชื่อเรื่องโครงงานวิทยาศาสตร์ 2. เขียนเค้าโครง โครงงานวิทยาศาสตร์ 3. กาหนดแผนปฏิบัติงาน 4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานวิทยาศาสตร์ 5. ออกแบบและจัดทาบล็อก 6. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 7. การวิเคราะห์ข้อมูล 8. สรุปการดาเนินงาน 9. จัดทารูปเล่มโครงงาน 10. นาเสนอโครงงาน ขั้นตอนกำรดำเนินงำน 1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหาความรู้เกี่ยวกับสมดุลของแรง 2. รวบรวมข้อมูล 3. จัดทาเป็นบล็อกให้ความรู้ 4. จัดทารูปเล่มโครงงานและนาเสนอ
  • 20. 20 ปฏิทินการดาเนินงาน ลาดับ กิจกรรม วันที่ 1. ผู้จัดทาหาหัวข้อที่จะทา 4 กรกฎาคม พ.ศ.2559 2. ผู้จัดทาวางแผนในการจัดทาโครงงาน 5 กรกฎาคม พ.ศ.2559 3. ออกแบบและจัดทา Blog 10 กรกฎาคม พ.ศ.2559 4. รวบรวมข้อมูล 15 สิงหาคม พ.ศ.2559 5. วิเคราะห์และสรุปผล 18 สิงหาคม พ.ศ.2559 6. นาเสนอโครงงาน 29 สิงหาคม พ.ศ.2559
  • 21. 21 บทที่4 ผลกำรดำเนินงำน ส่วนประกอบของ Blog 1. หน้าแรก 2. ตัวอย่างสมดุลกล 3. สภาพสมดุล 4. สภาพสมดุล โมเมนต์ 5. สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น 6. บล็อกของฉัน 7. แรงเสียดทานและสมดุล 8. วีดีโอ เรื่องสมดุลของแรง 9. วีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องสมดุลของแรง 10. วีดีโอ แนะนาบล็อก
  • 24. 24 5. สภำพสมดุลและสภำพยืดหยุ่น เป็นหน้าที่แสดง เรื่องสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น 6. บล็อกของฉัน เป็นหน้าที่เกี่ยวกับประวัติของผู้จัดทาบล็อก
  • 25. 25 7. แรงเสียดทำนและสมดุล เป็นหน้าที่แสดง เรื่องแรงเสียดทานและสมดุล 8. วีดีโอเรื่องสมดุลของแรง เป็นหน้าที่แสดงวีดีโอการสอน เรื่องสมดุลของแรง
  • 26. 26 9. วีดีโอแนะนำบล็อกเรื่องกำรสมดุลของแรง เป็นหาที่แสดงวีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องการสมดุลของแรง 10. วีดีโอแนะนำBlog เป็นหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลความรู้ เรื่องสมดุลของแรง
  • 27. 27 บทที่5 สรุป อภิปรำยผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลกำรดำเนินงำน จากผลการดาเนินงานพบว่า Blog แห่งการเรียนรู้นั้นจะประกอบไปด้วยทั้งหมด 10 หน้า ได้แก่ 1. หน้าแรก เป็นหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องสมดุลของแรง 2. ตัวอย่างสมดุลกล เป็นหน้าที่แสดงตัวอย่างสมดุลกล 3. สภาพสมดุล เป็นหน้าที่อธิบายถึงสภาพสมดุล 4. สภาพสมดุลโมเมนต์ เป็นหน้าที่อธิบายถึงสภาพสมดุลโมเมนต์ 5. สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เป็นหน้าที่แสดง เรื่องสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น 6. บล็อกของฉัน เป็นหน้าที่เกี่ยวกับประวัติของผู้จัดทาบล็อก 7. แรงเสียดทานและสมดุล เป็นหน้าที่แสดง เรื่องแรงเสียดทานและสมดุล 8. วีดีโอ เรื่องสมดุลของแรง เป็นหน้าที่แสดงวีดีโอการสอน เรื่องสมดุลของแรง 9. วีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องการสมดุลของแรง เป็นหาที่แสดงวีดีโอแนะนาบล็อก เรื่องการสมดุลของแรง 10. วีดีโอแนะนา Blog เป็นหน้าที่เผยแพร่ข้อมูลความรู้ เรื่องสมดุลของแรง อภิปรำยผล ผู้ที่เข้ามาศึกษา Blog แห่งการเรียนรู้นี้จะได้ทักษะการเรียนรู้ในรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องสมดุลของแรง สามารถให้ผู้สนใจศึกษาได้ศึกษาอย่างสะดวกโดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ผู้ศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาพร้อมทั้งทาแบบทดสอบควบคู่กันไปด้วย โดยการศึก Blog แห่งการเรียนรู้นั้น ทาให้ผู้เรียนมีความรู้หลากหลายด้านมากยิ่งขึ้น สามารถค้นคว้าหาความรู้ต่างๆได้ด้วยตนเอง ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีเนื้อหาที่หลากหลายมากขึ้น
  • 28. 28