SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทา ให้ในแต่ละวนัมีการผลิต 
ข้อมูลขึ้นมาจา นวนมาก ข้อมูลบางส่วนจะถูกนา มาประมวลผลเพื่อนา ไปประยุกต์ใช้ 
ในด้านต่างๆ ตัวอย่างเช่นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีจา นวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละ 
วนั ซึ่งสามารถใชป้ระโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ได้เพียงคน้หาข้อความ รูปภาพ หรือวีดิ 
ทัศน์ ที่ตรงกับความสนใจเท่านั้น แต่ไม่สามารถนา ข้อมูลเหล่านี้มาประมวลผลและ 
แสดงความรู้ที่แฝงอยู่ได้อย่างมี ประสิทธิผล 
ขอ้มูล (data) คือ สิ่งที่ใชอ้ธิบายคุณลักษณะของวตัถุ เหตุการณ์ กิจกรรม 
โดยบันทึกจาการสังเกต การทดลอง หรือการสา รวจด้วยการแทนรูปแบบใด 
รูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไวเ้ป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ 
ตัวอย่างของข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็นประจา เช่น เกรด 
ที่รักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาของสินคา้ชนิดต่างๆ ในห้างสรรพสินคา้
สารสนเทศ (information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการนา ข้อมูลมา 
ประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการนา ไปใชง้านมากข้นึเช่น 
ส่วนสูงนักเรียนหญงินักเรียนชายแต่ละคนในชนั้เรียนเป็นข้อมูล จะ 
สามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนา ไปใชใ้น 
จุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนา ข้อมูลเหล่านี้เรียง 
ตามลา ดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน 
เพื่อให้นักเรียนได้เห็นความแตกต่างของข้อมูลและ 
สารสนเทศอย่างชัดเจนมากขึ้น จึงได้แสดงตัวอย่างของการเปลี่ยน 
ข้อมูลมาเป็นสารสนเทศอย่างง่าย ไวใ้นตัวอย่างที่ 2.1
จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าการสร้างสารสนเทศ ซึ่งในที่นี้คือ ส่วนสูง 
เฉลี่ยของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะสามารถถูกนา ไปใช้เพื่อวิเคราะห์ 
และตอบคา ถามว่า ส่วนสูงของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรตลอด 20 ปีที่ 
ผ่านมาซึ่งสารสนเทศเหล่านี้จะถูกนา ไปใชเ้พื่อสนับสนุนการตัดสินใจอื่นๆ เช่น 
การตัดสินใจด้านโภชนาการ หรือการจัดหลักสูตรวิชาพลานามัย เพื่อให้ 
เหมาะสมกับนักเรียนในปัจจุบัน ดังรูปที่ 2.3
ข้อมูลเหล่านี้จะต้องถูกส่งเข้ากระบวนการต่างๆ ตามความเหมาะสม 
เพื่อเปลี่ยนให้ข้อมูลกลายเป็นสิ่งที่สามารถนา มาใช้เพื่อสนับสนุนการ 
ตัดสิน ใจต่างๆ ได้ ตัวอย่างดังรูปที่ 2.3 
ความรู้(knowledge) เป็นคา ที่มีความหมายกวา้ง และใช้ 
กันโดยทั่วไป ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรม 
คอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไวใ้นหลาย แง่มุม แต่ความหมายในแง่มุม 
หนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและสารสนเทศ ความรู้ คือ สิ่งที่ 
ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อ 
นา ไป ประยุกต์ใชใ้นปัญหาที่ต้องการนา ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไป 
แก้ไข
นอกจากนี้ยังมีนิยามของความรู้อีกด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง 
ของ ข้อมูลและสารสนเทศคือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่ 
สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่าสนใจ เป็นจริงสา หรับ 
ข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่ 
เคยเห็นกันมาก่อน ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายจาการวิเคราะห์สารสนเทศจะ 
ได้เป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใชไ้ด้ 
เราเรียกกระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ 
ถูกเก็บรวบรวมไวเ้ป็น อย่างดีในฐานข้อมูลว่า การค้นพบความรูใ้น 
ฐานขอ้มูล (knowledge discovery in databases)
ตัวอย่างที่ 
2.2 สมมติว่าเราไม่เคยมีความรู้มาก่อนเลยว่าเพราะ 
เหตุใดนักเรียนบางคน จึงสูงกว่านักเรียนคนอื่น เราสามารถนา ส่วนสูงของ 
นักเรียนแต่ละคนมาจับคู่กับคุณสมบัติอื่นๆ เช่น ลักษณะนิสับการ 
รับประทานอาหาร (รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เป็นประจา หรือไม่) 
และความถี่ในการออกกา ลังกาย ( ทุกวนั สัปดาห์ละ 3 ครงั้ สัปดาห์ละครงั้ 
เดือนละครงั้ หรอืน้อยมาก) 
เมื่อเราใชก้ระบวนการคน้พบความรู้ในบานข้อมูลชุดนี้ ความรู้ที่เรา 
อาจจะพบได้จากข้อมูล ได้แก่ รูปแบบความสัมพันธ์บางอย่าง เช่น 
1. นักเรียนที่ออกกา ลังกายทุกวนั และรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ 
เป็นประจา จะมีส่วนสูงสูงกว่านักเรียนที่ออกกา ลังกายวนัเวน้วนั แต่ไมไ่ด้ 
รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจา 
2. นักเรียนที่ออกกา ลังกายน้อยมาก และไม่รับประทานอาหารที่เป็น 
ประโยชน์เป็นประจา จะมีส่วนสูงน้อยที่สุดในห้อง
ในการบริหารองค์กร สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแต่ไม่สามารถประเมินคุณค่าเป็น 
ตัวเงินได้ คือ ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงาน เนื่องจากในการทา งาน การ 
แก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ การนา ความรู้มาปรับใช้โดยพนักงานในระดับ 
ต่างๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในการทา งาน พนักงานที่ปฏิบัติงานหนึ่งคน 
จะต้องใชค้วามรู้และทักษะเฉพาะอย่าง เพื่อทา งานให้ลุล่วงไปได้ซึ่งการจา ทา 
ให้พนักงานหนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นนั้น จะต้องใชก้ารอบรม 
เพื่อสร้างความรู้รวมถึงทักษะให้กับพนักงานเหล่านี้ ซึ่งความรู้ที่ถ่ายทอด 
ให้แก่พนักงานนี้ จัดว่าเป็นทุนทางปัญญา (intellectual capital) ซึ่งเป็นสิ่งที่ 
คุณค่าอย่างสูงกับองค์กร เพราะความรู้บางอย่างต้องใชง้บประมาณและเวลา 
ในการสร้างขึ้น ทา อย่างไรจึงจะมามารถจัดการความรู้ในองค์กรเหล่านี้ให้เกิด 
ประสิทธิภาพสูง สุด
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ สามารถช่วยองค์กรในการ 
จัดการความรู้เหล่านี้ได้โดยระบบนี้จะทา งานแตกต่างกัน ไปตามจุดมุ่งหมาย 
ขององค์กร ซึ่งผู้ใชใ้นองค์กรที่อาจประกอบด้วยพนักงานทั่วไป ผ้บูริหาร หรือ 
บุคคลภายนอก จะเป็นผู้สร้างสารสนเทศเพื่อเก็บไวใ้นระบบนี้ โดยระบบ 
จะต้องสามารถจัดหมวดหมู่ คน้หา รวมถึงกระจายสารสนเทศเหล่านี้ให้กับ 
ผู้ใช้คนอื่นเพื่อให้ผู้ใช้แต่ละคน สามารถนาสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิ์ 
ของ 
ตนเอง ตัวอย่างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ ดังรูปที่ 2.6
นอกจากนี้ยังมีศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ที่น่าสนใจอีกด้าน 
หนึ่ง คือ ความฉลาดร่วม (collective intelligence) ซึ่งเป็นการสร้างความ 
ฉลาดหรือสร้างความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้ตัวอย่างของการสร้างความรู้ใน 
ลักษณะนี้เช่น วิกิพีเดีย (Wikipedia) ซึ่งผู้ใชแ้ต่ละคนสามารถเพิ่มเติม แก้ไข 
ข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใชค้นอื่นๆ ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมหรือแก้ไข 
ข้อมูล ก็สามารถเข้าถึงและใชข้้อมูลหรือความรู้เหล่านนั้ได้เป็นต้น ตัวอย่าง 
การสร้างความรู้ร่วมกันของวิกิพีเดีย ดังรูปที่ 2.7
มีคา กล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไวอ้ย่างน่าฟังว่า ถ้าข้อมูลเข้า 
เป็นขยะ สิ่งทีออกมาก็จะเป็นขยะด้วย (Garbage In , Garbage Out) ซึ่ง 
หมายความว่า ถ้าข้อมูลที่นา ไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพ ผลลัพธ์ที่ 
ออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนนั้เราควรจะตระหนักถึงความสา คัญของ 
การเก็บข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นด้วย 
1. ความถูกต้องของขอ้มูล เป็นลักษณะสา คัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ 
ถูกต้องแล้ว เราจะไม่สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่อง 
สา คัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มี ขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ 
เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจา เป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อนนา มาใชเ้สมอ 
นอกจากนี้ข้อมูลบางประเภท เช่น ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน ดัง 
รูปที่ 2.8 อาจมีปัญหาเกี่ยวกับสัญญาณเสียงรบกวนเกิดขึ้นดังนั้นข้อมูลประเภทนี้ 
จึงต้องได้รับการปรับปรุงคุณภาพหรือเรียกว่า กระบวนการลดสัญญาณรบกวน 
จึงจะสามารถนา มาใชง้านได้
สา หรับข้อมูลที่ได้การบันทึกด้วยมนุษย์โดยมากมักต้องผ่านการ 
ตรวจสอบก่อน เสมอ ซึ่งอาจตรวจสอบโดยมนุษย์ หรือตรวจสอบ 
โดยระบบ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่มีความสา คัญอาจต้องป้อนสองครงั้ 
เพื่อป้องกันความผิดพลาดซึ่งนักเรียนสามารถเห็นตัวอย่างของข้อมูล 
เหล่านี้ ได้จากการป้อนรหัสผ่านเวลาลงทะเบียนตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่ 
นักเรียนต้องป้อนรหัสหรืออีเมลสองครั้ง เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด ดัง 
รูปที่ 2.9 นอกจากนี้ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขสา คัญ มักจะมีตัวเลขซึ่ง 
เป็นหลักตรวจสอบแฝงไวเ้สมอ เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิต 16 
หลัก เมื่อนา มาผ่านกระบวนการประมวลผล จะสามารถตรวจสอบได้ 
ว่า หมายเลขบัตรเครดิตนนั้ถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น
ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพได้ 
เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวตัิคนไข้ หากไม่มีหมูเลือดของคนไข้ จะไม่ 
สามารถใชไ้ด้ในกรณีที่ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ 
หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีชื่อและนามสกุล 
โดยไม่มีข้อมูลบ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตา บล เขต/หรือจังหวัด ข้อมูล 
เหล่านนั้ก็ไม่สามารถนา มาใชไ้ด้เช่นกัน
ข้อมูลการติดตามตา แหน่งของรถยนต์ด้วยระบบจีพีเอส ดังแสดงในรูป 
ที่ 2.11 สา หรับบริษัทที่ต้องทา งานติดตามรถยนต์ ข้อมูลตา แหน่งรถยนต์ 
จะต้องได้รับการปรับให้เป็นจริงตลอดเวลา หากข้อมูลนนั้ปรับทุกๆหนึ่ง 
ชั่วโมง จะไม่มีประโยชน์ในการติดตามตา แหน่งของรถยนต์ ดังนั้นในเรื่อง 
ความถูกต้องตามเวลาของข้อมูล จึงเป็นเรื่องสา คัญประการหนึ่งที่ต้องนา มา 
พิจารณาเมื่อต้องมีการจัดเก็บข้อมูลหรือประมวลผลข้อมูล
ในบางกรณีข้อมูลผูกอยู่กับเงื่อนไขของเวลา ซึ่งถ้าผิดจาก 
เงื่อนไขของเวลาไปแล้ว ข้อมูลนั้นอาจลดคุณภาพลงไป หรือ 
แม้กระทั่งไม่สามารถใชไ้ด้ เช่น ข้อมูลการให้ยาของคนไข้ใน 
โรงพยาบาล ดังรูปที่ 2.12 ในทางการแพทย์แล้ว ข้อมูลนี้จะต้องถูก 
ใส่เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ได้รับยาเพื่อให้แพทย์คน อื่นๆ ได้ทราบ 
ว่า คนไข้ได้รับยาชนิดนี้เข้าไปแล้ว แต่ข้อมูลเรื่องการให้ยาของคนไข้นี้ 
อาจไม่จา เป็นต้องได้รับการปรับทันทีสา หรับแผนกการเงิน เพราะ 
แผนกการเงินจะคิดเงินก็ต่อเมื่อญาติคนไข้มาตรวจสอบ หรือคนไข้ 
กา ลังออกจากโรงพยาบาล
ในกรณีที่ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง จะเกิดปัญหาในเรื่องของ 
ความสอดคล้องกันของข้อมูล เช่น ในบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่ 
อย่ลููกค้า หากต้องการนา ข้อมูลไปควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมี 
ข้อมูลของลูกค้าอยู่เช่นกัน แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัท 
แห่งแรก เป็นที่อยู่ที่พักอาศัยของลูกค้า ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่ 
สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ทา งานลูกค้า ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทนี้เป็น 
ข้อมูลที่ถูกต้องสอดคล้องตามเวลาทั้งคู่ แต่ถ้าต้องการเก็บข้อมูลที่ 
อยู่ลูกค้าเพียงที่อยู่เดียว ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้
เมื่อเห็นความสา คัญของข้อมูลแล้ว ทา อย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูล 
เหลา่นนั้ให้คงอยู่ รวมถึงทา ให้สามารถประมวลผลข้อมูลนนั้ได้อย่างรวดเร็ว 
โดยมากและจะรวมอยู่ใน ระบบฐานข้อมูล ซึ่งนา มาใชใ้นการจัดเก็บการเข้าถึงและ 
การประมวลผล ข้อดีในการนา ฐานข้อมูลเหล่านี้ไปใชใ้นองค์กรหรือหนว่ยงาน เช่น 
- การจดัเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป้ 
นกระดาษได้ รวมถึงการทา ซา้ เพื่อสา รองข้อมูล สามารถทา ได้สะดวกและรวดเร็ว 
- การตอบสนองต่อความต้องการไดอ้ย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวตัิการ 
บา รุงรักษารถยนต์และข้อมูลประวตัิคนไข้ ผู้ใชที้่ต้องการนา ข้อมูลเหล่านี้ไปใชง้าน 
สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลและนา ข้อมูลที่ต้องการไปใชไ้ด้ 
- การจากัดสิทธิ์ 
ในการเขา้ถึงขอ้มูลให้แก่ผูใ้ชใ้นแต่ละระดบัของ 
องค์กร เช่น ผ้บูริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใชทั้่วไปใน 
แผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวิติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น
ผูบ้ริหารสามารถเขา้ถึงขอ้มูลของทุกหน่วยงานได้
ก่อนจะกล่าวถึงลา ดับชนั้ของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ 
ตอ้งกล่าวถึงก่อน คือ ลา ดับชนั้ล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่น 
คือ การแทนข้อมูลดว้ยตัวเลขฐานสอง ซึ่งประกอบดว้ยตัวเลข 
สองตัว คือ ' 0 ' และ '1' ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัว 
เลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเล็ก 
ที่สุดของข้อมูล และหากนา บิตมาต่อกันจา นวน 8 บิต จะ 
เรียกว่า 1 ไบต์ (byte)
เมื่อนา ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ตอ้งการเก็บในฐานข้อมูล 
เราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความหมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มี 
ความหมายในฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล 
โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้ 
- จา นวนเต็ม (interger) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่ง 
ขนาดของตัวเลขนี้อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัว 
เลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจา นวนเต็มไดต้งั้แต่ -2,147,483, 
648 ถึง 2,147,483,647 แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไวว้่า เป็นตัวเลขจา นวนเต็มไม่ระบุ 
เครื่องหมาย (unsigned integer) เท่านนั้จะสามารถแทนตัวเลขจา นวนเต็มไดต้งั้แต่ 0 ถึง 
4,294,967,295 
- จา นวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์ จะเก็บตัวเลขทศนิยม 
โดยใชร้ะบบโฟลททิงพอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกา หนด 
ตา แหน่งตายตัวสา หรับตา แน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 
บิต และ 64 บิต
ขอ้ความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็น 
รหัสซึ่งใชแ้ทนตัวอักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใชเ้ป็น 
รหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่งต่อมามีการใชร้หัสแบบยูนิโคด้ (Unicode) ที่ 
สามารถแทนภาษได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี 
ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจา นวนตัวอักขระในข้อความ 
- วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวนัเวลา เช่น วนัที่เริ่มใชง้าน 
วนัลงทะเบียน และเวลาที่ซื้อสินคา้ มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น 
ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวนัเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลที่ต้องการ 
เก็บข้อมูลเป็นวนัเวลา 
- ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใชเ้ก็บไฟล์รูปภาพหรอืไฟล์อื่นๆ 
ซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะ เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความ 
ยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่นๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะ 
เป็นบิตเรียงต่อกัน
คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วน 
อาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้าง 
เขตข้อมูลที่เหมือนกัน 
ตัวอย่างระเบียน ดังรูปที่ 2.16
คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มี 
ความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆระเบียน แต่ละระเบียนจะมี 
โครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลายระเบียนแล้ว ยังสามารถ 
อา้งอิงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน ดังรูปที่ 
2.17
4. ฐานขอ้มูล(database)เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตาราง 
เข้าไวด้้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใชเ้ขต 
ข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือน กันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บาง 
ตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไวเ้ฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้อง 
กับ ตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขตข้อมูล 
ของตารางอื่น
คา ว่าจริยธรรมเป็นคา ที่มีความหมายกวา้งแม้กระทั้งในด้าน 
คอมพิวเตอร์ ก็มีการกล่าวถึงในเรื่องจริยธรรมเช่นกัน ในที่นี้จะกล่าวถึง 
จริยธรรม ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศประเด็นต่างๆ 
ดังนี้
เมื่อข้อมูลปรากกอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น ทา ใหก้ารรวบรวมข้อมูลการเข้าถึง 
การคน้หา และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทา ไดง้่ายและเร็วข้นึ ทา 
ใหข้้อมูลบางประเภทที่มีความเป็นส่วนตัวสูง เช่น เลขประจา ตัวประชาชนวนัเดือนปีเกิด 
หมายเลขโทรศัพท์มือถือ ข้อมูลประวตัิการรักษา อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้บางครงั้ 
ข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้อาจถูกนา ไปใชโ้ดยผิดวตัถุประสงค์ของเจา้ของ ข้อมูล เช่น ข้อมูล 
หมายเลขโทรศัพท์มือถือซึ่งถูกเก็บไวโ้ดยสถานพยาบาล อาจรั่วไหลไปสู่บริษัทที่มีการ 
ประชาสัมพันธ์การขายผ่านโทรศัพท์มือถืออาจทา ใหเ้จา้ของหมายเลขโทรศัพท์นนั้ ถูก 
รบกวนโดยไม่ไดตั้้งใจ ดังรูปที่ 2.18 
ก่อนจะเเผยแพร่ข้อมูลทุกครั้ง ตอ้งคา นึงถึงข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผลเสีย 
จากการเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ อาจย้อนกลับมาสรา้งความเดือดรอ้นใหกั้บตนเองหรือผู้ที่ 
เกี่ยวข้องไดใ้นอนาคต เช่น นักเรียนโพสรูปของตนเองและเพื่อนไวใ้นเว็บไซต์เครือข่าย 
ทางสังคม แต่เพื่อนของนักเรียนอาจไดรั้บผลกระทบจากรูปนั้นก็ได้
ในบางกรณีการไม่เปิดเผยข้อมูลอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ เช่น ในการปรึกษาเกี่ยวกับ 
การแพทย์ เรื่องความผิดปกติทางเพศ หรือการเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หากต้องเปิดเผยข้อมูลจรงิ 
เหล่านี้ การใช้นามแฝงแทนจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการแลกเปลี่ยนข้อมูลแต่กรณีเหล่านี้จะ 
ไม่สามารถทา ได้ในเว็บไซต์ที่กา หนดให้กรอกข้อมูลจริง เพื่อสมัครใช้บริการ 
2.5.2 สิทธิ์ 
ในการเขา้ถึงขอ้มูล เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมลู ในการเก็บ 
ข้อมูลในฐานข้อมูลจะมีการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ แต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาต 
ให้ผู้ใช้คนหนึ่งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่า จะให้เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง หรือไม่มีสิทธิ์ในการ 
เข้าถึงข้อมูลใดบ้าง ตัวอย่างเช่น พนักงานแผนกการเงินซึ่งสามารถเข้าถึงข้อมูลเงินเดือน ไม่ควรได้ 
สิทธิ์ 
ในการเข้าถึงข้อมูลประวัติส่วนตัวของพนักงานทั่วไปได้ เป็นต้น ตัวอย่างการกาหนดสิทธิ์ใน 
การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม ดังรูปที่ 2.19 
หากการเข้าใช้ระบบเพื่อเข้าถึงข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องสิทธิ์ในการเข้า ถึงข้อมูล ดังนนั้ 
สิทธิ์ 
ในการเข้าระบบก็จะจัดอยู่ในเกณฑ์ข้อนี้ด้วย โดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใดๆนนั้ ผ้ใูช้จะต้อง 
ได้รับการอนุญาตจากผู้ดูแลระบบ (system administrator) ซึ่งมีหน้าที่คอยดูแล บา รุงรักษา 
ระบบ ให้สามารถทา งานได้เป็นปกติ การเขาถึงข้อมลูโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตาม 
พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตงั้แต่ 
เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550เป็นต้นมา มีความผิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสิทธิ์ 
ในการเข้าถึงข้อมลู 
หลายข้อ ยกตัวอย่างเช่น
มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการ 
เข้าถึงโดย เฉพาะและมาตรการนนั้มิได้มีไวส้า หรับตนต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินหก 
เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ 
มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการ 
เข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนนั้มิได้มีไวส้า หรับตน ต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินสอง 
ปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจา ทั้ง ปรับ 
นอกจากนี้ยังมีการระบุความผิดที่เกี่ยวข้องกับการดักรับข้อมูลซึ่งเดิน ทางอยู่ 
ในระบบเครือข่ายโดยการดักรับนี้ไม่ได้รับอนุญาต ก็มีความผิดเช่นกัน
มาตรา 8 ผ้ใูดกระทา ด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดัก 
รับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และ 
ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไวเ้พื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคล ทั่วไปใชป้ระโยชน์ 
ได้ต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจา ทงั้ปรับ 
จะเห็นได้ว่า จากตัวอย่างของพระราชบัญญติว่าด้วยการกระทา ผิดเกี่ยวกับ 
คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 นั้น การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต 
มีความผิดทงั้จา คุกและปรับ ดังนนั้ทกุคนต้องพึงระวงัการใชค้อมพิวเตอร์และการเข้าใชง้าน 
เครือข่าย แม้ว่าการกระทา บางอย่างอาจไม่ใช่ความผิดขนั้ร้ายแรงถึงกับมีโทษจา คุกหรือ 
ปรับเงิน แต่การกระทา การใดๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรานั้น อาจก่อความรา คาญ 
หรือรบกวนการใชค้อมพิวเตอร์ของผู้อื่นได้เช่นกัน
ในกระบวนการผลิตโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ รูปภาพ เพลง หรือ 
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จา เป็นต้องใชต้้นทุนสูง และใชเ้วลาในการผลิตยาวนาน 
แต่เมื่อสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิจิทัส ผู้ใชค้นอื่นๆสามารถ 
ทา ซา้ และนา ไปใชโ้ดยไม่ได้จ่ายเงินให้กับผู้ผลิต ก่อให้เกิดความเสียหายทาง 
ธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล ผู้ใช้จึงต้องพิจารณาขอบเขตของสิทธิ์ 
ที่ตนเองได้รับใน 
ข้อมูลดังกล่าว และเป็นการสมควรหรือไม่ที่จะดาวน์โหลดและแจกจ่ายข้อมูลดิ 
จิทัสเหล่านี้นอกจากนี้การนา ข้อความหรือรูปภาพจากสื่ออินเทอร์เน็ตมาใช้ 
จะต้องมีการอา้งอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง ยกตัวอย่างเช่น การคัดลอกข้อความ 
หรือรูปภาพจากเว็บประกอบในการทา รายงาน โดยไม่อา้งอิงแหล่งที่มา ดังรูปที่ 
2.20 ถือว่าเป็นการกระทา ที่รุนแรงตามหลักจริยธรรมสากลของการนา ข้อมูล 
ไปใช้
แหล่งที่มาข้อมูล http://flukeloveskb.blogspot.com/2012/06/2.html

More Related Content

What's hot

บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3Nataya Younyee
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องMiw Inthuorn
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์teerarat55
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องM'suKanya MinHyuk
 
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1
กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1Nathakol Samart
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1thidarat_03
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำAugusts Programmer
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องNinna Natsu
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องRung Sensabe
 

What's hot (17)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
บทที่4 หลักการและวิธีการแก้ปัญหาด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ 3
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์โครงงาน แอนดรอยด์
โครงงาน แอนดรอยด์
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1
กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1กลุ่ม New  generation.pptx  งานธุรการ1
กลุ่ม New generation.pptx งานธุรการ1
 
ใบงานท 2-8 (1)
ใบงานท   2-8 (1)ใบงานท   2-8 (1)
ใบงานท 2-8 (1)
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Fact sheet TSPA & Members
Fact sheet TSPA & MembersFact sheet TSPA & Members
Fact sheet TSPA & Members
 
155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+155555555555555555555555555555555+
155555555555555555555555555555555+
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
6 บทที่ 1 บทนำ
6 บทที่  1  บทนำ6 บทที่  1  บทนำ
6 บทที่ 1 บทนำ
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 

Viewers also liked

การทำ Effect ควัน ไฟ
การทำ Effect ควัน ไฟการทำ Effect ควัน ไฟ
การทำ Effect ควัน ไฟPunpunpunpun Punpunpun
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveฺBadBoy 20151963
 
Onet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษOnet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษSupicha Niemsup
 
ภาพฝัน
ภาพฝันภาพฝัน
ภาพฝันThanom Sak
 
การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...
การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...
การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...Thirawut Saenboon
 
ORGANIZADORES GRAFICOS
ORGANIZADORES GRAFICOSORGANIZADORES GRAFICOS
ORGANIZADORES GRAFICOSlokodude9503
 
SUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTOR
SUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTORSUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTOR
SUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTORNSTDA THAILAND
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7Suchada Tasri
 
งานย่อย6
งานย่อย6งานย่อย6
งานย่อย6thelaw191
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6Suchada Tasri
 
สไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4page
สไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4pageสไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4page
สไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือการเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือในใจฉัน เสียงเพลง
 
методы лечения хроническго аденоидита в группе часто болеющих
методы лечения хроническго  аденоидита в группе часто болеющих методы лечения хроническго  аденоидита в группе часто болеющих
методы лечения хроническго аденоидита в группе часто болеющих farmT
 
รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557
รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557
รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557ยุทธกิจ สัตยาวุธ
 

Viewers also liked (20)

PAIXÃO CIGANA
PAIXÃO CIGANAPAIXÃO CIGANA
PAIXÃO CIGANA
 
การทำ Effect ควัน ไฟ
การทำ Effect ควัน ไฟการทำ Effect ควัน ไฟ
การทำ Effect ควัน ไฟ
 
คู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google driveคู่มือการใช้งาน Google drive
คู่มือการใช้งาน Google drive
 
Onet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษOnet 03 อังกฤษ
Onet 03 อังกฤษ
 
ภาพฝัน
ภาพฝันภาพฝัน
ภาพฝัน
 
การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...
การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...
การใช้ภาพยนตร์แอนิเมชันเรื่องพระพุทธเจ้าเพื่อเพิ่มความรู้ด้านพุทธประวัติการใช...
 
ORGANIZADORES GRAFICOS
ORGANIZADORES GRAFICOSORGANIZADORES GRAFICOS
ORGANIZADORES GRAFICOS
 
SUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTOR
SUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTORSUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTOR
SUT DISSEMINATES KNOWLEDGE TO SOCIAL SECTOR
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่ึ7
 
งานย่อย6
งานย่อย6งานย่อย6
งานย่อย6
 
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ บทที่6
 
สไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4page
สไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4pageสไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4page
สไลด์ เที่ยวภาคใต้+507+dltvsocp6+55t2soc p06 f29-4page
 
Primeiro beijo
Primeiro beijoPrimeiro beijo
Primeiro beijo
 
ปกแบบรูป
ปกแบบรูปปกแบบรูป
ปกแบบรูป
 
Work2m35no1
Work2m35no1Work2m35no1
Work2m35no1
 
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือการเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
การเปรียบเทียบความสามารถในการกำจัดปลวกของสารสักใบผกากรองและใบสาบเสือ
 
0
00
0
 
методы лечения хроническго аденоидита в группе часто болеющих
методы лечения хроническго  аденоидита в группе часто болеющих методы лечения хроническго  аденоидита в группе часто болеющих
методы лечения хроническго аденоидита в группе часто болеющих
 
รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557
รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557
รายงานระดับบุคคล 1085460018-โรงเรียนอนุบาลระนอง ป.3/2557
 

Similar to บทที่ 2

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sakonwan947
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศKaii Eiei
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8Prem Poramate
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศKewalin Kaewwijit
 

Similar to บทที่ 2 (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
ข้อมูล สารสนเทศและความรู้
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Chapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erpChapter 3 benefits of erp
Chapter 3 benefits of erp
 
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศสาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สาระน่ารู้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
Data
DataData
Data
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
ใบงานที่8
ใบงานที่8ใบงานที่8
ใบงานที่8
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศข้อมูลและสารสนเทศ
ข้อมูลและสารสนเทศ
 

More from Sudkamon Play

Web server คืออะไร
Web server คืออะไรWeb server คืออะไร
Web server คืออะไรSudkamon Play
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไรSudkamon Play
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ LmsSudkamon Play
 
ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningSudkamon Play
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningSudkamon Play
 
ความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learningความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learningSudkamon Play
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือSudkamon Play
 

More from Sudkamon Play (13)

Web server คืออะไร
Web server คืออะไรWeb server คืออะไร
Web server คืออะไร
 
Cai คืออะไร
Cai คืออะไรCai คืออะไร
Cai คืออะไร
 
องค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lmsองค์ประกอบของ Lms
องค์ประกอบของ Lms
 
ประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learningประโยชน์ของ E learning
ประโยชน์ของ E learning
 
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learningข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
ข้อดี ข้อเสีย ของ E learning
 
ความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learningความเป็นมาของระบบ E learning
ความเป็นมาของระบบ E learning
 
E learning คือ
E learning คือE learning คือ
E learning คือ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 

บทที่ 2

  • 1.
  • 2. ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศในปัจจุบัน ทา ให้ในแต่ละวนัมีการผลิต ข้อมูลขึ้นมาจา นวนมาก ข้อมูลบางส่วนจะถูกนา มาประมวลผลเพื่อนา ไปประยุกต์ใช้ ในด้านต่างๆ ตัวอย่างเช่นข้อมูลจากเว็บไซต์ที่มีจา นวนเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในแต่ละ วนั ซึ่งสามารถใชป้ระโยชน์จากข้อมูลเหล่านี้ได้เพียงคน้หาข้อความ รูปภาพ หรือวีดิ ทัศน์ ที่ตรงกับความสนใจเท่านั้น แต่ไม่สามารถนา ข้อมูลเหล่านี้มาประมวลผลและ แสดงความรู้ที่แฝงอยู่ได้อย่างมี ประสิทธิผล ขอ้มูล (data) คือ สิ่งที่ใชอ้ธิบายคุณลักษณะของวตัถุ เหตุการณ์ กิจกรรม โดยบันทึกจาการสังเกต การทดลอง หรือการสา รวจด้วยการแทนรูปแบบใด รูปแบบหนึ่ง เช่น บันทึกไวเ้ป็นตัวเลข ข้อความ รูปภาพ และสัญลักษณ์ ตัวอย่างของข้อมูลต่างๆ ที่นักเรียนสามารถพบเห็นได้เป็นประจา เช่น เกรด ที่รักเรียนได้รับในแต่ละวิชา ราคาของสินคา้ชนิดต่างๆ ในห้างสรรพสินคา้
  • 3.
  • 4. สารสนเทศ (information) คือ ผลลัพธ์ที่ได้จากการนา ข้อมูลมา ประมวลผล เพื่อให้ได้สิ่งที่เป็นประโยชน์ในการนา ไปใชง้านมากข้นึเช่น ส่วนสูงนักเรียนหญงินักเรียนชายแต่ละคนในชนั้เรียนเป็นข้อมูล จะ สามารถสร้างสารสนเทศจากข้อมูลเหล่านี้ได้หลายแบบ เพื่อนา ไปใชใ้น จุดประสงค์ที่แตกต่างกัน ตัวอย่างเช่น การนา ข้อมูลเหล่านี้เรียง ตามลา ดับจากมากไปน้อย หรือการหาค่าเฉลี่ยของส่วนสูงของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนได้เห็นความแตกต่างของข้อมูลและ สารสนเทศอย่างชัดเจนมากขึ้น จึงได้แสดงตัวอย่างของการเปลี่ยน ข้อมูลมาเป็นสารสนเทศอย่างง่าย ไวใ้นตัวอย่างที่ 2.1
  • 5.
  • 6. จากตัวอย่างข้างต้น จะเห็นได้ว่าการสร้างสารสนเทศ ซึ่งในที่นี้คือ ส่วนสูง เฉลี่ยของนักเรียนในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จะสามารถถูกนา ไปใช้เพื่อวิเคราะห์ และตอบคา ถามว่า ส่วนสูงของนักเรียนมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไรตลอด 20 ปีที่ ผ่านมาซึ่งสารสนเทศเหล่านี้จะถูกนา ไปใชเ้พื่อสนับสนุนการตัดสินใจอื่นๆ เช่น การตัดสินใจด้านโภชนาการ หรือการจัดหลักสูตรวิชาพลานามัย เพื่อให้ เหมาะสมกับนักเรียนในปัจจุบัน ดังรูปที่ 2.3
  • 7. ข้อมูลเหล่านี้จะต้องถูกส่งเข้ากระบวนการต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อเปลี่ยนให้ข้อมูลกลายเป็นสิ่งที่สามารถนา มาใช้เพื่อสนับสนุนการ ตัดสิน ใจต่างๆ ได้ ตัวอย่างดังรูปที่ 2.3 ความรู้(knowledge) เป็นคา ที่มีความหมายกวา้ง และใช้ กันโดยทั่วไป ในด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์หรือวิศวกรรม คอมพิวเตอร์กล่าวถึงความรู้ไวใ้นหลาย แง่มุม แต่ความหมายในแง่มุม หนึ่งที่สอดคล้องกับข้อมูลและสารสนเทศ ความรู้ คือ สิ่งที่ ประกอบด้วยข้อมูลและสารสนเทศที่ถูกจัดรูปแบบและประมวลผลเพื่อ นา ไป ประยุกต์ใชใ้นปัญหาที่ต้องการนา ข้อมูลและสารสนเทศเหล่านี้ไป แก้ไข
  • 8. นอกจากนี้ยังมีนิยามของความรู้อีกด้านหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับเรื่อง ของ ข้อมูลและสารสนเทศคือ ความรู้ที่แฝงอยู่ในข้อมูล เป็นสิ่งที่ สามารถสกัดจากสารสนเทศที่มีรูปแบบน่าสนใจ เป็นจริงสา หรับ ข้อมูลใหม่หรือข้อมูลที่ไม่เคยเห็นมาก่อน เป็นรูปแบบใหม่ที่มนุษย์ไม่ เคยเห็นกันมาก่อน ซึ่งผลลัพธ์สุดท้ายจาการวิเคราะห์สารสนเทศจะ ได้เป็นความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ใชไ้ด้ เราเรียกกระบวนการที่สามารถสกัดความรู้จากข้อมูลที่ ถูกเก็บรวบรวมไวเ้ป็น อย่างดีในฐานข้อมูลว่า การค้นพบความรูใ้น ฐานขอ้มูล (knowledge discovery in databases)
  • 9.
  • 10. ตัวอย่างที่ 2.2 สมมติว่าเราไม่เคยมีความรู้มาก่อนเลยว่าเพราะ เหตุใดนักเรียนบางคน จึงสูงกว่านักเรียนคนอื่น เราสามารถนา ส่วนสูงของ นักเรียนแต่ละคนมาจับคู่กับคุณสมบัติอื่นๆ เช่น ลักษณะนิสับการ รับประทานอาหาร (รับประทานอาหารที่มีประโยชน์เป็นประจา หรือไม่) และความถี่ในการออกกา ลังกาย ( ทุกวนั สัปดาห์ละ 3 ครงั้ สัปดาห์ละครงั้ เดือนละครงั้ หรอืน้อยมาก) เมื่อเราใชก้ระบวนการคน้พบความรู้ในบานข้อมูลชุดนี้ ความรู้ที่เรา อาจจะพบได้จากข้อมูล ได้แก่ รูปแบบความสัมพันธ์บางอย่าง เช่น 1. นักเรียนที่ออกกา ลังกายทุกวนั และรับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์ เป็นประจา จะมีส่วนสูงสูงกว่านักเรียนที่ออกกา ลังกายวนัเวน้วนั แต่ไมไ่ด้ รับประทานอาหารที่เป็นประโยชน์เป็นประจา 2. นักเรียนที่ออกกา ลังกายน้อยมาก และไม่รับประทานอาหารที่เป็น ประโยชน์เป็นประจา จะมีส่วนสูงน้อยที่สุดในห้อง
  • 11. ในการบริหารองค์กร สิ่งหนึ่งที่เกิดขึ้นแต่ไม่สามารถประเมินคุณค่าเป็น ตัวเงินได้ คือ ความรู้ที่ได้จากการปฏิบัติงาน เนื่องจากในการทา งาน การ แก้ปัญหา การแสวงหาความรู้ การนา ความรู้มาปรับใช้โดยพนักงานในระดับ ต่างๆ เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลาในการทา งาน พนักงานที่ปฏิบัติงานหนึ่งคน จะต้องใชค้วามรู้และทักษะเฉพาะอย่าง เพื่อทา งานให้ลุล่วงไปได้ซึ่งการจา ทา ให้พนักงานหนึ่งคนสามารถปฏิบัติงานได้อย่างราบรื่นนั้น จะต้องใชก้ารอบรม เพื่อสร้างความรู้รวมถึงทักษะให้กับพนักงานเหล่านี้ ซึ่งความรู้ที่ถ่ายทอด ให้แก่พนักงานนี้ จัดว่าเป็นทุนทางปัญญา (intellectual capital) ซึ่งเป็นสิ่งที่ คุณค่าอย่างสูงกับองค์กร เพราะความรู้บางอย่างต้องใชง้บประมาณและเวลา ในการสร้างขึ้น ทา อย่างไรจึงจะมามารถจัดการความรู้ในองค์กรเหล่านี้ให้เกิด ประสิทธิภาพสูง สุด
  • 12.
  • 13. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ สามารถช่วยองค์กรในการ จัดการความรู้เหล่านี้ได้โดยระบบนี้จะทา งานแตกต่างกัน ไปตามจุดมุ่งหมาย ขององค์กร ซึ่งผู้ใชใ้นองค์กรที่อาจประกอบด้วยพนักงานทั่วไป ผ้บูริหาร หรือ บุคคลภายนอก จะเป็นผู้สร้างสารสนเทศเพื่อเก็บไวใ้นระบบนี้ โดยระบบ จะต้องสามารถจัดหมวดหมู่ คน้หา รวมถึงกระจายสารสนเทศเหล่านี้ให้กับ ผู้ใช้คนอื่นเพื่อให้ผู้ใช้แต่ละคน สามารถนาสารสนเทศไปใช้ได้ตามสิทธิ์ ของ ตนเอง ตัวอย่างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการความรู้ ดังรูปที่ 2.6
  • 14. นอกจากนี้ยังมีศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการความรู้ที่น่าสนใจอีกด้าน หนึ่ง คือ ความฉลาดร่วม (collective intelligence) ซึ่งเป็นการสร้างความ ฉลาดหรือสร้างความรู้ร่วมกันระหว่างผู้ใช้ตัวอย่างของการสร้างความรู้ใน ลักษณะนี้เช่น วิกิพีเดีย (Wikipedia) ซึ่งผู้ใชแ้ต่ละคนสามารถเพิ่มเติม แก้ไข ข้อมูลร่วมกันได้ โดยผู้ใชค้นอื่นๆ ที่ไม่ได้มีส่วนร่วมในการเพิ่มเติมหรือแก้ไข ข้อมูล ก็สามารถเข้าถึงและใชข้้อมูลหรือความรู้เหล่านนั้ได้เป็นต้น ตัวอย่าง การสร้างความรู้ร่วมกันของวิกิพีเดีย ดังรูปที่ 2.7
  • 15. มีคา กล่าวเกี่ยวกับการประมวลผลข้อมูลไวอ้ย่างน่าฟังว่า ถ้าข้อมูลเข้า เป็นขยะ สิ่งทีออกมาก็จะเป็นขยะด้วย (Garbage In , Garbage Out) ซึ่ง หมายความว่า ถ้าข้อมูลที่นา ไปประมวลผลเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพ ผลลัพธ์ที่ ออกมาก็ย่อมด้อยคุณภาพไปด้วย ดังนนั้เราควรจะตระหนักถึงความสา คัญของ การเก็บข้อมูล รวมถึงการประมวลผลข้อมูลเบื้องต้นด้วย 1. ความถูกต้องของขอ้มูล เป็นลักษณะสา คัญยิ่งของข้อมูล ถ้าข้อมูลไม่ ถูกต้องแล้ว เราจะไม่สามารถได้ผลลัพธ์ที่ถูกต้องได้เลย ซึ่งประเด็นนี้เป็นเรื่อง สา คัญที่เกิดขึ้นโดยเฉพาะอย่างยิ่งกับข้อมูลที่มี ขนาดใหญ่ และไม่มีการตรวจสอบ เช่น ข้อมูลในโลกอินเทอร์เน็ต ซึ่งจา เป็นต้องได้รับการตรวจสอบก่อนนา มาใชเ้สมอ นอกจากนี้ข้อมูลบางประเภท เช่น ข้อมูลเสียงที่เก็บจากไมโครโฟน ดัง รูปที่ 2.8 อาจมีปัญหาเกี่ยวกับสัญญาณเสียงรบกวนเกิดขึ้นดังนั้นข้อมูลประเภทนี้ จึงต้องได้รับการปรับปรุงคุณภาพหรือเรียกว่า กระบวนการลดสัญญาณรบกวน จึงจะสามารถนา มาใชง้านได้
  • 16.
  • 17. สา หรับข้อมูลที่ได้การบันทึกด้วยมนุษย์โดยมากมักต้องผ่านการ ตรวจสอบก่อน เสมอ ซึ่งอาจตรวจสอบโดยมนุษย์ หรือตรวจสอบ โดยระบบ ตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่มีความสา คัญอาจต้องป้อนสองครงั้ เพื่อป้องกันความผิดพลาดซึ่งนักเรียนสามารถเห็นตัวอย่างของข้อมูล เหล่านี้ ได้จากการป้อนรหัสผ่านเวลาลงทะเบียนตามเว็บไซต์ต่างๆ ที่ นักเรียนต้องป้อนรหัสหรืออีเมลสองครั้ง เพื่อป้องกันข้อผิดพลาด ดัง รูปที่ 2.9 นอกจากนี้ข้อมูลที่เป็นรหัสตัวเลขสา คัญ มักจะมีตัวเลขซึ่ง เป็นหลักตรวจสอบแฝงไวเ้สมอ เช่น ข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิต 16 หลัก เมื่อนา มาผ่านกระบวนการประมวลผล จะสามารถตรวจสอบได้ ว่า หมายเลขบัตรเครดิตนนั้ถูกต้องหรือไม่ เป็นต้น
  • 18.
  • 19. ข้อมูลบางประเภทหากไม่ครบถ้วน จัดเป็นข้อมูลที่ด้อยคุณภาพได้ เช่นกัน เช่น ข้อมูลประวตัิคนไข้ หากไม่มีหมูเลือดของคนไข้ จะไม่ สามารถใชไ้ด้ในกรณีที่ผู้ร้องขอข้อมูลต้องการข้อมูลหมู่เลือดของคนไข้ หรือข้อมูลที่อยู่ของลูกค้า ที่กรอกผ่านแบบฟอร์ม ถ้ามีชื่อและนามสกุล โดยไม่มีข้อมูลบ้านเลขที่ ถนน แขวง/ตา บล เขต/หรือจังหวัด ข้อมูล เหล่านนั้ก็ไม่สามารถนา มาใชไ้ด้เช่นกัน
  • 20.
  • 21. ข้อมูลการติดตามตา แหน่งของรถยนต์ด้วยระบบจีพีเอส ดังแสดงในรูป ที่ 2.11 สา หรับบริษัทที่ต้องทา งานติดตามรถยนต์ ข้อมูลตา แหน่งรถยนต์ จะต้องได้รับการปรับให้เป็นจริงตลอดเวลา หากข้อมูลนนั้ปรับทุกๆหนึ่ง ชั่วโมง จะไม่มีประโยชน์ในการติดตามตา แหน่งของรถยนต์ ดังนั้นในเรื่อง ความถูกต้องตามเวลาของข้อมูล จึงเป็นเรื่องสา คัญประการหนึ่งที่ต้องนา มา พิจารณาเมื่อต้องมีการจัดเก็บข้อมูลหรือประมวลผลข้อมูล
  • 22. ในบางกรณีข้อมูลผูกอยู่กับเงื่อนไขของเวลา ซึ่งถ้าผิดจาก เงื่อนไขของเวลาไปแล้ว ข้อมูลนั้นอาจลดคุณภาพลงไป หรือ แม้กระทั่งไม่สามารถใชไ้ด้ เช่น ข้อมูลการให้ยาของคนไข้ใน โรงพยาบาล ดังรูปที่ 2.12 ในทางการแพทย์แล้ว ข้อมูลนี้จะต้องถูก ใส่เข้าไปในฐานข้อมูลที่คนไข้ได้รับยาเพื่อให้แพทย์คน อื่นๆ ได้ทราบ ว่า คนไข้ได้รับยาชนิดนี้เข้าไปแล้ว แต่ข้อมูลเรื่องการให้ยาของคนไข้นี้ อาจไม่จา เป็นต้องได้รับการปรับทันทีสา หรับแผนกการเงิน เพราะ แผนกการเงินจะคิดเงินก็ต่อเมื่อญาติคนไข้มาตรวจสอบ หรือคนไข้ กา ลังออกจากโรงพยาบาล
  • 23.
  • 24. ในกรณีที่ข้อมูลมาจากหลายแหล่ง จะเกิดปัญหาในเรื่องของ ความสอดคล้องกันของข้อมูล เช่น ในบริษัทแห่งหนึ่งซึ่งเก็บข้อมูลที่ อย่ลููกค้า หากต้องการนา ข้อมูลไปควบรวมกับบริษัทอีกแห่งหนึ่งซึ่งมี ข้อมูลของลูกค้าอยู่เช่นกัน แต่ข้อมูลในการจัดส่งเอกสารของบริษัท แห่งแรก เป็นที่อยู่ที่พักอาศัยของลูกค้า ในขณะที่ข้อมูลในบริษัทที่ สองเป็นที่อยู่ของสถานที่ทา งานลูกค้า ข้อมูลจากทั้งสองบริษัทนี้เป็น ข้อมูลที่ถูกต้องสอดคล้องตามเวลาทั้งคู่ แต่ถ้าต้องการเก็บข้อมูลที่ อยู่ลูกค้าเพียงที่อยู่เดียว ก็จะเกิดปัญหาขึ้นได้
  • 25.
  • 26. เมื่อเห็นความสา คัญของข้อมูลแล้ว ทา อย่างไรจึงจะเก็บรักษาข้อมูล เหลา่นนั้ให้คงอยู่ รวมถึงทา ให้สามารถประมวลผลข้อมูลนนั้ได้อย่างรวดเร็ว โดยมากและจะรวมอยู่ใน ระบบฐานข้อมูล ซึ่งนา มาใชใ้นการจัดเก็บการเข้าถึงและ การประมวลผล ข้อดีในการนา ฐานข้อมูลเหล่านี้ไปใชใ้นองค์กรหรือหนว่ยงาน เช่น - การจดัเก็บอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถลดภาระการเก็บเอกสารที่เป้ นกระดาษได้ รวมถึงการทา ซา้ เพื่อสา รองข้อมูล สามารถทา ได้สะดวกและรวดเร็ว - การตอบสนองต่อความต้องการไดอ้ย่างรวดเร็ว เช่น ข้อมูลประวตัิการ บา รุงรักษารถยนต์และข้อมูลประวตัิคนไข้ ผู้ใชที้่ต้องการนา ข้อมูลเหล่านี้ไปใชง้าน สามารถเข้าถึงระบบฐานข้อมูลและนา ข้อมูลที่ต้องการไปใชไ้ด้ - การจากัดสิทธิ์ ในการเขา้ถึงขอ้มูลให้แก่ผูใ้ชใ้นแต่ละระดบัของ องค์กร เช่น ผ้บูริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลของทุกหน่วยงานได้ แต่ผู้ใชทั้่วไปใน แผนกการเงิน ไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลประวิติของฝ่ายบุคคลได้ เป็นต้น
  • 28. ก่อนจะกล่าวถึงลา ดับชนั้ของข้อมูลในฐานข้อมูลสิ่งแรกที่ ตอ้งกล่าวถึงก่อน คือ ลา ดับชนั้ล่างสุดของการแทนข้อมูล นั่น คือ การแทนข้อมูลดว้ยตัวเลขฐานสอง ซึ่งประกอบดว้ยตัวเลข สองตัว คือ ' 0 ' และ '1' ในทางคอมพิวเตอร์ จะเรียกตัว เลขฐานสองหนึ่งหลักนี้ว่า 1 บิต (bit) ซึ่งถือว่าเป็นหน่วยเล็ก ที่สุดของข้อมูล และหากนา บิตมาต่อกันจา นวน 8 บิต จะ เรียกว่า 1 ไบต์ (byte)
  • 29.
  • 30. เมื่อนา ข้อมูลระดับบิตมาเรียงต่อกันเพื่อแทนข้อมูลใดๆ ที่ตอ้งการเก็บในฐานข้อมูล เราจะจัดข้อมูลที่เป็นบิตนี้มารวมกันเพื่อแทนความหมายบางอย่าง หน่วยย่อยที่สุดที่มี ความหมายในฐานข้อมูลนี้เรียกว่า เขตข้อมูล โดยเขตข้อมูลอาจแทนข้อมูลดังตัวอย่างต่อไปนี้ - จา นวนเต็ม (interger) คอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่จะเก็บตัวเลขขนาด 32 บิต ซึ่ง ขนาดของตัวเลขนี้อาจเปลี่ยนแปลงไปตามเทคโนโลยีของเครื่องคอมพิวเตอร์ ตัว เลขฐานสองขนาด 32 บิต สามารถแทนตัวเลขจา นวนเต็มไดต้งั้แต่ -2,147,483, 648 ถึง 2,147,483,647 แต่ถ้าเป็นเขตข้อมูลที่ระบุไวว้่า เป็นตัวเลขจา นวนเต็มไม่ระบุ เครื่องหมาย (unsigned integer) เท่านนั้จะสามารถแทนตัวเลขจา นวนเต็มไดต้งั้แต่ 0 ถึง 4,294,967,295 - จา นวนทศนิยม (decimal number) ในคอมพิวเตอร์ จะเก็บตัวเลขทศนิยม โดยใชร้ะบบโฟลททิงพอยต์ (floating point) ซึ่งการเก็บในลักษณะนี้ ไม่มีการกา หนด ตา แหน่งตายตัวสา หรับตา แน่งของจุด โดยทั่วไปการเก็บข้อมูลตัวเลขจะมีสองขนาด คือ 32 บิต และ 64 บิต
  • 31. ขอ้ความ (text) ในการแทนข้อความนั้น จะต้องเปลี่ยนข้อความให้เป็น รหัสซึ่งใชแ้ทนตัวอักขระแต่ละตัวเสียก่อน ตามมาตรฐานโดยทั่วไปจะใชเ้ป็น รหัสแอสกี (ASCII code) ซึ่งต่อมามีการใชร้หัสแบบยูนิโคด้ (Unicode) ที่ สามารถแทนภาษได้หลายภาษามากกว่ารหัสแอสกี ความยาวของเขตข้อมูลประเภทนี้ ขึ้นอยู่กับจา นวนตัวอักขระในข้อความ - วันเวลา (date/time) ข้อมูลที่เป็นวนัเวลา เช่น วนัที่เริ่มใชง้าน วนัลงทะเบียน และเวลาที่ซื้อสินคา้ มีความแตกต่างจากข้อมูลประเภทอื่น ดังนั้นจึงต้องมีชนิดของข้อมูลเป็นวนัเวลา เพื่อรองรับเขตข้อมูลที่ต้องการ เก็บข้อมูลเป็นวนัเวลา - ไฟล์ (file) เขตข้อมูลบางประเภทใชเ้ก็บไฟล์รูปภาพหรอืไฟล์อื่นๆ ซึ่งเขตข้อมูลประเภทนี้จะ เป็นเขตข้อมูลขนาดใหญ่ โดยปกติแล้วจะมีความ ยาวมากกว่าเขตข้อมูลประเภทอื่นๆ โดยเขตข้อมูลนี้จะเก็บข้อมูลในลักษณะ เป็นบิตเรียงต่อกัน
  • 32. คือ กลุ่มของเขตข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน โดยเขตข้อมูลแต่ละส่วน อาจจะเป็นข้อมูลต่างชนิดกัน ระเบียนแต่ละระเบียนจะประกอบด้วยโครงสร้าง เขตข้อมูลที่เหมือนกัน ตัวอย่างระเบียน ดังรูปที่ 2.16
  • 33. คือ กลุ่มของระเบียน ซึ่งเขตข้อมูลในแต่ละระเบียนจะเก็บข้อมูลที่มี ความสัมพันธ์กัน ในตารางจะเก็บข้อมูลหลายๆระเบียน แต่ละระเบียนจะมี โครงสร้างเหมือนกันในตาราง นอกจากจะเก็บข้อมูลหลายระเบียนแล้ว ยังสามารถ อา้งอิงระเบียนแต่ละระเบียนได้อีกด้วย ตัวอย่างตารางข้อมูลนักเรียน ดังรูปที่ 2.17
  • 34. 4. ฐานขอ้มูล(database)เป็นที่รวมของตารางหลายๆ ตาราง เข้าไวด้้วยกัน ตารางแต่ละตารางจะมีความสัมพันธ์กันโดยใชเ้ขต ข้อมูลที่เก็บข้อมูลซึ่งเหมือน กันเป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างกัน บาง ตารางอาจเป็นตารางที่เก็บข้อมูลไวเ้ฉพาะของตนเองโดยไม่เกี่ยวข้อง กับ ตารางอื่น ในขณะที่บางตาราง อาจต้องเชื่อมโยงกับเขตข้อมูล ของตารางอื่น
  • 35. คา ว่าจริยธรรมเป็นคา ที่มีความหมายกวา้งแม้กระทั้งในด้าน คอมพิวเตอร์ ก็มีการกล่าวถึงในเรื่องจริยธรรมเช่นกัน ในที่นี้จะกล่าวถึง จริยธรรม ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและสารสนเทศประเด็นต่างๆ ดังนี้
  • 36. เมื่อข้อมูลปรากกอยู่ในโลกออนไลน์มากขึ้น ทา ใหก้ารรวบรวมข้อมูลการเข้าถึง การคน้หา และการแบ่งปันข้อมูลส่วนบุคคลเป็นเรื่องที่สามารถทา ไดง้่ายและเร็วข้นึ ทา ใหข้้อมูลบางประเภทที่มีความเป็นส่วนตัวสูง เช่น เลขประจา ตัวประชาชนวนัเดือนปีเกิด หมายเลขโทรศัพท์มือถือ ข้อมูลประวตัิการรักษา อาจรั่วไหลไปสู่สาธารณะได้บางครงั้ ข้อมูลส่วนตัวเหล่านี้อาจถูกนา ไปใชโ้ดยผิดวตัถุประสงค์ของเจา้ของ ข้อมูล เช่น ข้อมูล หมายเลขโทรศัพท์มือถือซึ่งถูกเก็บไวโ้ดยสถานพยาบาล อาจรั่วไหลไปสู่บริษัทที่มีการ ประชาสัมพันธ์การขายผ่านโทรศัพท์มือถืออาจทา ใหเ้จา้ของหมายเลขโทรศัพท์นนั้ ถูก รบกวนโดยไม่ไดตั้้งใจ ดังรูปที่ 2.18 ก่อนจะเเผยแพร่ข้อมูลทุกครั้ง ตอ้งคา นึงถึงข้อมูลที่มีความเป็นส่วนตัว ผลเสีย จากการเผยแพร่ข้อมูลเหล่านี้ อาจย้อนกลับมาสรา้งความเดือดรอ้นใหกั้บตนเองหรือผู้ที่ เกี่ยวข้องไดใ้นอนาคต เช่น นักเรียนโพสรูปของตนเองและเพื่อนไวใ้นเว็บไซต์เครือข่าย ทางสังคม แต่เพื่อนของนักเรียนอาจไดรั้บผลกระทบจากรูปนั้นก็ได้
  • 37.
  • 38. ในบางกรณีการไม่เปิดเผยข้อมูลอาจเป็นประโยชน์ต่อผู้ใช้ได้ เช่น ในการปรึกษาเกี่ยวกับ การแพทย์ เรื่องความผิดปกติทางเพศ หรือการเป็นโรคติดต่อร้ายแรง หากต้องเปิดเผยข้อมูลจรงิ เหล่านี้ การใช้นามแฝงแทนจะเป็นวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการแลกเปลี่ยนข้อมูลแต่กรณีเหล่านี้จะ ไม่สามารถทา ได้ในเว็บไซต์ที่กา หนดให้กรอกข้อมูลจริง เพื่อสมัครใช้บริการ 2.5.2 สิทธิ์ ในการเขา้ถึงขอ้มูล เพื่อเป็นการรักษาความปลอดภัยให้กับข้อมลู ในการเก็บ ข้อมูลในฐานข้อมูลจะมีการกาหนดสิทธิ์ในการเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้ แต่ละกลุ่ม โดยระบบจะอนุญาต ให้ผู้ใช้คนหนึ่งเข้าถึงข้อมูลต้องมีการตรวจสอบว่า จะให้เข้าถึงข้อมูลใดได้บ้าง หรือไม่มีสิทธิ์ในการ เข้าถึงข้อมูลใดบ้าง ตัวอย่างเช่น พนักงานแผนกการเงินซึ่งสามารถเข้าถึงข้อมูลเงินเดือน ไม่ควรได้ สิทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมูลประวัติส่วนตัวของพนักงานทั่วไปได้ เป็นต้น ตัวอย่างการกาหนดสิทธิ์ใน การเข้าถึงข้อมูลของผู้ใช้แต่ละกลุ่ม ดังรูปที่ 2.19 หากการเข้าใช้ระบบเพื่อเข้าถึงข้อมูลเป็นส่วนหนึ่งของเรื่องสิทธิ์ในการเข้า ถึงข้อมูล ดังนนั้ สิทธิ์ ในการเข้าระบบก็จะจัดอยู่ในเกณฑ์ข้อนี้ด้วย โดยปกติแล้วการเข้าถึงระบบใดๆนนั้ ผ้ใูช้จะต้อง ได้รับการอนุญาตจากผู้ดูแลระบบ (system administrator) ซึ่งมีหน้าที่คอยดูแล บา รุงรักษา ระบบ ให้สามารถทา งานได้เป็นปกติ การเขาถึงข้อมลูโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตาม พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทา ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ.2550 ซึ่งมีผลบังคับใช้ตงั้แต่ เดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550เป็นต้นมา มีความผิดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องของสิทธิ์ ในการเข้าถึงข้อมลู หลายข้อ ยกตัวอย่างเช่น
  • 39. มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งระบบคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการ เข้าถึงโดย เฉพาะและมาตรการนนั้มิได้มีไวส้า หรับตนต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินหก เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจา ทั้งปรับ มาตรา 7 ผู้ใดเข้าถึงโดยมิชอบซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ที่มีมาตรการป้องกันการ เข้าถึง โดยเฉพาะและมาตรการนนั้มิได้มีไวส้า หรับตน ต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินสอง ปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจา ทั้ง ปรับ นอกจากนี้ยังมีการระบุความผิดที่เกี่ยวข้องกับการดักรับข้อมูลซึ่งเดิน ทางอยู่ ในระบบเครือข่ายโดยการดักรับนี้ไม่ได้รับอนุญาต ก็มีความผิดเช่นกัน
  • 40. มาตรา 8 ผ้ใูดกระทา ด้วยประการใดโดยมิชอบด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดัก รับไว้ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นที่อยู่ระหว่างการส่งในระบบคอมพิวเตอร์ และ ข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นมิได้มีไวเ้พื่อประโยชน์สาธารณะหรือเพื่อให้บุคคล ทั่วไปใชป้ระโยชน์ ได้ต้องระวางโทษจา คุกไม่เกินสามปีหรือปรับไม่เกินหกหมื่นบาท หรือทั้งจา ทงั้ปรับ จะเห็นได้ว่า จากตัวอย่างของพระราชบัญญติว่าด้วยการกระทา ผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 นั้น การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดทงั้จา คุกและปรับ ดังนนั้ทกุคนต้องพึงระวงัการใชค้อมพิวเตอร์และการเข้าใชง้าน เครือข่าย แม้ว่าการกระทา บางอย่างอาจไม่ใช่ความผิดขนั้ร้ายแรงถึงกับมีโทษจา คุกหรือ ปรับเงิน แต่การกระทา การใดๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรานั้น อาจก่อความรา คาญ หรือรบกวนการใชค้อมพิวเตอร์ของผู้อื่นได้เช่นกัน
  • 41. ในกระบวนการผลิตโปรแกรม ระบบปฏิบัติการ รูปภาพ เพลง หรือ หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ จา เป็นต้องใชต้้นทุนสูง และใชเ้วลาในการผลิตยาวนาน แต่เมื่อสิ่งเหล่านี้ปรากฏอยู่ในรูปแบบของข้อมูลดิจิทัส ผู้ใชค้นอื่นๆสามารถ ทา ซา้ และนา ไปใชโ้ดยไม่ได้จ่ายเงินให้กับผู้ผลิต ก่อให้เกิดความเสียหายทาง ธุรกิจกับเจ้าของข้อมูล ผู้ใช้จึงต้องพิจารณาขอบเขตของสิทธิ์ ที่ตนเองได้รับใน ข้อมูลดังกล่าว และเป็นการสมควรหรือไม่ที่จะดาวน์โหลดและแจกจ่ายข้อมูลดิ จิทัสเหล่านี้นอกจากนี้การนา ข้อความหรือรูปภาพจากสื่ออินเทอร์เน็ตมาใช้ จะต้องมีการอา้งอิงแหล่งข้อมูลให้ถูกต้อง ยกตัวอย่างเช่น การคัดลอกข้อความ หรือรูปภาพจากเว็บประกอบในการทา รายงาน โดยไม่อา้งอิงแหล่งที่มา ดังรูปที่ 2.20 ถือว่าเป็นการกระทา ที่รุนแรงตามหลักจริยธรรมสากลของการนา ข้อมูล ไปใช้