SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
1
บทที่1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
การศึกษาในแต่ละยุคสมัยนั้นมีความแตกต่างกัน มีการพัฒนาด้านการเรียนการศึกษามา
เรื่อยๆตั้งแต่อดีตที่ยังมีการเรียนการสอนแบบล้าสมัย ยังไม่มีเทคโนโลยีต่างๆเข้ามามีบทบาทกับ
การเรียนการสอนมากเท่าปัจจุบัน ซึ่งในปัจจุบันมีการกําหนดเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทใน
การศึกษาอย่างมากมายห้องเรียนใน ศตวรรษที่ 21ซึ่งเป็นการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน
เรื่องการศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องสําคัญของกระแสการปรับเปลี่ยน ทําให้มีการเตรียมความพร้อมในหลาย
ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อให้นักเรียนมีทักษะ
สําหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงต้องนําเอาสื่อการเรียนการสอนต่างๆมาปรับเพื่อให้นักเรียน
ได้เรียนรู้และเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น รวมทั้งการนําเอาสื่อเทคโนโลยีต่างๆที่ครูหรือบุคคลอื่นได้
จัดทําขึ้นเข้ามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน เพราะมีความสะดวกเนื่องจากใน ปัจจุบันนี้มีการ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านอินเทอร์เน็ตและสื่อออนไลน์ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว การจัดทําสื่อการ
เรียนการสอนผ่านทางด้านสารสนเทศเทคโนโลยีเป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เพราะผู้ที่ศึกษา
สามารถเข้าถึงเนื้อหาและประเด็นที่สนใจได้อย่างง่ายดาย และสามารถก้าวทันโลกที่มีความ
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้จัดทําโครงงานฟิสิกส์ออนไลน์ เรื่องการหาแรงลัพธ์
เพื่อให้ผู้ที่สนใจเรื่องดังกล่าวได้ค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วได้
ในแต่ละวิชาที่จัดสอนที่มีอยู่ในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นวิชาใดก็ตามก็จะมีการจัดทําสื่อการเรียน
การสอนขึ้น รวมถึงวิชาฟิสิกส์ ซึ่งเป็นอีกวิชาหนึ่งที่มีความสําคัญอย่างยิ่ง เพราะมีเนื้อหาที่ยาก
พอสมควร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของไหล ไฟฟ้าสถิต และอีกมากมายและยังมีเนื้อหาอีกหนึ่งเรื่องคือ
เรื่องการหาแรงลัพธ์ ในนี้จะมีความซับช้อนมากพอสมควร จนอาจทําให้นักเรียนหรือผู้ที่ศึกษาเกิด
ความสับสนได้
2
ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้จัดทําโครงงานฟิสิกส์ออนไลน์ เรื่องการหาแรงลัพธ์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจเรื่อง
ดังกล่าวได้ค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วเพื่อให้ผู้ที่สนใจในเนื้อหาเรื่องนี้มากยิ่งขึ้น และ
สามารถนําความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรับใช้ในห้องเรียนและปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
3
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางฟิสิกส์เรื่องการหาแรงลัพธ์
2. เพื่อสร้าง Blog การเรียนฟิสิกส์ เพื่อบรูณาการใช้สื่อสังคมออนไลน์
3. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ช่วยในการศึกษาข้อมูลได้ง่ายขึ้น
2. ช่วยพัฒนาความรู้ของตนเองให้มีพัฒนาการในการทํางาน
ขอบเขตของการศึกษา
การหาแรงลัพธ์
4
บทที่2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การเรียนรู้ในศตวรรษที่21
ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษา ต้อง
มีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง
ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21"
ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนํา
ขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ
และสํานักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะ
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st
Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21
หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจําเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสําหรับการออกไป
ดํารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์
และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสําคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและ
เยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4Cซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้
3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ
4 C CriticalThinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การ
ร่วมมือCreativity-ความคิดสร้างสรรค์รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน
สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยีและการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่
นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกท่านหนึ่งที่มีส่วนสําคัญในการผลักดันเรื่องการปฎิรูปการเรียนรู้
ดังกล่าวให้กว้างขวางขึ้น คือเซอร์เคน โรบินสัน นักการศึกษาระดับโลก โดยได้เน้นยํ้าถึงความ
จําเป็นในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการจัดการศึกษาระบบโรงงาน มาเป็นการเรียนการสอนที่เปิด
โอกาสให้ผู้เรียนได้คิดอย่างสร้างสรรค์และเข้ากับบริบทของโลกที่ได้เปลี่ยนแปลงไป ชมแอนิ
เมชั่นด้านบน การเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (Changing Education
Paradigms)โดย เซอร์เคน โรบินสัน
5
การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ
ที่ 21 เป็นเรื่องสําคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถี
การดํารงชีพ
ของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความ
พร้อมให้นักเรียนมีทักษะสําหรับการออกไปดํารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก
ศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สําคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning
Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้
ความสามารถ และทักษะจําเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการ
สอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
องค์ประกอบที่สําคัญและจําเป็นเพื่อในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่
21 คือ มาตรฐานศตวรรษที่ 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและ
สภาพแวดล้อมการเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ใน
ศตวรรษที่ 21 สําหรับนักเรียนในปัจจุบัน
มาตรฐานศตวรรษที่ 21
- มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาและความเชี่ยวชาญ
- สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที่ 21
- เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน
- การของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครื่องมือในโลกแห่งความเป็นจริงและพวก
เขาจะพบผู้
เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในที่ทํางานและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อทํางานอย่างแข็งขัน
การแก้ปัญหาที่มีความหมาย
- การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้
6
การพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยสู่ประชาคมอาเซียน
การพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้ประสบผลสําเร็จ
จําเป็นต้องกําหนดเป้าหมาย ได้แก่ คุณสมบัติของเด็กไทยที่จะพัฒนาสู่การเป็นประชาคม
อาเซียนให้ชัดเจน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และเจตคติดังที่ได้กล่าวไว้แล้ว ใน
ตอนที่ 19 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)จึงได้มีการประชุมโต๊ะ
กลมและพิจารณาบุคลากรที่เกี่ยวข้องโดยตรงและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเตรียมการและ
ดําเนินการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของ
มหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ เช่น สถานทูต มหาวิยาลัยภาครัฐและเอกชน ในการร่วม
กําหนดคุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน
สื่อการเรียนออนไลน์กับการเรียนรู้
สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัดที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทาง
สังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social
Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับ
อินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วน
ร่วม (Collaborative) อย่างสร้างสรรค์ในการผลิตเนื้อหาขึ้นเอง (User-GenerateContent:
UGC) ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสียง
ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์
ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนํามาใช้โดย
สามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หลักดังนี้
1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสารสามารถ
เข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกนั้นจะเรียงลําดับจาก
เนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเนื้อหาย้อนหลังเพื่ออ่านและแก้ไข
เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation
7
2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้
สําหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social Community) เพื่อ
ร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook,
Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste
3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือ
เว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สําหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ
ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากําลังทํา
อะไรอยู่หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์ (Online Social
Network) (Wikipedia,2010) ทั้งนี้การกําหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความสั้นๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้ง
ผู้เขียนและผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter
4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบัน
ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นําเสนอในวิดีโอ
ออนไลน์ไม่ถูกจํากัดโดยผังรายการที่แน่นอนและตายตัว ทําให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้
อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาคั่น รวมทั้งผู้ใช้สามารถเลือกชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยัง
สามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้จํานวนมากอีกด้วย เช่น Youtube, MSN, Yaho
5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารอัพโหลดและ
ดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนํามาใช้งานได้ ที่สําคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปัน
รูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองนําเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr,
Photobucket, Photoshop,Express, Zooom
6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผู้เขียน
ส่วนใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้งการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia,
Google Earth,diggZy Favorites Online
7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจําลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อ
สังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลก
8
เสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้าน
การศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สํานักข่าวรอยเตอร์ สํานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน
การซื้อพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนําเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่ม
เครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ
บริษัท หรือองค์การก็ได้ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้หลัก Virtual Worlds ที่ประสบผลสําเร็จและมีชื่อเสียง
คือ Second life
8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคําสองคําคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการ
ขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทําในรูปของเว็บไซต์ที่มี
วัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคําตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการ
สื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอ
ความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มี
ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่อยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคมนักข่าว ข้อดีของการใช้หลัก Crowd
souring คือ ทําให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพื่อนํา ไปสู่การแก้ปัญหาที่มี
ประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซึ่งเป็นปัญหาสาธารณะร่วมกันได้
เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea
9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคํา
คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความ
ต้องการส่วนบุคคล ส่วน“Broadcasting” เป็นการนําสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง
หรืออาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนํามาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพื่อ
เผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ที่สนใจดาวน์โหลดเพื่อนําไปใช้งาน เช่น Dual
Geek Podcast, Wiggly Podcast
10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น
โดยอาจจะเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp
9
อุปกรณ์เครื่องมือทางสื่อสังคมออนไลน์
คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและ
เปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติพจนานุกรมฉบับ
ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่าเครื่อง
อิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและ
ซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงเครื่องมือที่ช่วยใน
การคานวณและการประมวลผลข้อมูล
สมาร์ทโฟน(SmartPhone) คือ โทรศัพท์มือถือที่นอกเหนือจากใช้โทรออก-รับสายแล้วยังมี
แอพพลิเคชั่นให้ใช้งานมากมายสามารถรองรับการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน 3G,Wi-Fi และสามารถ
ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์คและแอพพลิเคชั่นสนทนาชั้นนาเช่น LINE,Youtube,Facebook,
Twitter ฯลฯโดยที่ผู้ใช้สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใช้งานสมาร์ทโฟนให้ตรงกับความต้องการได้
มากกว่ามือถือธรรมดาผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ๆนิยมผลิตสมาร์ทโฟนที่มีหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่
กล้องถ่ายรูปที่มีความละเอียดสูง, ออกแบบดีไซน์ให้สวยงามทันสมัย, มีแอพพลิเคชั่นและลูกเล่นที่
น่าสนใจ
แท็บเล็ต(Tablet) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหน้าจอระบบสัมผัสขนาดใหญ่มีขนาด
หน้าจอตั้งแต่ 7 นิ้วขึ้นไป พกพาได้สะดวกสามารถใช้งานหน้าจอผ่านการสัมผัสผ่านปลายนิ้วได้
โดยตรงมีแอพพลิเคชั่นมากมายให้เลือกใช้ไม่ว่าจะรับ-ส่งอีเมล์, เล่นอินเทอร์เน็ต, ดูหนัง, ฟังเพลง
, เล่นเกมหรือแม้กระทั่งใช้ทางานเอกสารออฟฟิตข้อดีของแท็บเล็ตคือมีหน้าจอที่กว้างทาให้มีพื้นที่
การใช้งานเยอะมีน้าหนักเบาพกพาได้สะดวกกว่าโน๊ตบุ๊ค หรือ คอมพิวเตอร์ สามารถจดบันทึกหรือ
ใช้เป็นอุปกรณ์เพื่อการศึกษาได้เป็นอย่างดี
ประโยชน์และข้อจากัดของสังคมออนไลน์
แม้ลักษณะของเครือข่ายสังคมออนไลน์ จะเป็นสื่อให้ข้อมูลข่าวสารสามารถกระจายออกไป
อย่างรวดเร็วและกว้างขวางมีคุณประโยชน์มากมายในด้านการติดต่อสื่อสาร แต่ก็เปรียบเสมือนดาบ
สองคมหากผู้ใช้ขาดคุณธรรมจริยธรรม สามัญสํานึก การรู้จักเคารพสิทธิ ของผู้อื่น และความ
ระมัดระวังในการใช้แล้ว สังคมออนไลน์เหล่านี้ก็จะเป็น"สังคมอันตราย"ที่จะเป็นด้านมืดของ
สังคมไทย
10
ประโยชน์ของ Social networks เครือข่ายสังคมออนไลน์
1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้
2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน
ความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคาตอบได้ช่วยกันตอบ
3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว
4.เป็นสื่อในการนําเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้
เข้ามารับชมและแสดงความคิดเห็น
5. ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ
ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า
6. ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น
7.คลายเครียดได้สําหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ
8. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้
ข้อจากัดของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์
1. เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการ
ไม่ระมัดระวังในการกรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนํามาใช้ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิ
ส่วนบุคคลได้
2. Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาด
วิจารณญาณ อาจโดนหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัดเจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย
ตามที่เป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์
3. เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social
Network Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและ
แสดงความคิดเห็น
4. ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social
11
Network ยากแก่การตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่
กําหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูกหลอกโดยบุคคลที่ไม่มีตัวตนไ
5. ผู้ใช้ที่เล่น socialnetwork และอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือ
บางคนอาจตาบอดได้
6. ถ้าผู้ใช้หมกมุ่นอยู่กับ social network มากเกินไปอาจทําให้เสียการเรียนหรือผลการเรียตกตํ่า
7. จะทําให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์
การหาแรงลัพธ์
แรงลัพธ์ หมายถึง ผลรวมของแรงที่กระทําต่อวัตถุทั้งขนาดและทิศทาง
1. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน
1.1 เมื่อแรงย่อยมีทิศเดียวกันให้นําแรงย่อยมารวมกัน ทิศทางของแรงลัพธ์จะเป็นทิศเดิม
1.2 เมื่อแรงย่อยมีทิศทางตรงกันข้ามกัน ให้นําแรงย่อยมาลบกัน โดยแรงลัพธ์จะมีิทิศทางตาม
แรงที่มากกว่า
2. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน
2.1 เมื่อแรงลัพธ์กระทําต่อวัตถุ ในทิศเดียวกัน แรงลัพธ์ก็คือ ผลบวกของแรงทั้งสอง เช่น
2.2 เมื่อแรงสองแรงกระทําต่อวัตถุในทิศทางตรงข้าม
2.2.1 ขนาดของแรงย่อยไม่เท่ากัน แรงลัพธ์ ก็คือผลต่างของแรงทั้งสอง เช่น
12
2.2.2 ขนาดของแรงย่อยเท่ากัน แรงทั้งสองจะหักล้างกัน แรงลัพธ์ เท่ากับ 0 วัตถุจีงไม่เคลื่อนที เช่น
4. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยทํามุมกัน สามารถหาได้ดังนี้
4.1 วิธีสร้างสีเหลี่ยมด้านขนานแทนแรง โดยให้จุดเริ่้มต้นของแรงทั้งสองอยู่ีที่จุดเดียวกันแล้ว
ต่อให้เป็นรูปสี เหลี่ยมด้านขนาน โดยมีด้านคู่ขนานยาวเท่ากับขนาดของแรง F1 F2
เส้นทแยงมุมที่ลากจากจุดเริ่มต้นไปยังมุม ตรงกันข้ามคือ ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ดังรูป
4.2 วิธีเขียนแรงย่อยต่อกันแบบหางต่อหัว โดยนําจุดเริ่มต้นของ F2 มาต่อกับจุดสิ้นสุดของ F1
แล้วลากเส้นจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด จะได้ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ดังรูป
13
บทที่ 3
วิธีดาเนินงาน
ขั้นตอนการวางแผนดาเนินงาน
ผู้จัดทําโครงงานได้วางแผนการดําเนินงาน ดังนี้
1. ตั้งชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์
2. เขียนเค้าโครงโครงงานฟิสิกส์
3. กําหนดแผนปฏิบัติงาน
4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานฟิสิกส์
5. ออกแบบและจัดทําBlog
6. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทําโครงงานฟิสิกส์
7. การวิเคราะห์ข้อมูล
8. สรุปการดําเนินงาน
9. จัดทํารูปเล่มโครงงาน
10. นําเสนอโครงงาน
14
ขั้นการดาเนินงาน
1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหา ความรู้เกี่ยวกับการหาแรงลัพธ์
2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการหาแรงลัพธ์
3. จัดทําเป็น Blog ให้ความรู้
4. นําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผล
5. จัดทํารูปเล่มรายงานและนําเสนอ
15
ปฎิทินการปฏิบัติงาน
ที่ กิจกรรม วันที่
1 ผู้จัดทําคิดหาหัวข้อที่จะทํา 23/พ.ค./2016
2 ผู้จัดทําวางแผนในการทํา
โครงงาน
06/มิ.ย./2016
3 ผู้จัดทําออกแบบและจัดทํา
Blog
13-15/มิ.ย./2016
4 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการหา
แรงลัพธ์
07/มิ.ย.-12/ก.ค./2016
5 วิเคราะห์และสรุปผล 01/ส.ค./2016
6 นําเสนอโครงงาน 08/ก.ย./2016
16
บทที่4
ผลการดาเนินงาน
ส่วนประกอบของ Blog
1. หน้าแรก
2. การประยุกต์ใช้
3. ตัวอย่างโจทย์
4. วีดีโอ
5. วีดีโอแนะนํา Blog
6. เนื้อหา
6.1 ลําดับ
6.2 อนุกรม
7. เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของผู้จัดทํา Blog
17
1. หน้าแรก
เป็นหน้าที่รวบรวมเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับความรู้ในการเรียนวิชาฟิสิกส์พร้อมทั้งเนื้อหาเกี่ยวกับ
การใช้ชีวิตประจําวัน เป็นความรู้ในการเรียนวิชาฟิสิกส์
2. การประยุกต์ใช้ การประยุกต์ใช้การหาปรงลัพธ์ในชีวิตประจําวัน
18
3. ตัวอย่างโจทย์ ตัวอย่างข้อสอบเรื่องการหาแรงลัพธ์
4. วีดีโอการสอน วีดีโอเป็นหน้าที่รวบรวมให้ผู้ที่ต้องการศึกษาการเรียนการสอนออนไลน์ใน
รายวิชาฟิสิกส์เรื่องการหาแรงลัพธ์
19
5. วีดีโอแนะนา Blog ผู้จัดทาได้แนะนาการใช้ Blog
6. เนื้อหา
20
6.1 วิธีการหาแรงลัพธ์
7. เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของผู้จัดทา Blog
21
บทที่ 5
สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการดาเนินงาน
จากผลการดําเนินงานพบว่า Blog แห่งการเรียนรู้นั้นจะประกอบไปด้วยหน้าทั้งหมด 9
หน้า ดังนี้
1. หน้าแรก เป็นหน้าที่รวบรวมเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับความรู้ในการเรียนวิชาฟิสิกส์
และเนื้อหาความรู้ต่างๆที่ผู้จัดทําสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นความรู้และประโยชน์แก่ผู้ศึกษา
2. การประยุกต์ใช้การหาแรงลัพธ์ในชีวิตประจําวัน
3. ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างข้อสอบเกี่ยวกับเรื่องการหาแรงลัพธ์
4. วีดีโอเป็นหน้าที่รวบรวมวีดีโอให้ผู้ที่ต้องการจะศึกษาการเรียนการสอนออนไลน์ใน
รายวิชาฟิสิกส์ในเรื่องการหาแรงลัพธ์
5. วีดีโอแนะนํา Blog ผู้จัดทําได้แนะนําการใช้ Blog
6. เนื้อหา
6.1 วิธีการหาแรงลัพธ์
7. เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของผู้จัดทํา Blog
22
อภิปรายผล
ผู้ที่เข้ามาศึกษา Blog แห่งการเรียนรู้นี้จะได้ทักษะในการเรียนรายวิชาฟิสิกส์เรื่อง การหา
แรงลัพธ์ ที่สามารถให้ผู้ศึกษาค้นคว้าได้หาความรู้อย่างสะดวกผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้
ศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาการหาแรงลัพธ์ พร้อมทั้งได้ฝึกทําข้อสอบควบคู่กันไปด้วย โดย
การทําข้อสอบนั้นจะทําให้ผู้ศึกษาเกิดความชํานาญ เข้าใจ และได้ฝึกกระบวนการคิด นอกจากจะ
ได้รับความรู้เรื่องดังกล่าวแล้วยัง ได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่ได้รวบรวมไว้ใน Blog นี้ทําให้ผู้เรียน
มีความรู้มากมายหลายด้านและผู้เรียนสามารถค้นคว้าความรู้ในเรื่องต่างๆได้ด้วยตนเอง
ข้อเสนอแนะ
1. เนื้อหาควรมีความละเอียดมากยิ่งขึ้น
2. ตัวอย่างโจทย์ควรเฉลยให้ละเอียดมากกว่านี้
23
บรรณานุกรม
https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0
%B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%94%
E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81
%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%9
8%E0%B9%8C&newwindow=1&biw=1366&bih=633&source=lnms&sa=X&ved=0a
hUKEwi7vr78nd_OAhWIqo8KHV-EBgkQ_AUIBygA&dpr=1
(ข้อสอบการหาแรงลัพธ์)
https://wachirapornloysmith26171.wordpress.com/2013/02/24/%E0%B8%81%E0%B8
%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0%
B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B9%8C/
(เนื้อหาการหาแรงลัพธ์)
https://www.youtube.com/watch?v=rgB5O88sFtA
(วีดีโอสอนการหาแรงลัพธ์)
https://www.google.co.th/search?q=สูตรการหาแรง
ลัพธ์&newwindow=1&biw=1366&bih=633&source=lnms&sa=X&ved=0ahUKEwjIi
(สูตรคํานวนและทิศทางการหาแรงลัพธ์)
24

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงWijitta DevilTeacher
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะKittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลManchai
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2Taraya Srivilas
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะบทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
เปรียบเทียบสงครามโลกครั้งที่ 1 และ 2
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 

Similar to โครงงานฟิสิกส์

แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนjulee2506
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentWeerachat Martluplao
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21KruBeeKa
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_kanyarat chinwong
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลธนเดช วิไลรัตนากูล
 
20130814 library-buu
20130814 library-buu20130814 library-buu
20130814 library-buuInvest Ment
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8kanwan0429
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30Saengnapa Saejueng
 

Similar to โครงงานฟิสิกส์ (20)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
งานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยนงานนำเสนออาเซี่ยน
งานนำเสนออาเซี่ยน
 
Stem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills developmentStem education and 21st century skills development
Stem education and 21st century skills development
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21ครูในศตวรรษที่ 21
ครูในศตวรรษที่ 21
 
Tep summary
Tep summaryTep summary
Tep summary
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
ว จ ย ร_ปแบบการพ_ฒนาการสอนว_ทยาศาสตร_
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยี
 
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากลการเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้ดิจิทัลเทคโนโลยีโรงเรียนมาตรฐานสากล
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
20130814 library-buu
20130814 library-buu20130814 library-buu
20130814 library-buu
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ 30
 

More from Phiromporn Norachan (15)

บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3 บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

โครงงานฟิสิกส์

  • 1. 1 บทที่1 บทนา ที่มาและความสาคัญ การศึกษาในแต่ละยุคสมัยนั้นมีความแตกต่างกัน มีการพัฒนาด้านการเรียนการศึกษามา เรื่อยๆตั้งแต่อดีตที่ยังมีการเรียนการสอนแบบล้าสมัย ยังไม่มีเทคโนโลยีต่างๆเข้ามามีบทบาทกับ การเรียนการสอนมากเท่าปัจจุบัน ซึ่งในปัจจุบันมีการกําหนดเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทใน การศึกษาอย่างมากมายห้องเรียนใน ศตวรรษที่ 21ซึ่งเป็นการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตใน เรื่องการศึกษา ซึ่งเป็นเรื่องสําคัญของกระแสการปรับเปลี่ยน ทําให้มีการเตรียมความพร้อมในหลาย ลักษณะที่แตกต่างกันออกไป ในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมเพื่อให้นักเรียนมีทักษะ สําหรับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 จึงต้องนําเอาสื่อการเรียนการสอนต่างๆมาปรับเพื่อให้นักเรียน ได้เรียนรู้และเข้าใจในเนื้อหามากยิ่งขึ้น รวมทั้งการนําเอาสื่อเทคโนโลยีต่างๆที่ครูหรือบุคคลอื่นได้ จัดทําขึ้นเข้ามาประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน เพราะมีความสะดวกเนื่องจากใน ปัจจุบันนี้มีการ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านอินเทอร์เน็ตและสื่อออนไลน์ต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว การจัดทําสื่อการ เรียนการสอนผ่านทางด้านสารสนเทศเทคโนโลยีเป็นที่นิยมกันมากในปัจจุบัน เพราะผู้ที่ศึกษา สามารถเข้าถึงเนื้อหาและประเด็นที่สนใจได้อย่างง่ายดาย และสามารถก้าวทันโลกที่มีความ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้จัดทําโครงงานฟิสิกส์ออนไลน์ เรื่องการหาแรงลัพธ์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจเรื่องดังกล่าวได้ค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วได้ ในแต่ละวิชาที่จัดสอนที่มีอยู่ในโรงเรียนไม่ว่าจะเป็นวิชาใดก็ตามก็จะมีการจัดทําสื่อการเรียน การสอนขึ้น รวมถึงวิชาฟิสิกส์ ซึ่งเป็นอีกวิชาหนึ่งที่มีความสําคัญอย่างยิ่ง เพราะมีเนื้อหาที่ยาก พอสมควร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของไหล ไฟฟ้าสถิต และอีกมากมายและยังมีเนื้อหาอีกหนึ่งเรื่องคือ เรื่องการหาแรงลัพธ์ ในนี้จะมีความซับช้อนมากพอสมควร จนอาจทําให้นักเรียนหรือผู้ที่ศึกษาเกิด ความสับสนได้
  • 2. 2 ดังนั้นผู้จัดทําจึงได้จัดทําโครงงานฟิสิกส์ออนไลน์ เรื่องการหาแรงลัพธ์ เพื่อให้ผู้ที่สนใจเรื่อง ดังกล่าวได้ค้นคว้าหาความรู้ได้อย่างสะดวกรวดเร็วเพื่อให้ผู้ที่สนใจในเนื้อหาเรื่องนี้มากยิ่งขึ้น และ สามารถนําความรู้ที่ได้จากการศึกษามาปรับใช้ในห้องเรียนและปรับใช้ในชีวิตประจําวันได้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าข้อมูลทางฟิสิกส์เรื่องการหาแรงลัพธ์ 2. เพื่อสร้าง Blog การเรียนฟิสิกส์ เพื่อบรูณาการใช้สื่อสังคมออนไลน์ 3. เพื่อพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ช่วยในการศึกษาข้อมูลได้ง่ายขึ้น 2. ช่วยพัฒนาความรู้ของตนเองให้มีพัฒนาการในการทํางาน ขอบเขตของการศึกษา การหาแรงลัพธ์
  • 4. 4 บทที่2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเรียนรู้ในศตวรรษที่21 ศตวรรษที่ 21 สถานการณ์โลกมีความแตกต่างจากศตวรรษที่ 20 และ 19 ระบบการศึกษา ต้อง มีการพัฒนาเพื่อให้สอดคล้องกับภาวะความเป็นจริง ในประเทศสหรัฐอเมริกาแนวคิดเรื่อง "ทักษะแห่งอนาคตใหม่: การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21" ได้ถูกพัฒนาขึ้น โดยภาคส่วนที่เกิดจากวงการนอกการศึกษา ประกอบด้วย บริษัทเอกชนชั้นนํา ขนาดใหญ่ เช่น บริษัทแอปเปิ้ล บริษัทไมโครซอฟ บริษัทวอล์ดิสนีย์องค์กรวิชาชีพระดับประเทศ และสํานักงานด้านการศึกษาของรัฐ รวมตัวและก่อตั้งเป็นเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership for 21st Century Skills) หรือเรียกย่อๆว่า เครือข่าย P21 หน่วยงานเหล่านี้มีความกังวลและเห็นความจําเป็นที่เยาวชนจะต้องมีทักษะสําหรับการออกไป ดํารงชีวิตในโลกแห่งศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 จึงได้พัฒนาวิสัยทัศน์ และกรอบความคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ขึ้น สามารถสรุปทักษะสําคัญอย่างย่อๆ ที่เด็กและ เยาวชนควรมีได้ว่า ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม หรือ 3R และ 4Cซึ่งมีองค์ประกอบ ดังนี้ 3 R ได้แก่ Reading (การอ่าน), การเขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C CriticalThinking - การคิดวิเคราะห์, Communication- การสื่อสาร Collaboration-การ ร่วมมือCreativity-ความคิดสร้างสรรค์รวมถึงทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้าน สารสนเทศสื่อและเทคโนโลยีและการบริหารจัดการด้านการศึกษาแบบใหม่ นอกจากนี้ยังมีนักการศึกษาอีกท่านหนึ่งที่มีส่วนสําคัญในการผลักดันเรื่องการปฎิรูปการเรียนรู้ ดังกล่าวให้กว้างขวางขึ้น คือเซอร์เคน โรบินสัน นักการศึกษาระดับโลก โดยได้เน้นยํ้าถึงความ จําเป็นในการเปลี่ยนแปลงแนวคิดการจัดการศึกษาระบบโรงงาน มาเป็นการเรียนการสอนที่เปิด โอกาสให้ผู้เรียนได้คิดอย่างสร้างสรรค์และเข้ากับบริบทของโลกที่ได้เปลี่ยนแปลงไป ชมแอนิ เมชั่นด้านบน การเปลี่ยนแปลงแนวคิดด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 (Changing Education Paradigms)โดย เซอร์เคน โรบินสัน
  • 5. 5 การศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษ ที่ 21 เป็นเรื่องสําคัญของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่ 21 ส่งผลต่อวิถี การดํารงชีพ ของสังคมอย่างทั่วถึง ครูจึงต้องมีความตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความ พร้อมให้นักเรียนมีทักษะสําหรับการออกไปดํารงชีวิตในโลกในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจาก ศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่สําคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็กในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจําเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการ สอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ปัจจัยสนับสนุนการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 องค์ประกอบที่สําคัญและจําเป็นเพื่อในการเรียนรู้ของนักเรียนทักษะในศตวรรษที่ 21 คือ มาตรฐานศตวรรษที่ 21 การประเมินผลหลักสูตรการเรียนการสอนการพัฒนาอาชีพและ สภาพแวดล้อมการเรียนรู้จะต้องสอดคล้องกับระบบสนับสนุนการผลิตที่ก่อให้เกิดผลลัพธ์ใน ศตวรรษที่ 21 สําหรับนักเรียนในปัจจุบัน มาตรฐานศตวรรษที่ 21 - มุ่งเน้นทักษะในศตวรรษที่ 21 นักเรียนมีความรู้ในเนื้อหาและความเชี่ยวชาญ - สร้างความเข้าใจระหว่างวิชาหลัก เช่นเดียวกับรูปแบบสหวิทยาการศตวรรษที่ 21 - เน้นความเข้าใจอย่างลึกซึ้งมากกว่าความรู้แบบผิวเผิน - การของมีส่วนร่วมของนักเรียนกับ ข้อมูลและ เครื่องมือในโลกแห่งความเป็นจริงและพวก เขาจะพบผู้ เชียวชาญในวิทยาลัยหรือในที่ทํางานและ ชีวิตนักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีที่สุดเมื่อทํางานอย่างแข็งขัน การแก้ปัญหาที่มีความหมาย - การมีมาตรการหลายๆรูปแบบของการเรียนรู้
  • 6. 6 การพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยสู่ประชาคมอาเซียน การพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้ประสบผลสําเร็จ จําเป็นต้องกําหนดเป้าหมาย ได้แก่ คุณสมบัติของเด็กไทยที่จะพัฒนาสู่การเป็นประชาคม อาเซียนให้ชัดเจน ทั้งด้านความรู้ ทักษะ/กระบวนการ และเจตคติดังที่ได้กล่าวไว้แล้ว ใน ตอนที่ 19 สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน(สพฐ.)จึงได้มีการประชุมโต๊ะ กลมและพิจารณาบุคลากรที่เกี่ยวข้องโดยตรงและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเตรียมการและ ดําเนินการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ของ มหาวิทยาลัยและหน่วยงานต่างๆ เช่น สถานทูต มหาวิยาลัยภาครัฐและเอกชน ในการร่วม กําหนดคุณลักษณะเด็กไทยในประชาคมอาเซียน สื่อการเรียนออนไลน์กับการเรียนรู้ สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง สื่อดิจิทัดที่เป็นเครื่องมือในการปฏิบัติการทาง สังคม (Social Tool) เพื่อใช้สื่อสารระหว่างกันในเครือข่ายทางสังคม (Social Network) ผ่านทางเว็บไซต์และโปรแกรมประยุกต์บนสื่อใดๆ ที่มีการเชื่อมต่อกับ อินเทอร์เน็ต โดยเน้นให้ผู้ใช้ทั้งที่เป็นผู้ส่งสารและผู้รับสารมีส่วน ร่วม (Collaborative) อย่างสร้างสรรค์ในการผลิตเนื้อหาขึ้นเอง (User-GenerateContent: UGC) ในรูปของข้อมูล ภาพ และเสียง ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ ประเภทของสื่อสังคมออนไลน์ มีด้วยกันหลายชนิด ขึ้นอยู่กับลักษณะของการนํามาใช้โดย สามารถแบ่งเป็นกลุ่ม หลักดังนี้ 1. Weblogs หรือเรียกสั้นๆ ว่า Blogs คือ สื่อส่วนบุคคลบนอินเทอร์เน็ตที่ใช้เผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ ข้อคิดเห็น บันทึกส่วนตัว โดยสามารถแบ่งปันให้บุคคลอื่นๆ โดยผู้รับสารสามารถ เข้าไปอ่าน หรือแสดงความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ซึ่งการแสดงเนื้อหาของบล็อกนั้นจะเรียงลําดับจาก เนื้อหาใหม่ไปสู่เนื้อหาเก่า ผู้เขียนและผู้อ่านสามารถค้นหาเนื้อหาย้อนหลังเพื่ออ่านและแก้ไข เพิ่มเติมได้ตลอดเวลา เช่น Exteen, Bloggang, Wordpress,Blogger, Okanation
  • 7. 7 2. Social Networking หรือเครือข่ายทางสังคมในอินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นเครือข่ายทางสังคมที่ใช้ สําหรับเชื่อมต่อระหว่างบุคคล กลุ่มบุคคล เพื่อให้เกิดเป็นกลุ่มสังคม (Social Community) เพื่อ ร่วมกันแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลระหว่างกันทั้งด้านธุรกิจ การเมือง การศึกษา เช่น Facebook, Hi5, Ning, Linked in,MySpace, Youmeo, Friendste 3. Micro Blogging และ Micro Sharing หรือที่เรียกกันว่า “บล็อกจิ๋ว” ซึ่งเป็นเว็บเซอร์วิสหรือ เว็บไซต์ที่ให้บริการแก่บุคคลทั่วไป สําหรับให้ผู้ใช้บริการเขียนข้อความสั้นๆ ประมาณ 140 ตัวอักษร ที่เรียกว่า “Status” หรือ “Notice” เพื่อแสดงสถานะของตัวเองว่ากําลังทํา อะไรอยู่หรือแจ้งข่าวสารต่างๆ แก่กลุ่มเพื่อนในสังคมออนไลน์ (Online Social Network) (Wikipedia,2010) ทั้งนี้การกําหนดให้ใช้ข้อมูลในรูปข้อความสั้นๆ ก็เพื่อให้ผู้ใช้ที่เป็นทั้ง ผู้เขียนและผู้อ่านเข้าใจง่าย ที่นิยมใช้กันอย่างแพร่หลายคือ Twitter 4. Online Video เป็นเว็บไซต์ที่ให้บริการวิดีโอออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซึ่งปัจจุบัน ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและขยายตัวอย่างรวดเร็ว เนื่องจากเนื้อหาที่นําเสนอในวิดีโอ ออนไลน์ไม่ถูกจํากัดโดยผังรายการที่แน่นอนและตายตัว ทําให้ผู้ใช้บริการสามารถติดตามชมได้ อย่างต่อเนื่อง เพราะไม่มีโฆษณาคั่น รวมทั้งผู้ใช้สามารถเลือกชมเนื้อหาได้ตามความต้องการและยัง สามารถเชื่อมโยงไปยังเว็บวิดีโออื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้จํานวนมากอีกด้วย เช่น Youtube, MSN, Yaho 5. Poto Sharing เป็นเว็บไซต์ที่เน้นให้บริการฝากรูปภาพโดยผู้ใช้บริการสามารอัพโหลดและ ดาวน์โหลดรูปภาพเพื่อนํามาใช้งานได้ ที่สําคัญนอกเหนือจากผู้ใช้บริการจะมีโอกาสแบ่งปัน รูปภาพแล้ว ยังสามารถใช้เป็นพื้นที่เพื่อเสนอขายภาพที่ตนเองนําเข้าไปฝากได้อีกด้วย เช่น Flickr, Photobucket, Photoshop,Express, Zooom 6. Wikis เป็นเว็บไซต์ที่มีลักษณะเป็นแหล่งข้อมูลหรือความรู้ (Data/Knowledge) ซึ่งผู้เขียน ส่วนใหญ่อาจจะเป็นนักวิชาการ นักวิชาชีพหรือผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านต่างๆ ทั้งการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ซึ่งผู้ใช้สามารถเขียนหรือแก้ไขข้อมูลได้อย่างอิสระ เช่น Wikipedia, Google Earth,diggZy Favorites Online 7. Virtual Worlds คือการสร้างโลกจินตนาการโดยจําลองส่วนหนึ่งของชีวิตลงไป จัดเป็นสื่อ สังคมออนไลน์ที่บรรดาผู้ท่องโลกไซเบอร์ใช้เพื่อสื่อสารระหว่างกันบนอินเทอร์เน็ตในลักษณะโลก
  • 8. 8 เสมือนจริง (Virtual Reality) ซึ่งผู้ที่จะเข้าไปใช้บริการอาจจะบริษัทหรือองค์การด้านธุรกิจ ด้าน การศึกษา รวมถึงองค์การด้านสื่อ เช่น สํานักข่าวรอยเตอร์ สํานักข่าวซีเอ็นเอ็น ต้องเสียค่าใช้จ่ายใน การซื้อพื้นที่เพื่อให้บุคคลในบริษัทหรือองค์กรได้มีช่องทางในการนําเสนอเรื่องราวต่างๆ ไปยังกลุ่ม เครือข่ายผู้ใช้สื่อออนไลน์ ซึ่งอาจจะเป็นกลุ่ม ลูกค้าทั้งหลัก และรองหรือ ผู้ที่เกี่ยวข้องกับธุรกิจ ของ บริษัท หรือองค์การก็ได้ปัจจุบันเว็บไซต์ที่ใช้หลัก Virtual Worlds ที่ประสบผลสําเร็จและมีชื่อเสียง คือ Second life 8. Crowd Sourcing มาจากการรวมของคําสองคําคือ Crowd และ Outsourcing เป็นหลักการ ขอความร่วมมือจากบุคคลในเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถจัดทําในรูปของเว็บไซต์ที่มี วัตถุประสงค์หลักเพื่อค้นหาคําตอบและวิธีการแก้ปัญหาต่างๆทั้งทางธุรกิจ การศึกษา รวมทั้งการ สื่อสาร โดยอาจจะเป็นการดึงความร่วมมือจากเครือข่ายทางสังคมมาช่วยตรวจสอบข้อมูลเสนอ ความคิดเห็นหรือให้ข้อเสนอแนะ กลุ่มคนที่เข้ามาให้ข้อมูลอาจจะเป็นประชาชนทั่วไปหรือผู้มี ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านที่อยู่ในภาคธุรกิจหรือแม้แต่ในสังคมนักข่าว ข้อดีของการใช้หลัก Crowd souring คือ ทําให้เกิดความหลากหลายทางความคิดเพื่อนํา ไปสู่การแก้ปัญหาที่มี ประสิทธิภาพ ตลอดจนช่วยตรวจสอบหรือคัดกรองข้อมูลซึ่งเป็นปัญหาสาธารณะร่วมกันได้ เช่น Idea storm, Mystarbucks Idea 9. Podcasting หรือ Podcast มาจากการรวมตัวของสองคํา คือ “Pod” กับ “Broadcasting” ซึ่ง “POD” หรือ PersonalOn - Demand คือ อุปสงค์หรือความ ต้องการส่วนบุคคล ส่วน“Broadcasting” เป็นการนําสื่อต่างๆ มารวมกันในรูปของภาพและเสียง หรืออาจกล่าวง่ายๆ Podcast คือ การบันทึกภาพและเสียงแล้วนํามาไว้ในเว็บเพจ (Web Page) เพื่อ เผยแพร่ให้บุคคลภายนอก (The public in general) ที่สนใจดาวน์โหลดเพื่อนําไปใช้งาน เช่น Dual Geek Podcast, Wiggly Podcast 10. Discuss / Review/ Opinion เป็นเว็บบอร์ดที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตสามารถแสดงความคิดเห็น โดยอาจจะเกี่ยวกับ สินค้าหรือบริการ ประเด็นสาธารณะทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม เช่น Epinions, Moutshut, Yahoo!Answer, Pantip,Yelp
  • 9. 9 อุปกรณ์เครื่องมือทางสื่อสังคมออนไลน์ คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคานวณอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถทางานคานวณผลและ เปรียบเทียบค่าตามชุดคาสั่งด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติพจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2525 ได้ให้คาจากัดความของคอมพิวเตอร์ไว้ค่อนข้างกะทัดรัดว่าเครื่อง อิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติทาหน้าที่เสมือนสมองกล ใช้สาหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและ ซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ หรืออาจกล่าวได้ว่า เครื่องคอมพิวเตอร์หมายถึงเครื่องมือที่ช่วยใน การคานวณและการประมวลผลข้อมูล สมาร์ทโฟน(SmartPhone) คือ โทรศัพท์มือถือที่นอกเหนือจากใช้โทรออก-รับสายแล้วยังมี แอพพลิเคชั่นให้ใช้งานมากมายสามารถรองรับการใช้งานอินเทอร์เน็ตผ่าน 3G,Wi-Fi และสามารถ ใช้งานโซเชียลเน็ตเวิร์คและแอพพลิเคชั่นสนทนาชั้นนาเช่น LINE,Youtube,Facebook, Twitter ฯลฯโดยที่ผู้ใช้สามารถปรับแต่งลูกเล่นการใช้งานสมาร์ทโฟนให้ตรงกับความต้องการได้ มากกว่ามือถือธรรมดาผู้ผลิตสมาร์ทโฟนรุ่นใหม่ๆนิยมผลิตสมาร์ทโฟนที่มีหน้าจอระบบสัมผัส, ใส่ กล้องถ่ายรูปที่มีความละเอียดสูง, ออกแบบดีไซน์ให้สวยงามทันสมัย, มีแอพพลิเคชั่นและลูกเล่นที่ น่าสนใจ แท็บเล็ต(Tablet) คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่มีหน้าจอระบบสัมผัสขนาดใหญ่มีขนาด หน้าจอตั้งแต่ 7 นิ้วขึ้นไป พกพาได้สะดวกสามารถใช้งานหน้าจอผ่านการสัมผัสผ่านปลายนิ้วได้ โดยตรงมีแอพพลิเคชั่นมากมายให้เลือกใช้ไม่ว่าจะรับ-ส่งอีเมล์, เล่นอินเทอร์เน็ต, ดูหนัง, ฟังเพลง , เล่นเกมหรือแม้กระทั่งใช้ทางานเอกสารออฟฟิตข้อดีของแท็บเล็ตคือมีหน้าจอที่กว้างทาให้มีพื้นที่ การใช้งานเยอะมีน้าหนักเบาพกพาได้สะดวกกว่าโน๊ตบุ๊ค หรือ คอมพิวเตอร์ สามารถจดบันทึกหรือ ใช้เป็นอุปกรณ์เพื่อการศึกษาได้เป็นอย่างดี ประโยชน์และข้อจากัดของสังคมออนไลน์ แม้ลักษณะของเครือข่ายสังคมออนไลน์ จะเป็นสื่อให้ข้อมูลข่าวสารสามารถกระจายออกไป อย่างรวดเร็วและกว้างขวางมีคุณประโยชน์มากมายในด้านการติดต่อสื่อสาร แต่ก็เปรียบเสมือนดาบ สองคมหากผู้ใช้ขาดคุณธรรมจริยธรรม สามัญสํานึก การรู้จักเคารพสิทธิ ของผู้อื่น และความ ระมัดระวังในการใช้แล้ว สังคมออนไลน์เหล่านี้ก็จะเป็น"สังคมอันตราย"ที่จะเป็นด้านมืดของ สังคมไทย
  • 10. 10 ประโยชน์ของ Social networks เครือข่ายสังคมออนไลน์ 1. สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้ 2. เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยน ความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ เพื่อให้บุคคลอื่นที่สนใจหรือมีคาตอบได้ช่วยกันตอบ 3. ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว 4.เป็นสื่อในการนําเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้ เข้ามารับชมและแสดงความคิดเห็น 5. ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัทและองค์กรต่างๆ ช่วยสร้างความเชื่อมั่นให้ลูกค้า 6. ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ ขึ้น 7.คลายเครียดได้สําหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ 8. สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้ ข้อจากัดของSocial networks เครือข่ายสังคมออนไลน์ 1. เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไป หากผู้ใช้บริการ ไม่ระมัดระวังในการกรอกข้อมูล อาจถูกผู้ไม่หวังดีนํามาใช้ในทางเสียหาย หรือละเมิดสิทธิ ส่วนบุคคลได้ 2. Social Network เป็นสังคมออนไลน์ที่กว้าง หากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาด วิจารณญาณ อาจโดนหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต หรือการนัดเจอกันเพื่อจุดประสงค์ร้าย ตามที่เป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ 3. เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ ขโมยผลงาน หรือถูกแอบอ้าง เพราะ Social Network Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน รูปภาพต่างๆ ของเราให้บุคคลอื่นได้ดูและ แสดงความคิดเห็น 4. ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบ Social
  • 11. 11 Network ยากแก่การตรวจสอบว่าจริงหรือไม่ ดังนั้นอาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับเว็บไซต์ที่ กําหนดอายุการสมัครสมาชิก หรือการถูกหลอกโดยบุคคลที่ไม่มีตัวตนไ 5. ผู้ใช้ที่เล่น socialnetwork และอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้หรือ บางคนอาจตาบอดได้ 6. ถ้าผู้ใช้หมกมุ่นอยู่กับ social network มากเกินไปอาจทําให้เสียการเรียนหรือผลการเรียตกตํ่า 7. จะทําให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน์ การหาแรงลัพธ์ แรงลัพธ์ หมายถึง ผลรวมของแรงที่กระทําต่อวัตถุทั้งขนาดและทิศทาง 1. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน 1.1 เมื่อแรงย่อยมีทิศเดียวกันให้นําแรงย่อยมารวมกัน ทิศทางของแรงลัพธ์จะเป็นทิศเดิม 1.2 เมื่อแรงย่อยมีทิศทางตรงกันข้ามกัน ให้นําแรงย่อยมาลบกัน โดยแรงลัพธ์จะมีิทิศทางตาม แรงที่มากกว่า 2. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยอยู่ในแนวเดียวกัน 2.1 เมื่อแรงลัพธ์กระทําต่อวัตถุ ในทิศเดียวกัน แรงลัพธ์ก็คือ ผลบวกของแรงทั้งสอง เช่น 2.2 เมื่อแรงสองแรงกระทําต่อวัตถุในทิศทางตรงข้าม 2.2.1 ขนาดของแรงย่อยไม่เท่ากัน แรงลัพธ์ ก็คือผลต่างของแรงทั้งสอง เช่น
  • 12. 12 2.2.2 ขนาดของแรงย่อยเท่ากัน แรงทั้งสองจะหักล้างกัน แรงลัพธ์ เท่ากับ 0 วัตถุจีงไม่เคลื่อนที เช่น 4. การหาแรงลัพธ์เมื่อแรงย่อยทํามุมกัน สามารถหาได้ดังนี้ 4.1 วิธีสร้างสีเหลี่ยมด้านขนานแทนแรง โดยให้จุดเริ่้มต้นของแรงทั้งสองอยู่ีที่จุดเดียวกันแล้ว ต่อให้เป็นรูปสี เหลี่ยมด้านขนาน โดยมีด้านคู่ขนานยาวเท่ากับขนาดของแรง F1 F2 เส้นทแยงมุมที่ลากจากจุดเริ่มต้นไปยังมุม ตรงกันข้ามคือ ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ดังรูป 4.2 วิธีเขียนแรงย่อยต่อกันแบบหางต่อหัว โดยนําจุดเริ่มต้นของ F2 มาต่อกับจุดสิ้นสุดของ F1 แล้วลากเส้นจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดสิ้นสุด จะได้ขนาดและทิศทางของแรงลัพธ์ ดังรูป
  • 13. 13 บทที่ 3 วิธีดาเนินงาน ขั้นตอนการวางแผนดาเนินงาน ผู้จัดทําโครงงานได้วางแผนการดําเนินงาน ดังนี้ 1. ตั้งชื่อเรื่องโครงงานฟิสิกส์ 2. เขียนเค้าโครงโครงงานฟิสิกส์ 3. กําหนดแผนปฏิบัติงาน 4. ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานฟิสิกส์ 5. ออกแบบและจัดทําBlog 6. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการทําโครงงานฟิสิกส์ 7. การวิเคราะห์ข้อมูล 8. สรุปการดําเนินงาน 9. จัดทํารูปเล่มโครงงาน 10. นําเสนอโครงงาน
  • 14. 14 ขั้นการดาเนินงาน 1. ค้นคว้า ศึกษาข้อมูล หลักการ เนื้อหา ความรู้เกี่ยวกับการหาแรงลัพธ์ 2. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการหาแรงลัพธ์ 3. จัดทําเป็น Blog ให้ความรู้ 4. นําข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสรุปผล 5. จัดทํารูปเล่มรายงานและนําเสนอ
  • 15. 15 ปฎิทินการปฏิบัติงาน ที่ กิจกรรม วันที่ 1 ผู้จัดทําคิดหาหัวข้อที่จะทํา 23/พ.ค./2016 2 ผู้จัดทําวางแผนในการทํา โครงงาน 06/มิ.ย./2016 3 ผู้จัดทําออกแบบและจัดทํา Blog 13-15/มิ.ย./2016 4 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการหา แรงลัพธ์ 07/มิ.ย.-12/ก.ค./2016 5 วิเคราะห์และสรุปผล 01/ส.ค./2016 6 นําเสนอโครงงาน 08/ก.ย./2016
  • 16. 16 บทที่4 ผลการดาเนินงาน ส่วนประกอบของ Blog 1. หน้าแรก 2. การประยุกต์ใช้ 3. ตัวอย่างโจทย์ 4. วีดีโอ 5. วีดีโอแนะนํา Blog 6. เนื้อหา 6.1 ลําดับ 6.2 อนุกรม 7. เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของผู้จัดทํา Blog
  • 18. 18 3. ตัวอย่างโจทย์ ตัวอย่างข้อสอบเรื่องการหาแรงลัพธ์ 4. วีดีโอการสอน วีดีโอเป็นหน้าที่รวบรวมให้ผู้ที่ต้องการศึกษาการเรียนการสอนออนไลน์ใน รายวิชาฟิสิกส์เรื่องการหาแรงลัพธ์
  • 19. 19 5. วีดีโอแนะนา Blog ผู้จัดทาได้แนะนาการใช้ Blog 6. เนื้อหา
  • 21. 21 บทที่ 5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ สรุปผลการดาเนินงาน จากผลการดําเนินงานพบว่า Blog แห่งการเรียนรู้นั้นจะประกอบไปด้วยหน้าทั้งหมด 9 หน้า ดังนี้ 1. หน้าแรก เป็นหน้าที่รวบรวมเรื่องราวต่างๆที่เกี่ยวกับความรู้ในการเรียนวิชาฟิสิกส์ และเนื้อหาความรู้ต่างๆที่ผู้จัดทําสร้างขึ้นมาเพื่อเป็นความรู้และประโยชน์แก่ผู้ศึกษา 2. การประยุกต์ใช้การหาแรงลัพธ์ในชีวิตประจําวัน 3. ตัวอย่างโจทย์ตัวอย่างข้อสอบเกี่ยวกับเรื่องการหาแรงลัพธ์ 4. วีดีโอเป็นหน้าที่รวบรวมวีดีโอให้ผู้ที่ต้องการจะศึกษาการเรียนการสอนออนไลน์ใน รายวิชาฟิสิกส์ในเรื่องการหาแรงลัพธ์ 5. วีดีโอแนะนํา Blog ผู้จัดทําได้แนะนําการใช้ Blog 6. เนื้อหา 6.1 วิธีการหาแรงลัพธ์ 7. เกี่ยวกับข้อมูลเบื้องต้นของผู้จัดทํา Blog
  • 22. 22 อภิปรายผล ผู้ที่เข้ามาศึกษา Blog แห่งการเรียนรู้นี้จะได้ทักษะในการเรียนรายวิชาฟิสิกส์เรื่อง การหา แรงลัพธ์ ที่สามารถให้ผู้ศึกษาค้นคว้าได้หาความรู้อย่างสะดวกผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยผู้ ศึกษาจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับเนื้อหาการหาแรงลัพธ์ พร้อมทั้งได้ฝึกทําข้อสอบควบคู่กันไปด้วย โดย การทําข้อสอบนั้นจะทําให้ผู้ศึกษาเกิดความชํานาญ เข้าใจ และได้ฝึกกระบวนการคิด นอกจากจะ ได้รับความรู้เรื่องดังกล่าวแล้วยัง ได้รับความรู้ในเรื่องต่างๆ ที่ได้รวบรวมไว้ใน Blog นี้ทําให้ผู้เรียน มีความรู้มากมายหลายด้านและผู้เรียนสามารถค้นคว้าความรู้ในเรื่องต่างๆได้ด้วยตนเอง ข้อเสนอแนะ 1. เนื้อหาควรมีความละเอียดมากยิ่งขึ้น 2. ตัวอย่างโจทย์ควรเฉลยให้ละเอียดมากกว่านี้
  • 23. 23 บรรณานุกรม https://www.google.co.th/search?q=%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0 %B8%9D%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%94% E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81 %E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%9 8%E0%B9%8C&newwindow=1&biw=1366&bih=633&source=lnms&sa=X&ved=0a hUKEwi7vr78nd_OAhWIqo8KHV-EBgkQ_AUIBygA&dpr=1 (ข้อสอบการหาแรงลัพธ์) https://wachirapornloysmith26171.wordpress.com/2013/02/24/%E0%B8%81%E0%B8 %B2%E0%B8%A3%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%A3%E0% B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%9E%E0%B8%98%E0%B9%8C/ (เนื้อหาการหาแรงลัพธ์) https://www.youtube.com/watch?v=rgB5O88sFtA (วีดีโอสอนการหาแรงลัพธ์) https://www.google.co.th/search?q=สูตรการหาแรง ลัพธ์&newwindow=1&biw=1366&bih=633&source=lnms&sa=X&ved=0ahUKEwjIi (สูตรคํานวนและทิศทางการหาแรงลัพธ์)
  • 24. 24