SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6
ปี การศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนการรักษาดุลยภาพของร่ างกายมนุษย์

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวธัญญลักษณ์
2.นางสาวภัทรวีร์

กันทอง
เยาวรัตน์

เลขที่ 3
เลขที่ 36

ชั้น ม.6 ห้ อง 2
ชั้น ม.6 ห้ อง 2

ชื่ออาจารย์ ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขือนทอง มูลวรรณ์
่

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
้
ใบงาน
การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิ กในกลุ่ม
1.นางสาวธัญญลักษณ์
2.นางสาวภัทรวีร์

กันทอง
เยาวรัตน์

เลขที่ 3
เลขที่ 36

ชื่อโครงงาน สื่ อการเรี ยนการสอนการรักษาดุลยภาพของร่ างกายมนุษย์
ชื่อโครงงาน Human homeostasis for learning
ชื่ อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวธัญญลักษณ์ กันทอง
เลขที่ 3
2.นางสาวภัทรวีร์
เยาวรัตน์
เลขที่ 36
ชื่อทีปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
่
ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2557
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน
่
ในปั จจุบนอินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชี วิตประจาวันของคนเรามากขึ้น เนื่ องจากทา
ั
ให้เราทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ ข้อมูลและสารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์ เน็ตมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนอง
ความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคน
้
เพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่
้
การรั บ รู ้ ข่ า วสารทัวโลกก็ ส ามารถอ่ า นได้ใ นอิ นเทอร์ เน็ ตจากเว็บ ไซต์ต่า ง ๆ ของหนัง สื อ พิ ม พ์ ดัง นั้น
่
่
อินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็ น ด้าน
ั
ความบันเทิงเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจรวมถึงสันทนาการ ด้านธุ รกิจเพื่อซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบ
เครื อข่าย และด้านการศึกษาเพื่อใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลที่สนใจและกาลังศึกษาอยู่
ั
การศึกษาในปั จจุบนได้มีการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กบสื่ อการเรี ยนการสอนในห้องเพื่อทาให้
ั
ครู ผูสอนสะดวกในการเตรี ยมการเรี ยนการสอนรวมทั้งทาให้ผูเ้ รี ยนรู ้ สึกมี ความสนใจและมีความเข้าใจ
้
เนื้อหามากขึ้น นอกจากนี้ยงได้มีการเผยแพร่ สื่อการเรี ยนการสอนในอินเทอร์ เน็ตมากมายทาให้สื่อการเรี ยน
ั
การสอนมี กว้างขวางยิ่งขึ้ น อิ นเทอร์ เน็ ตจึ งท าหน้าที่ เปรี ย บเสมื อนเป็ นห้องสมุ ดขนาดใหญ่ให้นักเรี ย น
นักศึกษาได้ทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองรวมถึงได้มีการทบทวนเนื้ อหาที่ไม่เข้าใจในห้องเรี ยน ดังนั้นสื่ อ
การเรี ยนการสอนบนอินเทอร์ เน็ตจึงนับว่ามีความสาคัญไม่นอยสาหรับการศึกษาเพราะมีประโยชน์ท้ งต่อ
้
ั
ครู ผสอนและนักเรี ยนนักศึกษา
ู้
วัตถุประสงค์
- เพือเป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนบนอินเทอร์ เน็ต
่
- เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนการสอนบนอินเทอร์ เน็ต
ขอบเขตโครงงาน
 ส่ วนของผูจดทา
้ั
-สามารถสร้างบทเรี ยนใหม่ได้
-สามารถแก้ไขเนื้อหา บทเรี ยนที่ได้สร้างไว้แล้วได้
 ส่ วนของผูที่ตองการศึกษา
้ ้
-สามารถเข้าดูเนื้อหา
-สามารถแสดงความคิดเห็น ติชมได้บนBlogของผูจดทา
้ั
หลักการและทฤษฎี
ประโยชน์ ของอินเทอร์ เน็ตทางการศึกษา
Barron and Ivers (1996, pp. 4-8) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการใช้งานเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทางการศึกษา
ดังนี้
1. ประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตที่มีต่อผูเ้ รี ยน อินเทอร์ เน็ตทาให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสได้รับความรู ้ใหม่
ได้เรี ยนรู ้ วฒนธรรมที่หลากหลาย เรี ยนรู ้ประสบการณ์ จากสภาพความเป็ นจริ งของโลกปั จจุบน เกิ ดทักษะ
ั
ั
ความคิดขั้นสู งและเป็ นการช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรี ยนรวมถึงเป็ นการฝึ กให้เกิดทักษะการเขียนด้วยเหตุผล
สนับสนุนดังต่อไปนี้
1.1 การศึ ก ษาวัฒนธรรมที่ หลากหลาย ในสังคมผูส อนจะเน้นให้ผูเ้ รี ย นเข้าใจและยอมรั บวัฒ นธรรมที่
้
แตกต่างจากตนเอง การสอนให้ผูเ้ รี ย นยึดแต่วฒนธรรมแบบเดิ ม จะเป็ นการเตรี ยมผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนที่ ไ ม่
ั
สามารถท างานร่ วมเป็ นกลุ่ ม ได้ ประโยชน์ จากการใช้อิ นเทอร์ เน็ ต คื อ การส่ ง เสริ ม ให้ผูเ้ รี ย นมี โอกาส
ั
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการมีปฏิสัมพันธ์กบผูเ้ รี ยนคนอื่นที่มีภูมิหลังต่างจากตนเอง การสื่ อสารทางไกล
ทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจและความเคารพในวัฒนธรรมต่างแดนมากขึ้น
1.2 เรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ จากสภาพที่ เ ป็ นจริ ง การเรี ย นในโรงเรี ย นจะได้ป ระโยชน์ อย่า งมากเมื่ อได้จ ัด
ั
กิจกรรมให้สัมพันธ์กบแหล่งข้อมูล อินเทอร์ เน็ตทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าถึงข้อมูลที่ทนสมัย เมื่อเปรี ยบเทียบกับการ
ั
เรี ยนแบบเดิม แล้วพบว่าการสื่ อสารทางไกลเปิ ดโลกทัศน์ของผูเ้ รี ยนให้กว้างขึ้น
1.3 การเพิ่ ม ทัก ษะการคิ ดอย่า งมี ระบบ ผูเ้ รี ย นที่ ใ ช้ก ารสื่ อสารทางไกลจะมี ทก ษะการคิ ดแบบสื บ สวน
ั
สอบสวนและทักษะการคิดอย่างมีระบบ เพราะลักษณะของการใช้อินเทอร์ เน็ตที่ผเู ้ รี ยนต้องมีทกษะการคิด
ั
วิเคราะห์ในการเลือกรับข้อมูลและได้สื่อสารกับผูเ้ ชี่ยวชาญ
1.4 สร้ า งแรงจู ง ใจให้ มี ท ัก ษะในการเขี ย น ผู้เ รี ย นที่ มี ป ระสบการณ์ ก ารใช้ก าร-สื่ อ สารทางไกลจะมี
ความสามารถในการเขียนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่ าวยังช่ วยให้ผูเ้ รี ยนบรรลุ วตถุ ประสงค์ในการ
ั
ั
เขียนและเพิ่มแรงจูงใจให้มีการเขียนและแลกเปลี่ยนความรู ้และประสบการณ์กบเพื่อนผูร่วมอภิปราย
้
2. ประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตที่มีต่อผูสอน เมื่อมีการใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้ผสอนสามารถเข้าถึง
้
ู้
แหล่งข้อมูลทางการศึกษา การวิจย การวางแผนการสอนและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับผูเ้ ชี่ ยวชาญที่เชื่ อมต่อ
ั
เข้าสู่ ระบบเช่ นกัน คุ ณค่าของการเปิ ดรับข้อมูลทาให้ได้รับรู ้ กลยุทธ์ การสอนที่หลากหลาย สามารถนามา
ปรับปรุ งประสิ ทธิภาพของการเรี ยนการสอนที่เป็ นประโยชน์ท้ งผูเ้ รี ยนและผูสอน
ั
้
2.1 การสอนแบบร่ วมมือ (collaborative) ทาให้ผสอนมีความสามารถเพิ่มขึ้นเมื่อใช้วิธีการสอนแบบร่ วมมือ
ู้
ผ่า นเครื อ ข่ า ย เช่ น การออกแบบให้ มี ส ภาพและการประชุ ม ระหว่ า งผูส อนเพื่ อ อภิ ป รายประเด็ น อัน
้
หลากหลาย เช่น การบริ หารโรงเรี ยนการประเมิน แนวทางการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เป็ นต้น อินเทอร์ เน็ตยัง
2.2 กลยุทธ์การสอนที่หลากหลาย เมื่อมีการสื่ อสารทางไกลทาให้การสอนเปลี่ยนทิศทาง การใช้อินเทอร์ เน็ต
เป็ นการช่ วยเพิ่ มเวลาที่ ผูเ้ รี ยน ท าให้ติดต่อสื่ อสารกับ ผูส อนเป็ นรายบุ คคลมากขึ้ น ลดเวลาในการจดค า
้
บรรยายในชั้นเรี ยนและทาให้ผเู ้ รี ยนมีเวลาทารายงานมากขึ้น
2.3 พัฒนาหลักสู ตร เมื่ อการสื่ อสารทางไกลด้วยอินเทอร์ เน็ตมี อิทธิ พลกับหลักสู ตร ทาให้ประเด็นในการ
เรี ยนการสอนสอดคล้องกับสภาพของสังคมมากขึ้น ยกระดับของทักษะ ความคิดในการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้
จากการเรี ยนด้วยการใช้สื่อผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตแตกต่างจากสิ่ งที่สอนในห้องเรี ยน เพราะ เป็ นวิธีการที่
นาไปสู่ โ ครงการที่ เ ขี ย นจากความร่ ว มมื อของทุ ก ฝ่ าย อิ น เทอร์ เน็ ตท าให้ไ ด้ข ้อสรุ ป จากหน่ ว ยงาน ได้
แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่ งทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพนอกจากการสอนแบบเดิมผูสอน
้
และผูเ้ รี ยนสามารถใช้ขอมูลจากสารานุกรม หนังสื อ เอกสารงานวิจย และโปรแกรมซอฟต์แวร์ เพื่อการศึกษา
้
ั
จากอินเทอร์เน็ต
3. ประโยชน์ ที่ มี ต่อ ผูเ้ ชี่ ย วชาญการผลิ ตสื่ อ ท าให้ ไ ด้พ บกับ แหล่ ง ข้อมู ล ขนาดใหญ่ ที่ ดี ก ว่า
ประหยัดเวลากว่าและพบผลงานที่แตกต่างจากในท้องถิ่นของตนเอง
3.1 แหล่งข้อมูลความรู ้ การใช้อินเทอร์ เน็ ตทาให้ได้พบกับแหล่ งข้อมูล เช่ น นิ ตยสาร วารสาร ฐานข้อมูล
ผลการวิจย การสารวจความคิดเห็น ภาพกราฟิ ก เสี ยง ภาพยนตร์ และซอฟต์แวร์ เหมือนกับย่อโลกทั้งใบมา
ั
ไว้ในจอคอมพิวเตอร์
3.2 ข้อมูลที่ทนสมัย ข้อมูลในอินเทอร์ เน็ตเป็ นข้อมูล ที่ ทนสมัยเหมาะกับการศึกษา ความสามารถในการ
ั
ั
ติดต่อกับผูเ้ ชี่ ยวชาญทาให้ได้รับข้อมูลแบบปฐมภูมิได้คาตอบครบประเด็นกับปั ญหาที่ถาม และการได้รับ
ทราบความคิดเห็นจากแหล่งอื่นอีกทั้งยังมีการเชื่อมโยงเอกสารไปยังห้องสมุดหรื อแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
3.3 เครื่ องมือสอนให้ผเู้ รี ยนมีทกษะ อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือที่ทาให้ผเู้ รี ยนมีทกษะในการศึกษาวิจย ผูเ้ รี ยน
ั
ั
ั
สามารถตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์และทารายงานได้โดยไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่ายสู ง เพราะมีระบบและเครื่ องมือใน
้
การสื บค้นมากมายและทาให้ผลที่จดทาขึ้นมีแหล่งข้อมูลอ้างอิงจานวนมาก
ั
3.4 การพบปะกับสมาชิ ก พบว่าเหตุผลอันดับหนึ่ งสาหรับผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านการสื่ อสารต่อการใช้อินเทอร์ เน็ต
คื อ ความสะดวก ประหยัดเวลา ความเป็ นหมวดหมู่ สามารถสื่ อ สารกับ สมาชิ ก อื่ น ๆ ทัว โลกโดยเสี ย
่
่
ค่าใช้จ่ายที่ไม่สูง และช่วยลดความรู ้สึกว่าทางานอยูคนเดียวในโรงเรี ยน
4. ประโยชน์ที่มีต่อเจ้าหน้าที่ ในระดับของเจ้าหน้าที่ผปฏิบติงาน การใช้อินเทอร์ เน็ตช่วยลดความ
ู้ ั
ซับซ้อน การจัดเตรี ยมและเอกสาร เป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลอย่างยิ่งในการรับและปรับปรุ ง
ข้อมูลให้ทนสมัย โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อต้องรับและส่ งข้อมูลภายนอกองค์กร
ั
่
4.1 การจัดการเอกสาร การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่ อสารเป็ นการประหยัดงบประมาณ ลดการใช้กระดาษ มี
ความรวดเร็ วมีประสิ ทธิ ผลและเป็ นการบันทึกข้อมูล รวมถึ งยังช่วยลดความผิดพลาดในการสื่ อสารผ่านสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์อีกด้วย
4.2 การสื่ อสารภายนอกองค์กร การใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้เจ้าหน้าที่ได้รับข้อมูลที่ทนสมัยทันทีจากที่ประชุ ม
ั
ทางการศึกษา การวิจย และจากผูสอน การติดต่อกับธุ รกิจเอกชนหรื อหน่วยงานอื่น ๆ ก็ตองใช้อินเทอร์ เน็ต
ั
้
้
5. ประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตที่ มีต่อการสื่ อสาร การใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นแนวทางที่ดีที่ทาให้การ
สื่ อสารระหว่า งโรงเรี ย น กองทุ นสนับ สนุ นการศึ ก ษา โครงการเพื่ อการศึ ก ษา องค์ก รพิ เศษอื่ น ๆ และ
อาสาสมัคร ในการเชื่ อมโยงไปถึงผูนาธุ รกิจในท้องถิ่น ผูเ้ ชี่ ยวชาญและเจ้าหน้าที่ผูปฏิบติงานที่สามารถเข้า
้
้ ั
ใช้อินเทอร์เน็ตได้
5.1 การสื่ อสารกับโรงเรี ยน การใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้ผปกครองมีโอกาสเป็ นผูช่วยกาหนดการบ้านของบุตร
ู้
้
หลาน และยังได้ร่วมประชุมกับครู หรื อผูปกครองคนอื่นด้วย
้
5.2 กิจกรรมการสื่ อสารของผูเ้ รี ยน การใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้ผสูงอายุและผูที่ไม่มีโทรศัพท์ได้แลกเปลี่ ยน
ู้
้
ั
ประสบการณ์ กบผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนจานวนมากได้รับคาแนะนา คาอบรมสั่งสอนที่ มีค่าจากผูสูงอายุผ่านทาง
้
อินเทอร์ เน็ ตอิ นเทอร์ เน็ ตกับการเรี ยนการสอน การนาอิ นเทอร์ เน็ ตมาใช้ในการเรี ยนการสอนมี หลาย
รู ป แบบ แต่ ใ นประเทศไทยยัง น าอิ น เทอร์ เ น็ ต มาใช้ ใ นการเรี ยนการสอนโดยตรงนั บ ว่ า ยัง น้ อ ยอยู่
สถาบันการศึกษาทั้งในระดับโรงเรี ยน มหาวิทยาลัย จะมีการใช้อินเทอร์ เน็ตในรู ปแบบของการใช้ไปรษณี ย ์
อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการติดต่อสื่ อสารระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยน และผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน ซึ่ งการเรี ยนการสอนโดย
้
ใช้เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต สามารถทาได้หลายรู ปแบบ
คุณค่ าของสื่ อการสอน
สื่ อการสอนสามารถใช้ประโยชน์ได้ท้ งผูเ้ รี ยนและผูสอนดังต่อไปนี้ (กิดานันท์ มลิทอง,2540)
ั
้
สื่ อกับผูเ้ รี ยน
 เป็ นสิ่ ง ที่ ช่ วยให้ก ารเรี ย นรู ้ อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ เพราะจะช่ วยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ดความเข้า ใจเนื้ อหา
บทเรี ยนที่ยงยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้น และสามารถช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดใน
ุ่
เรื่ องนั้นได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว
ั
 สื่ อจะช่ วยกระตุ นและสร้ างความสนใจให้กบผูเ้ รี ยน ทาให้เกิ ดความสนุ กสนานและไม่รู้สึกเบื่ อ
้
หน่ายการเรี ยน
 การใช้สื่อจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจตรงกัน และเกิดประสบการณ์ร่วมกันในวิชาที่เรี ยนนั้น
 ช่ วยให้ผูเ้ รี ยนมี ส่วนร่ วมในกิ จกรรมการเรี ยนการสอนมากขึ้ น ทาให้เกิ ดมนุ ษ ยสัมพันธ์ อนดี ใ น
ั
ระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันเองและกับผูสอนด้วย
้
 ช่วยสร้างเสริ มลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคิดสร้างสรรค์จาก
การใช้สื่อเหล่านั้น
 ช่วยแก้ปัญหาเรื่ องของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยการจัดให้มีการใช้สื่อในการศึกษารายบุคคล
สื่ อกับผูสอน
้
 การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ ต่างๆ ประกอบการเรี ยนการสอน เป็ นการช่ วยให้บรรยากาศในการสอน
น่ าสนใจยิ่งขึ้น ทาให้ผูสอนมีความสนุ กสนานในการสอนมากกว่าวิธีการที่เคยใช้การบรรยายแต่
้
เพียงอย่างเดียว และเป็ นการสร้างความเชื่อมันในตัวเองให้เพิ่มขึ้นด้วย
่
 สื่ อจะช่วยแบ่งเบาภาระของผูสอนในด้านการเตรี ยมเนื้อหา เพราะบางครั้งอาจให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเนื้ อหา
้
จากสื่ อได้เอง
 เป็ นการกระตุนให้ผูสอนตื่นตัวอยู่เสมอในการเตรี ยมและผลิ ตวัสดุ ใหม่ๆ เพื่อใช้เป็ นสื่ อการสอน
้
้
ตลอดจนคิดค้นเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้การเรี ยนรู ้น่าสนใจยิงขึ้น
่
อย่างไรก็ตามสื่ อการสอนจะมีคุณค่าก็ต่อเมื่อผูสอนได้นาไปใช้อย่างเหมาะสมและถูกวิธี ดังนั้น ก่อนที่
้
จะนาสื่ อแต่ละอย่า งไปใช้ ผูสอนจึ งควรจะได้ศึกษาถึ ง ลักษณะและคุ ณสมบัติของสื่ อการสอน ข้อดี และ
้
ข้อจากัดอันเกี่ยวเนื่องกับตัวสื่ อและการใช้สื่อแต่ละอย่าง ตลอดจนการผลิตและใช้สื่อให้เหมาะสมกับสภาพ
การเรี ยนการสอนด้วย ทั้งนี้เพื่อให้การจัดกิจกรรมการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ที่วาง
ไว้
หลักการเลือกสื่ อการสอน
การเลือกสื่ อการสอนเพื่อนามาใช้ประกอบการสอนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้น
เป็ นสิ่ งสาคัญยิ่ง โดยในการเลื อกสื่ อ ผูสอนจะต้องตั้งวัตถุ ประสงค์เชิ งพฤติกรรมในการเรี ยนให้แน่ นอน
้
เสี ยก่อน เพื่อใช้วตถุประสงค์น้ นเป็ นตัวชี้ นาในการเลือกสื่ อการสอนที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยงมีหลักการอื่น
ั
ั
ั
ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา คือ
ั
 สื่ อนั้นต้องสัมพันธ์กบเนื้อหาบทเรี ยนและจุดมุ่งหมายที่จะสอน
 เลือกสื่ อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็ นสื่ อที่ส่งผลต่อการเรี ยนรู ้มากที่สุด
 เป็ นสื่ อที่เหมาะกับวัย ระดับชั้น ความรู ้ และประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน
 สื่ อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ยงยากซับซ้อนเกินไป
ุ่
 เป็ นสื่ อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็ นจริ ง
 มีราคาไม่แพงเกินไป หรื อถ้าจะผลิตควรคุมกับเวลาและการลงทุน
้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เสนอหัวข้อโครงงาน
2.ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน
3.จัดเรี ยงข้อมูลในโปรแกรม Microsoft word
4.จัดทาและออกแบบในโปรแกรม Power point
5.แก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลให้สมบูรณ์
6.รายงานผลการดาเนินงาน
7.จัดทาเอกสาร
เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้
ี่
-คอมพิวเตอร์
-หนังสื อชีววิทยา
งบประมาณ
-รู ปเล่มโครงงาน 30 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่

ขั้นตอน

1

คิดหัวข้อโครงงาน

2

ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล

3

จัดทาโครงร่ างงาน

4

ปฏิบติการสร้างโครงงาน
ั

5

ปรับปรุ งทดสอบ

6

การทาเอกสารรายงาน

7

ประเมินผลงาน

8

นาเสนอโครงงาน

สั ปดาห์ ที่
3

4

5

6

7

8

9

10

ผู้รับผิดชอบ

1

2

11

12

13

14



ธัญญลักษณ์
  
ธัญญลักษณ์
  
ภัทรวีร์
   
ภัทรวีร์

ธัญญลักษณ์

ภัทรวีร์

ภัทรวีร์
   ธัญญลักษณ์

ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
่
1.เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนที่ให้ความรู ้ที่ถูกต้องแก่ผที่สนใจ
ู้
2.เป็ นการส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนอีกแนวทางหนึ่ง
3.เป็ นแนวทางสาหรับบุคคลที่สนใจในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรื อนาไปพัฒนาต่อ
สถานทีดาเนินการ
่
-บ้านของผูจดทา
้ั
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่เกียวข้ อง
่
-กลุ่มการระการเรี ยนรู ้วชาวิทยาศาสตร์
ิ

15

16

17
แหล่งอ้างอิง
หนังสื อ Biology for high school students
http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-4/introduction_to_teaching/01.html
http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/3056-00/
http://mimmira.wordpress.com

More Related Content

What's hot

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนDp' Warissara
 
โครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนโครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนmsntomon2
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์Aon Narinchoti
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChalita Vitamilkz
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กPhanudet Senounjan
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2Budsaya Chairat
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธAon Narinchoti
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social mediaKrit Chanthraphrom
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet educationcodexstudio
 
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพโครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพPraw Vanitt
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 

What's hot (18)

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)
 
โครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียนโครงงานคอมอาเซียน
โครงงานคอมอาเซียน
 
โครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยนโครงงานคอมอาเซ ยน
โครงงานคอมอาเซ ยน
 
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
รายละเอียดชุมนุมคณิตศาสตร์ออนไลน์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2คอมพิวเตอร์2
คอมพิวเตอร์2
 
ส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธส่งตีพิมพ์ มสธ
ส่งตีพิมพ์ มสธ
 
Model of learning by social media
Model of learning by social mediaModel of learning by social media
Model of learning by social media
 
Benefits of the internet education
Benefits of the internet educationBenefits of the internet education
Benefits of the internet education
 
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพโครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
โครงงานคอม เรื่องเยลลี่เพื่อสุขภาพ
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
โครงงาน Blogger
โครงงาน Bloggerโครงงาน Blogger
โครงงาน Blogger
 
2560 project no.03,28
2560 project  no.03,282560 project  no.03,28
2560 project no.03,28
 

Viewers also liked

Viewers also liked (18)

Eng52
Eng52Eng52
Eng52
 
ใบงานที่ 13
ใบงานที่  13ใบงานที่  13
ใบงานที่ 13
 
القرءان الكريم بخط النسخ أبيض وأسود
القرءان الكريم بخط النسخ أبيض وأسودالقرءان الكريم بخط النسخ أبيض وأسود
القرءان الكريم بخط النسخ أبيض وأسود
 
Lebih dekat dengan fdik
Lebih dekat dengan fdikLebih dekat dengan fdik
Lebih dekat dengan fdik
 
eras geologicas
eras geologicaseras geologicas
eras geologicas
 
بيئتنا الإيجابية - شعر
بيئتنا الإيجابية - شعربيئتنا الإيجابية - شعر
بيئتنا الإيجابية - شعر
 
Qbt
QbtQbt
Qbt
 
مير ستى سلفةى 2-54 هةيكةل
مير ستى   سلفةى 2-54 هةيكةلمير ستى   سلفةى 2-54 هةيكةل
مير ستى سلفةى 2-54 هةيكةل
 
O net-m6-51
O net-m6-51O net-m6-51
O net-m6-51
 
яновська
яновськаяновська
яновська
 
สังคม 50
สังคม 50สังคม 50
สังคม 50
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
Conjuction tugas 1
Conjuction tugas 1Conjuction tugas 1
Conjuction tugas 1
 
أولى إتصالات
أولى إتصالاتأولى إتصالات
أولى إتصالات
 
Staying Busy
Staying BusyStaying Busy
Staying Busy
 
G
GG
G
 
Asyik
AsyikAsyik
Asyik
 
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่อง ระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Similar to โครงงานคอม1

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยกฤตพร สุดสงวน
 
โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602Scott Tape
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5kruwaeo
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmediatayval
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59Khemjira_P
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้ItpresentYaowaluck Promdee
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Turdsak Najumpa
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์JeeraJaree Srithai
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์Sirikanya Pota
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 rohanlathel
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8PluemSupichaya
 

Similar to โครงงานคอม1 (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทยการอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
การอนุรักษ์สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
A01 (2)
A01 (2)A01 (2)
A01 (2)
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmedia
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59โครงร่างงานวิจัย 59
โครงร่างงานวิจัย 59
 
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresentงานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
งานนำเสนอแนวคิดใช้Itpresent
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
บทความวิจัยของจีราศรีไทย ม.ราชภัฏสุรินทร์
 
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 2-8 : โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8ใบงานที่ 2 - 8
ใบงานที่ 2 - 8
 

More from Thanyalux Kanthong

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Thanyalux Kanthong
 
เฉลยไทยปี 53
เฉลยไทยปี 53เฉลยไทยปี 53
เฉลยไทยปี 53Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1Thanyalux Kanthong
 

More from Thanyalux Kanthong (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลยไทยปี 53
เฉลยไทยปี 53เฉลยไทยปี 53
เฉลยไทยปี 53
 
O net-m6-ไทย53
O net-m6-ไทย53O net-m6-ไทย53
O net-m6-ไทย53
 
เฉลยปี 53
เฉลยปี 53เฉลยปี 53
เฉลยปี 53
 
O net-m6-53
O net-m6-53O net-m6-53
O net-m6-53
 
เฉลยปี 52
เฉลยปี 52เฉลยปี 52
เฉลยปี 52
 
O net-m6-52
O net-m6-52O net-m6-52
O net-m6-52
 
เฉลยปี 51
เฉลยปี 51เฉลยปี 51
เฉลยปี 51
 
เฉลยปี 50
เฉลยปี 50เฉลยปี 50
เฉลยปี 50
 
O net-m6-50
O net-m6-50O net-m6-50
O net-m6-50
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่  14ใบงานที่  14
ใบงานที่ 14
 
ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12ใบงานที่ 12
ใบงานที่ 12
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 

โครงงานคอม1

  • 1. แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6 ปี การศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน สื่อการเรียนการสอนการรักษาดุลยภาพของร่ างกายมนุษย์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวธัญญลักษณ์ 2.นางสาวภัทรวีร์ กันทอง เยาวรัตน์ เลขที่ 3 เลขที่ 36 ชั้น ม.6 ห้ อง 2 ชั้น ม.6 ห้ อง 2 ชื่ออาจารย์ ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขือนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิ กในกลุ่ม 1.นางสาวธัญญลักษณ์ 2.นางสาวภัทรวีร์ กันทอง เยาวรัตน์ เลขที่ 3 เลขที่ 36 ชื่อโครงงาน สื่ อการเรี ยนการสอนการรักษาดุลยภาพของร่ างกายมนุษย์ ชื่อโครงงาน Human homeostasis for learning ชื่ อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวธัญญลักษณ์ กันทอง เลขที่ 3 2.นางสาวภัทรวีร์ เยาวรัตน์ เลขที่ 36 ชื่อทีปรึกษา คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ่ ระยะเวลาดาเนินงาน เดือนพฤศจิกายน-เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2557 ทีมาและความสาคัญของโครงงาน ่ ในปั จจุบนอินเทอร์ เน็ตมีบทบาทและมีความสาคัญต่อชี วิตประจาวันของคนเรามากขึ้น เนื่ องจากทา ั ให้เราทันเหตุการณ์อยูเ่ สมอ ข้อมูลและสารสนเทศที่เสนอในอินเทอร์ เน็ตมีมากมายหลายรู ปแบบเพื่อสนอง ความสนใจและความต้องการของผูใช้ทุกกลุ่ม อินเทอร์ เน็ตจึงเป็ นแหล่งสารสนเทศสาคัญสาหรับทุกคน ้ เพราะสามารถค้นหาสิ่ งที่ตนสนใจได้ในทันทีโดยไม่ตองเสี ยเวลาเดินทางไปค้นคว้าในห้องสมุด หรื อแม้แต่ ้ การรั บ รู ้ ข่ า วสารทัวโลกก็ ส ามารถอ่ า นได้ใ นอิ นเทอร์ เน็ ตจากเว็บ ไซต์ต่า ง ๆ ของหนัง สื อ พิ ม พ์ ดัง นั้น ่ ่ อินเทอร์ เน็ตจึงมีความสาคัญกับวิถีชีวิตของคนเราในปั จจุบนเป็ นอย่างมากในทุก ๆ ด้าน ไม่วาจะเป็ น ด้าน ั ความบันเทิงเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจรวมถึงสันทนาการ ด้านธุ รกิจเพื่อซื้ อขายสิ นค้า ทาธุ รกรรมผ่านระบบ เครื อข่าย และด้านการศึกษาเพื่อใช้เป็ นแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลที่สนใจและกาลังศึกษาอยู่ ั การศึกษาในปั จจุบนได้มีการนาเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้กบสื่ อการเรี ยนการสอนในห้องเพื่อทาให้ ั ครู ผูสอนสะดวกในการเตรี ยมการเรี ยนการสอนรวมทั้งทาให้ผูเ้ รี ยนรู ้ สึกมี ความสนใจและมีความเข้าใจ ้ เนื้อหามากขึ้น นอกจากนี้ยงได้มีการเผยแพร่ สื่อการเรี ยนการสอนในอินเทอร์ เน็ตมากมายทาให้สื่อการเรี ยน ั การสอนมี กว้างขวางยิ่งขึ้ น อิ นเทอร์ เน็ ตจึ งท าหน้าที่ เปรี ย บเสมื อนเป็ นห้องสมุ ดขนาดใหญ่ให้นักเรี ย น นักศึกษาได้ทาการศึกษาค้นคว้าด้วยตัวเองรวมถึงได้มีการทบทวนเนื้ อหาที่ไม่เข้าใจในห้องเรี ยน ดังนั้นสื่ อ การเรี ยนการสอนบนอินเทอร์ เน็ตจึงนับว่ามีความสาคัญไม่นอยสาหรับการศึกษาเพราะมีประโยชน์ท้ งต่อ ้ ั ครู ผสอนและนักเรี ยนนักศึกษา ู้
  • 3. วัตถุประสงค์ - เพือเป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนบนอินเทอร์ เน็ต ่ - เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพการเรี ยนการสอนบนอินเทอร์ เน็ต ขอบเขตโครงงาน  ส่ วนของผูจดทา ้ั -สามารถสร้างบทเรี ยนใหม่ได้ -สามารถแก้ไขเนื้อหา บทเรี ยนที่ได้สร้างไว้แล้วได้  ส่ วนของผูที่ตองการศึกษา ้ ้ -สามารถเข้าดูเนื้อหา -สามารถแสดงความคิดเห็น ติชมได้บนBlogของผูจดทา ้ั หลักการและทฤษฎี ประโยชน์ ของอินเทอร์ เน็ตทางการศึกษา Barron and Ivers (1996, pp. 4-8) ได้กล่าวถึงประโยชน์ของการใช้งานเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตทางการศึกษา ดังนี้ 1. ประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตที่มีต่อผูเ้ รี ยน อินเทอร์ เน็ตทาให้ผเู ้ รี ยนมีโอกาสได้รับความรู ้ใหม่ ได้เรี ยนรู ้ วฒนธรรมที่หลากหลาย เรี ยนรู ้ประสบการณ์ จากสภาพความเป็ นจริ งของโลกปั จจุบน เกิ ดทักษะ ั ั ความคิดขั้นสู งและเป็ นการช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรี ยนรวมถึงเป็ นการฝึ กให้เกิดทักษะการเขียนด้วยเหตุผล สนับสนุนดังต่อไปนี้ 1.1 การศึ ก ษาวัฒนธรรมที่ หลากหลาย ในสังคมผูส อนจะเน้นให้ผูเ้ รี ย นเข้าใจและยอมรั บวัฒ นธรรมที่ ้ แตกต่างจากตนเอง การสอนให้ผูเ้ รี ย นยึดแต่วฒนธรรมแบบเดิ ม จะเป็ นการเตรี ยมผูเ้ รี ยนให้เป็ นคนที่ ไ ม่ ั สามารถท างานร่ วมเป็ นกลุ่ ม ได้ ประโยชน์ จากการใช้อิ นเทอร์ เน็ ต คื อ การส่ ง เสริ ม ให้ผูเ้ รี ย นมี โอกาส ั แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและการมีปฏิสัมพันธ์กบผูเ้ รี ยนคนอื่นที่มีภูมิหลังต่างจากตนเอง การสื่ อสารทางไกล ทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจและความเคารพในวัฒนธรรมต่างแดนมากขึ้น 1.2 เรี ย นรู ้ ป ระสบการณ์ จากสภาพที่ เ ป็ นจริ ง การเรี ย นในโรงเรี ย นจะได้ป ระโยชน์ อย่า งมากเมื่ อได้จ ัด ั กิจกรรมให้สัมพันธ์กบแหล่งข้อมูล อินเทอร์ เน็ตทาให้ผเู ้ รี ยนเข้าถึงข้อมูลที่ทนสมัย เมื่อเปรี ยบเทียบกับการ ั เรี ยนแบบเดิม แล้วพบว่าการสื่ อสารทางไกลเปิ ดโลกทัศน์ของผูเ้ รี ยนให้กว้างขึ้น
  • 4. 1.3 การเพิ่ ม ทัก ษะการคิ ดอย่า งมี ระบบ ผูเ้ รี ย นที่ ใ ช้ก ารสื่ อสารทางไกลจะมี ทก ษะการคิ ดแบบสื บ สวน ั สอบสวนและทักษะการคิดอย่างมีระบบ เพราะลักษณะของการใช้อินเทอร์ เน็ตที่ผเู ้ รี ยนต้องมีทกษะการคิด ั วิเคราะห์ในการเลือกรับข้อมูลและได้สื่อสารกับผูเ้ ชี่ยวชาญ 1.4 สร้ า งแรงจู ง ใจให้ มี ท ัก ษะในการเขี ย น ผู้เ รี ย นที่ มี ป ระสบการณ์ ก ารใช้ก าร-สื่ อ สารทางไกลจะมี ความสามารถในการเขียนเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่ าวยังช่ วยให้ผูเ้ รี ยนบรรลุ วตถุ ประสงค์ในการ ั ั เขียนและเพิ่มแรงจูงใจให้มีการเขียนและแลกเปลี่ยนความรู ้และประสบการณ์กบเพื่อนผูร่วมอภิปราย ้ 2. ประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตที่มีต่อผูสอน เมื่อมีการใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้ผสอนสามารถเข้าถึง ้ ู้ แหล่งข้อมูลทางการศึกษา การวิจย การวางแผนการสอนและแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นกับผูเ้ ชี่ ยวชาญที่เชื่ อมต่อ ั เข้าสู่ ระบบเช่ นกัน คุ ณค่าของการเปิ ดรับข้อมูลทาให้ได้รับรู ้ กลยุทธ์ การสอนที่หลากหลาย สามารถนามา ปรับปรุ งประสิ ทธิภาพของการเรี ยนการสอนที่เป็ นประโยชน์ท้ งผูเ้ รี ยนและผูสอน ั ้ 2.1 การสอนแบบร่ วมมือ (collaborative) ทาให้ผสอนมีความสามารถเพิ่มขึ้นเมื่อใช้วิธีการสอนแบบร่ วมมือ ู้ ผ่า นเครื อ ข่ า ย เช่ น การออกแบบให้ มี ส ภาพและการประชุ ม ระหว่ า งผูส อนเพื่ อ อภิ ป รายประเด็ น อัน ้ หลากหลาย เช่น การบริ หารโรงเรี ยนการประเมิน แนวทางการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ เป็ นต้น อินเทอร์ เน็ตยัง 2.2 กลยุทธ์การสอนที่หลากหลาย เมื่อมีการสื่ อสารทางไกลทาให้การสอนเปลี่ยนทิศทาง การใช้อินเทอร์ เน็ต เป็ นการช่ วยเพิ่ มเวลาที่ ผูเ้ รี ยน ท าให้ติดต่อสื่ อสารกับ ผูส อนเป็ นรายบุ คคลมากขึ้ น ลดเวลาในการจดค า ้ บรรยายในชั้นเรี ยนและทาให้ผเู ้ รี ยนมีเวลาทารายงานมากขึ้น 2.3 พัฒนาหลักสู ตร เมื่ อการสื่ อสารทางไกลด้วยอินเทอร์ เน็ตมี อิทธิ พลกับหลักสู ตร ทาให้ประเด็นในการ เรี ยนการสอนสอดคล้องกับสภาพของสังคมมากขึ้น ยกระดับของทักษะ ความคิดในการวิเคราะห์ ข้อมูลที่ได้ จากการเรี ยนด้วยการใช้สื่อผ่านเครื อข่ายอินเทอร์ เน็ตแตกต่างจากสิ่ งที่สอนในห้องเรี ยน เพราะ เป็ นวิธีการที่ นาไปสู่ โ ครงการที่ เ ขี ย นจากความร่ ว มมื อของทุ ก ฝ่ าย อิ น เทอร์ เน็ ตท าให้ไ ด้ข ้อสรุ ป จากหน่ ว ยงาน ได้ แลกเปลี่ยนข้อมูลกับผูเ้ ชี่ยวชาญ ซึ่ งทาให้การเรี ยนการสอนมีประสิ ทธิ ภาพนอกจากการสอนแบบเดิมผูสอน ้ และผูเ้ รี ยนสามารถใช้ขอมูลจากสารานุกรม หนังสื อ เอกสารงานวิจย และโปรแกรมซอฟต์แวร์ เพื่อการศึกษา ้ ั จากอินเทอร์เน็ต 3. ประโยชน์ ที่ มี ต่อ ผูเ้ ชี่ ย วชาญการผลิ ตสื่ อ ท าให้ ไ ด้พ บกับ แหล่ ง ข้อมู ล ขนาดใหญ่ ที่ ดี ก ว่า ประหยัดเวลากว่าและพบผลงานที่แตกต่างจากในท้องถิ่นของตนเอง
  • 5. 3.1 แหล่งข้อมูลความรู ้ การใช้อินเทอร์ เน็ ตทาให้ได้พบกับแหล่ งข้อมูล เช่ น นิ ตยสาร วารสาร ฐานข้อมูล ผลการวิจย การสารวจความคิดเห็น ภาพกราฟิ ก เสี ยง ภาพยนตร์ และซอฟต์แวร์ เหมือนกับย่อโลกทั้งใบมา ั ไว้ในจอคอมพิวเตอร์ 3.2 ข้อมูลที่ทนสมัย ข้อมูลในอินเทอร์ เน็ตเป็ นข้อมูล ที่ ทนสมัยเหมาะกับการศึกษา ความสามารถในการ ั ั ติดต่อกับผูเ้ ชี่ ยวชาญทาให้ได้รับข้อมูลแบบปฐมภูมิได้คาตอบครบประเด็นกับปั ญหาที่ถาม และการได้รับ ทราบความคิดเห็นจากแหล่งอื่นอีกทั้งยังมีการเชื่อมโยงเอกสารไปยังห้องสมุดหรื อแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 3.3 เครื่ องมือสอนให้ผเู้ รี ยนมีทกษะ อินเทอร์เน็ตเป็ นเครื่ องมือที่ทาให้ผเู้ รี ยนมีทกษะในการศึกษาวิจย ผูเ้ รี ยน ั ั ั สามารถตั้งสมมติฐาน วิเคราะห์และทารายงานได้โดยไม่ตองเสี ยค่าใช้จ่ายสู ง เพราะมีระบบและเครื่ องมือใน ้ การสื บค้นมากมายและทาให้ผลที่จดทาขึ้นมีแหล่งข้อมูลอ้างอิงจานวนมาก ั 3.4 การพบปะกับสมาชิ ก พบว่าเหตุผลอันดับหนึ่ งสาหรับผูเ้ ชี่ ยวชาญด้านการสื่ อสารต่อการใช้อินเทอร์ เน็ต คื อ ความสะดวก ประหยัดเวลา ความเป็ นหมวดหมู่ สามารถสื่ อ สารกับ สมาชิ ก อื่ น ๆ ทัว โลกโดยเสี ย ่ ่ ค่าใช้จ่ายที่ไม่สูง และช่วยลดความรู ้สึกว่าทางานอยูคนเดียวในโรงเรี ยน 4. ประโยชน์ที่มีต่อเจ้าหน้าที่ ในระดับของเจ้าหน้าที่ผปฏิบติงาน การใช้อินเทอร์ เน็ตช่วยลดความ ู้ ั ซับซ้อน การจัดเตรี ยมและเอกสาร เป็ นวิธีที่มีประสิ ทธิ ภาพและประสิ ทธิ ผลอย่างยิ่งในการรับและปรับปรุ ง ข้อมูลให้ทนสมัย โดยเฉพาะอย่างยิงเมื่อต้องรับและส่ งข้อมูลภายนอกองค์กร ั ่ 4.1 การจัดการเอกสาร การใช้อินเทอร์เน็ตเพื่อการสื่ อสารเป็ นการประหยัดงบประมาณ ลดการใช้กระดาษ มี ความรวดเร็ วมีประสิ ทธิ ผลและเป็ นการบันทึกข้อมูล รวมถึ งยังช่วยลดความผิดพลาดในการสื่ อสารผ่านสื่ อ อิเล็กทรอนิกส์อีกด้วย 4.2 การสื่ อสารภายนอกองค์กร การใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้เจ้าหน้าที่ได้รับข้อมูลที่ทนสมัยทันทีจากที่ประชุ ม ั ทางการศึกษา การวิจย และจากผูสอน การติดต่อกับธุ รกิจเอกชนหรื อหน่วยงานอื่น ๆ ก็ตองใช้อินเทอร์ เน็ต ั ้ ้ 5. ประโยชน์ของอินเทอร์ เน็ตที่ มีต่อการสื่ อสาร การใช้อินเทอร์ เน็ตเป็ นแนวทางที่ดีที่ทาให้การ สื่ อสารระหว่า งโรงเรี ย น กองทุ นสนับ สนุ นการศึ ก ษา โครงการเพื่ อการศึ ก ษา องค์ก รพิ เศษอื่ น ๆ และ อาสาสมัคร ในการเชื่ อมโยงไปถึงผูนาธุ รกิจในท้องถิ่น ผูเ้ ชี่ ยวชาญและเจ้าหน้าที่ผูปฏิบติงานที่สามารถเข้า ้ ้ ั ใช้อินเทอร์เน็ตได้
  • 6. 5.1 การสื่ อสารกับโรงเรี ยน การใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้ผปกครองมีโอกาสเป็ นผูช่วยกาหนดการบ้านของบุตร ู้ ้ หลาน และยังได้ร่วมประชุมกับครู หรื อผูปกครองคนอื่นด้วย ้ 5.2 กิจกรรมการสื่ อสารของผูเ้ รี ยน การใช้อินเทอร์ เน็ตทาให้ผสูงอายุและผูที่ไม่มีโทรศัพท์ได้แลกเปลี่ ยน ู้ ้ ั ประสบการณ์ กบผูเ้ รี ยน ผูเ้ รี ยนจานวนมากได้รับคาแนะนา คาอบรมสั่งสอนที่ มีค่าจากผูสูงอายุผ่านทาง ้ อินเทอร์ เน็ ตอิ นเทอร์ เน็ ตกับการเรี ยนการสอน การนาอิ นเทอร์ เน็ ตมาใช้ในการเรี ยนการสอนมี หลาย รู ป แบบ แต่ ใ นประเทศไทยยัง น าอิ น เทอร์ เ น็ ต มาใช้ ใ นการเรี ยนการสอนโดยตรงนั บ ว่ า ยัง น้ อ ยอยู่ สถาบันการศึกษาทั้งในระดับโรงเรี ยน มหาวิทยาลัย จะมีการใช้อินเทอร์ เน็ตในรู ปแบบของการใช้ไปรษณี ย ์ อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อการติดต่อสื่ อสารระหว่างผูสอนกับผูเ้ รี ยน และผูเ้ รี ยนกับผูเ้ รี ยน ซึ่ งการเรี ยนการสอนโดย ้ ใช้เครื อข่ายอินเทอร์ เน็ต สามารถทาได้หลายรู ปแบบ คุณค่ าของสื่ อการสอน สื่ อการสอนสามารถใช้ประโยชน์ได้ท้ งผูเ้ รี ยนและผูสอนดังต่อไปนี้ (กิดานันท์ มลิทอง,2540) ั ้ สื่ อกับผูเ้ รี ยน  เป็ นสิ่ ง ที่ ช่ วยให้ก ารเรี ย นรู ้ อย่า งมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ เพราะจะช่ วยให้ผูเ้ รี ย นเกิ ดความเข้า ใจเนื้ อหา บทเรี ยนที่ยงยากซับซ้อนได้ง่ายขึ้นในระยะเวลาอันสั้น และสามารถช่วยให้เกิดความคิดรวบยอดใน ุ่ เรื่ องนั้นได้อย่างถูกต้องและรวดเร็ ว ั  สื่ อจะช่ วยกระตุ นและสร้ างความสนใจให้กบผูเ้ รี ยน ทาให้เกิ ดความสนุ กสนานและไม่รู้สึกเบื่ อ ้ หน่ายการเรี ยน  การใช้สื่อจะทาให้ผเู ้ รี ยนมีความเข้าใจตรงกัน และเกิดประสบการณ์ร่วมกันในวิชาที่เรี ยนนั้น  ช่ วยให้ผูเ้ รี ยนมี ส่วนร่ วมในกิ จกรรมการเรี ยนการสอนมากขึ้ น ทาให้เกิ ดมนุ ษ ยสัมพันธ์ อนดี ใ น ั ระหว่างผูเ้ รี ยนด้วยกันเองและกับผูสอนด้วย ้  ช่วยสร้างเสริ มลักษณะที่ดีในการศึกษาค้นคว้าหาความรู ้ ช่วยให้ผเู ้ รี ยนเกิดความคิดสร้างสรรค์จาก การใช้สื่อเหล่านั้น  ช่วยแก้ปัญหาเรื่ องของความแตกต่างระหว่างบุคคลโดยการจัดให้มีการใช้สื่อในการศึกษารายบุคคล สื่ อกับผูสอน ้  การใช้สื่อวัสดุ อุปกรณ์ ต่างๆ ประกอบการเรี ยนการสอน เป็ นการช่ วยให้บรรยากาศในการสอน น่ าสนใจยิ่งขึ้น ทาให้ผูสอนมีความสนุ กสนานในการสอนมากกว่าวิธีการที่เคยใช้การบรรยายแต่ ้ เพียงอย่างเดียว และเป็ นการสร้างความเชื่อมันในตัวเองให้เพิ่มขึ้นด้วย ่  สื่ อจะช่วยแบ่งเบาภาระของผูสอนในด้านการเตรี ยมเนื้อหา เพราะบางครั้งอาจให้ผเู ้ รี ยนศึกษาเนื้ อหา ้ จากสื่ อได้เอง
  • 7.  เป็ นการกระตุนให้ผูสอนตื่นตัวอยู่เสมอในการเตรี ยมและผลิ ตวัสดุ ใหม่ๆ เพื่อใช้เป็ นสื่ อการสอน ้ ้ ตลอดจนคิดค้นเทคนิควิธีการต่างๆ เพื่อให้การเรี ยนรู ้น่าสนใจยิงขึ้น ่ อย่างไรก็ตามสื่ อการสอนจะมีคุณค่าก็ต่อเมื่อผูสอนได้นาไปใช้อย่างเหมาะสมและถูกวิธี ดังนั้น ก่อนที่ ้ จะนาสื่ อแต่ละอย่า งไปใช้ ผูสอนจึ งควรจะได้ศึกษาถึ ง ลักษณะและคุ ณสมบัติของสื่ อการสอน ข้อดี และ ้ ข้อจากัดอันเกี่ยวเนื่องกับตัวสื่ อและการใช้สื่อแต่ละอย่าง ตลอดจนการผลิตและใช้สื่อให้เหมาะสมกับสภาพ การเรี ยนการสอนด้วย ทั้งนี้เพื่อให้การจัดกิจกรรมการสอนบรรลุผลตามจุดมุ่งหมาย และวัตถุประสงค์ที่วาง ไว้ หลักการเลือกสื่ อการสอน การเลือกสื่ อการสอนเพื่อนามาใช้ประกอบการสอนเพื่อให้ผเู ้ รี ยนเกิดการเรี ยนรู ้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพนั้น เป็ นสิ่ งสาคัญยิ่ง โดยในการเลื อกสื่ อ ผูสอนจะต้องตั้งวัตถุ ประสงค์เชิ งพฤติกรรมในการเรี ยนให้แน่ นอน ้ เสี ยก่อน เพื่อใช้วตถุประสงค์น้ นเป็ นตัวชี้ นาในการเลือกสื่ อการสอนที่เหมาะสม นอกจากนี้ ยงมีหลักการอื่น ั ั ั ๆ เพื่อประกอบการพิจารณา คือ ั  สื่ อนั้นต้องสัมพันธ์กบเนื้อหาบทเรี ยนและจุดมุ่งหมายที่จะสอน  เลือกสื่ อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็ นสื่ อที่ส่งผลต่อการเรี ยนรู ้มากที่สุด  เป็ นสื่ อที่เหมาะกับวัย ระดับชั้น ความรู ้ และประสบการณ์ของผูเ้ รี ยน  สื่ อนั้นควรสะดวกในการใช้ วิธีใช้ไม่ยงยากซับซ้อนเกินไป ุ่  เป็ นสื่ อที่มีคุณภาพเทคนิคการผลิตที่ดี มีความชัดเจนเป็ นจริ ง  มีราคาไม่แพงเกินไป หรื อถ้าจะผลิตควรคุมกับเวลาและการลงทุน ้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เสนอหัวข้อโครงงาน 2.ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวกับหัวข้อโครงงาน 3.จัดเรี ยงข้อมูลในโปรแกรม Microsoft word 4.จัดทาและออกแบบในโปรแกรม Power point 5.แก้ไขและเพิ่มเติมข้อมูลให้สมบูรณ์ 6.รายงานผลการดาเนินงาน 7.จัดทาเอกสาร เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้ ี่
  • 8. -คอมพิวเตอร์ -หนังสื อชีววิทยา งบประมาณ -รู ปเล่มโครงงาน 30 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่ างงาน 4 ปฏิบติการสร้างโครงงาน ั 5 ปรับปรุ งทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน สั ปดาห์ ที่ 3 4 5 6 7 8 9 10 ผู้รับผิดชอบ 1 2 11 12 13 14  ธัญญลักษณ์    ธัญญลักษณ์    ภัทรวีร์     ภัทรวีร์  ธัญญลักษณ์  ภัทรวีร์  ภัทรวีร์    ธัญญลักษณ์ ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ 1.เป็ นสื่ อการเรี ยนการสอนที่ให้ความรู ้ที่ถูกต้องแก่ผที่สนใจ ู้ 2.เป็ นการส่ งเสริ มการเรี ยนการสอนอีกแนวทางหนึ่ง 3.เป็ นแนวทางสาหรับบุคคลที่สนใจในการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมหรื อนาไปพัฒนาต่อ สถานทีดาเนินการ ่ -บ้านของผูจดทา ้ั กลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่เกียวข้ อง ่ -กลุ่มการระการเรี ยนรู ้วชาวิทยาศาสตร์ ิ 15 16 17
  • 9. แหล่งอ้างอิง หนังสื อ Biology for high school students http://www.baanjomyut.com/library_2/extension-4/introduction_to_teaching/01.html http://www.trueplookpanya.com/new/cms_detail/knowledge/3056-00/ http://mimmira.wordpress.com