SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
ประเด็นการบรรยาย
 1. หน้าที่ของคณะกรรมการ
 2. อาณัตและวิธีการทางาน
 3. การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและการแก้ไขปัญหา
 4. องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
 5. ระยะเวลาของกรรมการบริหาร
 6. การทาหน้าที่ การดารงตาแหน่งของกรรมการบริหาร
 องค์กรพัฒนาเอกชน
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กรพัฒนา
เอกชน
 ความต้องการขององค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งเป็นองค์กรไม่แสวงหาผลกาไรและที่ไม่ใช่
ภาครัฐ (เอ็นจีโอ) คือการเพิ่มประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล หนึ่งในหลายวิธีจะนาไปสู่
การประสบความสาเร็จ คือการสร้างความเข้มแข็งของของพวกเขาทางการบริหาร
 พื้นฐานที่ดีของคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชน ด้านการบริหารจัดการที่จะนาพา
องค์กรไปสู่การประสบความสาเร็จขององค์กร คือ การทาความเข้าใจโครงสร้างองค์กร
ขององค์กรพัฒนาเอกชนและยังช่วยในการกระจายความรับผิดชอบระหว่างสมาชิกใน
ทีมภายในองค์กรเอ็นจีโอ เนื่องจาก เป้าหมายของการบริหารจัดการองค์กรและ
เป้าหมายต่อกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนไม่ใช่สิ่งเดียวกัน
หน้าที่ของคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชน
 หน้าที่ของคณะกรมการองค์กรพัฒนาเอกชนเป็นหน้าที่ที่ต้องตอบสนองต่อภาค
สาธารณะและตอบสนองต่อเป้าหมายความต้องการของผู้สนับสนุนเงินทุนหรือเพื่อให้
เกิดการการตัดสินใจของเจ้าของกองทุน ดังนั้น หน้าที่ของคณะกรรมการขององค์กร
พัฒนาเอกชนจึงได้แก่
 1. จัดทานโยบาย กลยุทธ์เพื่อการบริหารจัดการทั้งการบริหารจัดการองค์กร
และการบริหารจัดการตามเป้าหมายของกิจกรรมการพัฒนา
 2. กาหนดหลักเกณฑ์ ขอบเขตของกิจกรรมการปฏิบัติที่องค์กรพัฒนาเอกชน
จะต้องทา
 3. กาหนดแนวทางในการปฏิบัติงานและแผนการทางาน
 4. จัดทำแผนงบประมำณเพื่อใหเป็นไปตามการใช้จ่ายเงินตามแนวนโยบายและ
แผนงานตามเป้าประสงค์ในการพัฒนา
หน้าที่ของคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชน
 จาเป็นต้องกาหนดเกณฑ์สาหรับสมาชิก,
 การกาหนดแนวทางการตรวจสอบ
 การสร้างความเข้าใจ การสร้างความสนใจเพื่อดึงดูดอาสาสมัคร และ / หรือ กลุ่ม
สนับสนุนเข้ามาร่วมงาน
 สร้างกรอบการทางานสาหรับการตรวจสอบและประเมินการปฏิบัติงานเป็นระยะๆ
 กาหนดกรอบความรับผิดชอบ การตรวจสอบทางการเงินและกรอบของกิจกรรมเพื่อให้
การปฏิบัติงานโดยรวมขององค์กรพัฒนาเอกชนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลตามความต้องการจากผู้สนับสนุนด้านทุน
หน้าที่ของคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชน
 บทบาทสาคัญประการหนึ่งของทั้งกรรมการบริหารและสมาชิกขององค์กรพัฒนาเอกชนคือ
การเป็นตัวแทนขององค์กรที่มีต่อชุมชน ภาพของการเป็นตัวแทนขององค์กร มีหลายลักษณะ
ไม่ว่าจะเป็นลักษณะของการเป็นตัวแทนขององค์กรที่มีอยู่ในองค์กร หรือลักษณะของ
ความสัมพันธ์กับส่วนต่างๆภายนอกองค์กรได้แก่ การประสานความร่วมมือกับหน่วยงาน
ต่างๆ การสนับสนุนการทางานขององค์กรพัฒนาเอกชน อานาจในการจัดการทรัพยากรเป็น
ต้น
 ข้อผูกมัดประการแรกที่คณะกรรมการขององค์กรพัฒนาเอกชนที่ต้องทาคือ การพิจารณา
กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งเป็นประชาชนในชุมชน ซึ่งคณะกรรมการระดับสูงขององค์กรพัฒนาเอกชน
จาเป็นต้องนาเสนอกิจกรรมเพื่อสร้างความเข้าใจต่อชุมชนถึงกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
ในบางขณะ คณะกรรมการจาเป็นต้องพิจารณาถึงปัญหาที่แท้จริงของชุมชนและเปิดการรับฟัง
ความคิดเห็นของชุมชนเพื่อนามาใช้เป็นแนวทางในการตัดสินและเป็นแนวทางในการสร้าง
ทางเลือกเพื่อการแก้ไขปัญหาให้กับชุมชน
หน้าที่ของคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชน
 การกาหนดตาแหน่งหน้าที่ภายในคณะกรรมการบริหารจัดการขององค์กรพัฒนา
เอกชน ซึ่มีการกาหนดหี้การเลือกสรร ประธานหรือผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการ
ทางานและต้องจัดให้มีกลุ่มทางานเพื่อที่จะได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของ
องค์กรพฒนาเอกชน
อาณัติและวิธีการทางาน
 ในการกาหนดกรอบการทางาน ข้อบังคับ การปกครองดูแลสมาชิกในองค์กร การมอบหมาย
งาน คือ พันธะหน้าที่และข้อผูกมัดของคณะกรรมการขององค์กรพัฒนาเอกชน
 จากคาถามในประเด็นที่ว่า อะไรคืออาณัติและวิธีการทางานของคณะกรรมการองค์กรพัฒนา
เอกชน สามารถอธิบายได้ว่า
 คณะกรรมการขององค์กรพัฒนาเอกชนจาเป็นต้องเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อประชุมร่วมกัน ในเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับการดาเนินงานด้านต่าง ๆ การศึกษาเอกสารข้อมูล ข้อบังคับ การจัดสรรหน้าที่ความ
รับผิดชอบซึ่งจะทาให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการการตัดสินใจ
 คณะกรรมการขององค์กรพัฒนาเอกชน อาจคาดหวังที่จะนาการติดต่อสื่อสารเพื่อใช้ในการเป็น
กลไกในการประชุม เช่น การประชุมผ่านระบบออนไลน์ อุปกรณ์การประชุมที่จาเป็นในการ
นาเสนอ ได้แก่ ระบบเครื่องฉายไสด์ คอมพิวเตอร์เป็นต้น ระบบดังกล่าว สามารถทาให้เกิดระบบ
เครือข่ายในการทางานระหว่างคณะกรรมการร่วมกัน หรือระหว่างองค์กรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ
 คณะกรรมการขององค์กรพัฒนาเอกชน มีหน้าที่ในการเข้าไปมีส่วนร่วมกับตัวแทนของ
ชุมชนเพื่อการกาหนดกรอบการทางาน การปฏิบัติงาน การปะเมินผลของนโยบาย
แผนงานในทุกระดับขององค์กรพัฒนาเอกชน โดยจะมีการจัดสรรทรัพยากรให้แก่
ชุมชน อย่างเหมาะสมและเป็นธรรมภายใต้พื้นฐานประเด็นที่ทั้งชุมชนและองค์กร
พัฒนาเอกชนจะขับเคลื่อนไปด้วยกัน หน้าที่อีกประการหนึ่งคือ การศึกษาข้อมูลภายใน
ชุมชนเพื่อใช้มาเป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาและการแก้ไขปัญหาร่วมกับชุมชน การ
นาข้อมูลทีศึกษาวิเคราะห์เพื่อให้ได้ประเด็นสาคัญของปัญหา (Key Issues)
รวมทั้ง นาไปจัดทาเอกสารเพื่อใช้ในการบริหารจัดการการพัฒนา ทั้งนี้ คณะกรรมการ
ขององค์กรพัฒนาเอกชน จะทาหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษา และเป็นผู้รายงานปัญหาแก่
ผู้นาองค์กรชุมชน รวมทั้งทาหน้าที่ในการเป็นที่ปรึกษาให้แก่ สมาชิกองค์กรพัฒนา
เอกชน สมาชิกของชุมชนที่เข้าร่วมปฏิบัติงานในแผนงาน และโครงการที่องค์กรพัฒนา
เอกชนจัดทาขึ้น
อาณัติและวิธีการทางาน
การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและ
การแก้ไขปัญหา
 การพิจารณาเลือกสรรคณะกรรมการบริหารจัดการองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งจะทาหน้าที่
ในการในการวางเป้าหมายของการปฏิบัติงาน ทาหน้าที่ในการตัดสินใจและการ
วางแผนตลอดจน การวางแนวทางของทางเลือกที่ดีที่สุด เพื่อตอบสนองความต้องการ
ในการพัฒนาและการแก้ไขปัญหาของชุมชนได้อย่างเกิดประสิทธิผล ดังนั้น การ
พิจารณาคณะกรรมการดาเนินงานจึงต้องพิจารณาจากคุณสมบัติต่างๆ ดังนี้

การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและ
การแก้ไขปัญหา
 1. ผู้บริหารจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในขอบเขตของงานที่ทาและมีความเข้าใจถึง
ขอบเขตการทางานององค์กรภาครัฐที่ไม่หวังผลกาไรและองค์กรที่ไม่หวังผลกาไร
(NGP/NPO: Non Government Profit or Non Profit
Organization) และโอกาสขององค์กรที่เป็นไปได้ในปัจจุบัน
 2. ความสามารถที่จะนาไปสู่จุดแข็งของคณะกรรมการ ซึ่งก็คือความเข้าใจในประเด็น
ต่างๆ ทั้งที่เป็นประเด็นขององค์กรพัฒนาเอกชนและประเด็นที่เกี่ยวข้อง
 3. มีประสบการณ์และความรับผิดชอบในบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการการที่จะทา
ให้งานต่าง ๆ บรรลุผสาเร็จ
 4. มีประสบการณ์ในการนาเสนอประเด็นปัญหาที่มีความสัมพันธ์กับองค์กรพัฒนา
เอกชน ซึ่งเกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมาย พื้นที่และประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายที่
เป็นชุมชนภายใต้ความรับผิดชอบขององค์กรพัฒนาเอกชน
การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและ
การแก้ไขปัญหา
 การกาหนดระยะเวลาของการทางานขั้นต่าในการทางานกับชุมชนจาเป็นต้องมีการ
กาหนดระยะเวลาขั้นต่าที่แน่นอน โดยส่วนใหญ่ ระยะเวลาที่นามากาหนดคือ
ระยะเวลายาวนานหลายปี ทั้งนี้ เนื่องจากอุปกรณ์ต่าง ๆ ด้านสานักงานที่ใช้ในการ
ติดต่อสื่อสาร เทคโนโลยี ( Fax, Telephone E-Mail ect.) ที่ทันสมัยเป็น
สิ่งที่จาเป็นเนื่องจากจะทาให้เกิดความร่วมมือในการดาเนินงาน
การพิจารณาและการเลือกวิกฤติเพื่อการพัฒนาและ
การแก้ไขปัญหา
 ความสามารถของคณะกรรมการบริหารจัดการองค์กรพัฒนาเอกชนที่คาดหวังคือ
 ความสามารถในการเป็นตัวแทนและส่งเสริมความเป็นองค์กรสาธารณะขององค์กรพัฒนา
เอกชน สมาชิกคณะกรรมการที่เป็นตัวแทนของชุมชนองค์กรพัฒนาเอกชน
 ต้องมีความสามารถในการจัดการทีมงาน และความสามารถในการทางานเป็นทีม ซึ่ง
จะต้องคานึงถึงความละเอียดอ่อนด้านเพศ รวมทั้งต้อง
 มีทักษะการเจรจาทางการทูต การเจรจาเชิงกลยุทธ์รวมทั้ง
 ความสามารถในการคิดและการทางานเชิงกลยุทธ์
 คณะกรมการบริหารต้องมีความสามารถในการทางานซึ่งต้องใช้ภาษาต่างประเทศและ
ท้องถิ่น และยังมีการเชื่อมโยงกับองค์กรที่สามารถอานวยความสะดวกในการสื่อสารและ
การประสานงานและให้การให้คาปรึกษาและการสนับสนุน
องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
 คณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชนมักจะมีจานวน 10 -15 คน ผู้บริหารองค์กรสูงสุด
อาจเรียกว่า ผู้อานวยการ ประธานองค์กร หรือหัวหน้าองค์กร โดยมีกรรมการด้าน
ต่างๆ เช่น เหรัญญิกทาหน้าที่การเงินและการบัญชี และตาแหน่งอื่น ๆ ได้แก่
ประชาสัมพันธ์ ฝ่ายกิจกรรมโครงการ และฝ่ายอื่น ๆ ซึ่ง กาหนดให้งานที่เฉพาะเจาะจง
/ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับองค์กรพัฒนาเอกชนของพื้นที่โครงการ ตาแหน่งสมาชิกซึ่งเป็น
กรรมการมีหน้าที่ต่าง ๆ ในพื้นที่ ทั้งนี้อาจจะมีการหมุนเวียนการทาหน้าที่และ/ หรือมี
การทดแทนหากมีตาแน่งใดตาแหน่งหนึ่งว่างลง

องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
 ตารางที่ 2.1 คณะกรรมกำรองค์กรพัฒนำเอกชน (คณะกรมการองค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์)


รายชื่อคณะกรรมการกพอ.ระดับชาติ
วาระการทางาน 4 ปี กุมภาพันธ์ 2553 – กุมภาพันธ์ 2556
 1. คุณสุภัทรา นาคะผิว มูลนิธิศูนย์คุ้มครองสิทธิด้านเอดส์ ประธาน
 2. คุณสุภาพร ถิ่นวัฒนากูล มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา(ภาคเหนือ) กรรมการ
 3. คุณลาดวน มหาวัน มูลนิธิพัฒนาเครือข่ายเอดส์ ภาคเหนือ กรรมการ
 4. คุณสุรางค์ จันทร์แย้ม มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ(ภาคกลาง) เหรัญญิก
 5. คุณนิมิตร์ เทียนอุดม มูลนิธิเข้าถึงเอดส์(ภาคกลาง) กรรมการ
 6. คุณมีนา ดวงราษี มูลนิธิเพื่อสุขภาพชุมชน(ภาคอีสาน) กรรมการ
 7. คุณฤทัยรัตน์ มณีสาย เครือข่ายอาสาสมัครป้องกันเอดส์ (ภาคอีสาน) กรรมการ
 8. คุณจารอง แพงหนองยาง มูลนิธิเพื่อนพนักงานบริการ(ภาคต.ออก) กรรมการ
 9. คุณปิยะ เหล่าฤทธิไกร ศูนย์คริสเตียนบริการไมตรีจิต(ภาคต.ออก) กรรมการ
 10. คุณลัดดา นิเงาะ บ้านโอโซน สงขลา(ภาคใต้) กรรมการ
 11. คุณการิม เก็บกาเม็น ศูนย์ฟื้นฟูคุณภาพชิวิต อ.ละงู จ.สตูล(ภาคใต้) กรรมการ
 12. คุณอภิวัฒน์ กวางแก้ว เครือข่ายผู้ติดเชื้อเอชไอวีเอดส์ ประเทศไทย

 ที่มา : คณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ (กพอ.), 2556
องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
 ตัวอย่างคณะกรรมการขององค์กรพัฒนาเอกชนของไทย (รายนามที่ปรากฏเป็น
รายนามซึ่งเผยแพร่ในโครงสร้างองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งใช้การศึกษาเท่านั้น) ซึ่งเมือ
พิจารณารายชื่อคณะกรรมการชุดเดิม ซึ่งเคยดารงตาแหน่งและหมดวาระไปแล้ว จะ
พบว่า จานวนของคณะกรรมการมีจานวนลดลง ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมและ
กิจกรรมที่มีอยู่
องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
 ตารางที่ 2.2 รายชื่อคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชน กพอ. ชุดเดิม


รายชื่อคณะกรรมการ กพอ. ชุดเดิม

 สุภัทรา นาคะผิว ประธาน
 สุภาพร ถิ่นวัฒนากูล รองประธาน
 รอซีดี เลิศอริยะพงษ์กุล รองประธาน
 สุรางค์ จันทร์แย้ม กรรมการ
 นิมิตร์ เทียนอุดม กรรมการ
 วิทยา แท่นสูงเนิน กรรมการ
 น้าผึ้ง แปลงเรือน กรรมการ
 พงศ์ธร จันทร์เลื่อน กรรมการ
 มีนา ดวงราษี กรรมการ
 บริพัตร ดอนมอญ กรรมการ
 จารอง แพงหนองยาง กรรมการ
 ณัฐพงษ์ ศุขศิริ กรรมการ
 นิ่มนวล แปะเง้าสุข กรรมการ
 กานดา พูลสง กรรมการ
 ธีรวุฒิ วรฉัตร กรรมการ
 วิรัตน์ ภู่ระหงษ์ กรรมการ

 ที่มา : คณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชนด้านเอดส์ (กพอ.), 2556
องค์ประกอบของกรรมการบริหาร
 นอกจากนั้น การมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบในการประสานงานของ จะเป็นของสมาชิกองค์กรพัฒนาเอกชนในพื้นที่ ปฏิบัติงานของค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งมีการเชื่อมโยงเป็นเครือข่ายองค์กร เพื่อความสะดวกรวดเร็ว และ
เพื่อประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน
 ตารางที่ 2.3 รายชื่อผู้ประสานงาน กพอ. ในระดับพื้นที่
 พื้นที่
 ผู้ประสานงาน
 ที่อยู่ติดต่อ
 กพอ.ภาคเหนือ
 อัญชลี จอมธัญ
 ที่อยู่225/112 หมู่บ้านสินธนา ต.สันพระเนตร อ.สันทราย จ.เชียงใหม่ 50210
โทรศัพท์/โทรสาร 053-350683, โทรศัพท์เคลื่อนที่ 089-7568766
Email : Northern.ngo@gmail.com
 กพอ.ภาคกลาง
 ชยุตม์ ศิรินันทไพบูลย์
 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 08 6008 6004
Email: Ocean_msm@hotmail.com
 กพอ.ภาคอีสาน
 สุมาลี พรหมสะดวก
 ที่อยู่ 43/1 ถ.พรหมเทพ ซ.โดนไข3 ต.ในเมือง จ.สุรินทร์ 32000
โทรศัพท์ 0-4451-3257 โทรสาร 0-4452-0821
Email : sumalee_02@windowslive.com
 กพอ.ภาคใต้
 กานดา พูลสูง
 โทรศัพท์เคลื่อนที่ 08 8398 7061
Email : pu-kanda@hotmail.com
 กพอ.ชาติ
 กาญจนา แถลงกิจ
วัชราภรณ์ วงคีรี
 494 ซ.ลาดพร้าว 101 (นครไทย 11)
ถ.ลาดพร้าว แขวงคลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240
โทรศัพท์ 02-3775255 โทรสาร 02-3779719
โทรศัพท์เคลื่อนที่ 08-6 332- 8130
ระยะเวลาของกรรมการบริหาร
 ระยะเวลาในการบริหารจัดการองค์กรพัฒนาเอกชนโดยทั่วไป จะดารงตาแหน่งเป็น
ระยะเวลา 1- 3 ปี หรืออาจเป็น ระยะเวลา 4 ปี ตามดุลพินิจหรือข้อตกลงซึ่งกระทาไว้
กับสมาชิกขององค์กร ทั้งนี้ ระยะเวลาดารงตาแหน่งดังกล่าว จะปรากฏในโครงสร้าง
การดาเนินงาน ที่ใช้นาเสนอเพื่อรับการสนับสนุนด้านทรัพยากรและเงินทุน
การทาหน้าที่ การดารงตาแหน่งของ
กรรมการบริหาร องค์กรพัฒนาเอกชน
 เนื่องจากลักษณะของการทางานและการมีส่วนร่วมในการทางานของคณะกรรมการ
องค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งได้วางหลักเกณฑ์สาหรับการปฏิบัติหน้าที่การทางาน ซึ่งทาให้
อาจเกิดชะงักของการปฏิบัติหน้าที่อันเนื่องสาเหตุหลายประการ เช่น การลาออก
ลาออก ไม่ได้รับการสนับสนุนส่งเสริมจากองค์กรที่ปฏิบัติงาน หรือไม่ได้รับความ
ปลอดภัยในการปฏิบัติหน้าที่ หรือไม่สามารถที่จะดาเนินการตามที่ได้ให้ข้อตกลงกัน
ไม่สามารถที่จะทางานร่วมกับสมาชิกในคณะกรรมการองค์กรพัฒนาเอกชนอื่น ๆ ที่
เป็นส่วนหนึ่งของทีม หรือ มีทัศนะคติที่ก่อให้เกิดความความขัดแย้งต่อนโยบายของ
องค์กร
สรุป
 องค์กรพัฒนาเอกชนถือเป็นองค์กรภาคประชาชนองค์กรหนึ่ง เนื่องจาก การทางานของ
องค์กรพัฒนาเอกชนเป็นการทางานมุ่งกลุ่มเป้าหมายที่เป็นชุมชน โดยลักษณะการ
ทางาน จะทางานโดยเขาไปมีส่วนร่วมกับชุมชน และประสานร่วมมือกับหน่วยงาน
สาธารณะต่างๆ ดังนั้น ผู้บริหารซึ่งประกอบขึ้นเป็นคณะกรรมการบริหางาน จึงต้องมี
คุณสมบัติที่สามารถปฏิบัติเพื่อตอบสนองความต้องการของทั้งภาคประชาชน
ผู้สนับสนุนทรัพยากร และหน่วยงานซึ่งต้องประสานและทาหน้าที่คอยสนับสนุน

More Related Content

Similar to ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารNithimar Or
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การwanna2728
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1Saiiew
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การwanna2728
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshopinanza
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้looktao
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการChanida_Aingfar
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยwanna2728
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธNatepanna Yavirach
 

Similar to ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2) (20)

ตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหารตัวอย่างงานบริหาร
ตัวอย่างงานบริหาร
 
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การChapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
Chapter9 ความสำเร็จและปัญหาของการพัฒนาองค์การ
 
R2R
R2RR2R
R2R
 
Ntu2554
Ntu2554Ntu2554
Ntu2554
 
บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1บริหารราชการไทย 1
บริหารราชการไทย 1
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การChapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
Chapter7 เทคนิคพัฒนาองค์การระดับกลุ่มและองค์การ
 
บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..บรรยายพิเ..
บรรยายพิเ..
 
Project planning - Workshop
Project planning - WorkshopProject planning - Workshop
Project planning - Workshop
 
องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้องค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรแห่งการเรียนรู้
 
ทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการทักษะชีวิตราชการ
ทักษะชีวิตราชการ
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
Swot
SwotSwot
Swot
 
Board of directors
Board of directorsBoard of directors
Board of directors
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทยChapter10  แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
Chapter10 แนวทางการพัฒนาองค์การในสังคมไทย
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธเอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
เอกสารประกอบการสอนกลยุทธ
 
Swot analysis
Swot analysisSwot analysis
Swot analysis
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 

ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)